ตรวจสุขภาพประจําปี ข้าราชการ pantip

  • บทความสุขภาพ

  1. ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6 ชั่วโมง ก่อนรับการตรวจสุขภาพ หากอดนอนจะทำให้ผลการตรวจผิดปกติ โดยเฉพาะความดันโลหิต การเต้นของหัวใจ อุณหภูมิของร่างการ อาจทำให้แพทย์ไม่สามารถประเมินได้ว่ามีความผิดปกติจริงหรือไม่
  2. กรุณางดอาหารและเครื่องดื่ม อย่างน้อย 8-10 ชั่วโมงก่อนตรวจ (สามารถจิบน้ำเปล่าได้เล็กน้อย)
  3. กรุณางดดื่มแอลกอฮอล์อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนตรวจสุขภาพ เนื่องจากยาและแอลกอฮอล์ อาจมีผลต่อการตรวจบางอย่าง ควรแจ้งให้แพทย์หรือพยาบาลทราบก่อนตรวจ
  4. หากท่านกำลังรับประทานยาเพื่อควบคุมความดันโลหิต ท่านสามารถรับประทานต่อได้ตามที่แพทย์แนะนำ
  5. หากท่านมีโรคประจำตัวหรือประวัติสุขภาพอื่นๆ กรุณานำผลการตรวจหรือรายงานจากแพทย์มาด้วยเพื่อประกอบการวินิจฉัย
  6. ควรสวมเสื้อผ้าที่สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน
  7. สำหรับสุภาพสตรี ไม่ควรอยู่ในช่วงก่อนและหลังมีประจำเดือน 7 วัน หากมีประจำเดือนให้งดตรวจปัสสาวะ เพราะเลือดจะปนเปื้อนในปัสสาวะ มีผลต่อการแปลผลการตรวจ
  8. การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) หลีกเลี่ยงการตรวจในช่วงมีประจำเดือน ซึ่งเต้านมมีความคัดตึง ควรตรวจหลังมีประจำเดือน
  9. กรณีสงสัยว่าตั้งครรภ์ โปรดแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบเพื่องดตรวจเอกซเรย์
  10. ท่านสามารถเข้ารับบริการตรวจสุขภาพได้ทุกวัน เวลา 07.00 – 16.00 น.

ข้าพเจ้ายินยอมโดยสมัครใจให้คณะแพทย์ – พยาบาล, เจ้าหน้าที่ และ/หรือ บุคลากรอื่นๆ ในทีมสุขภาพของโรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา ทำการตรวจรักษาและกระทำการใดๆ ตามหลักวิชาชีพทางการแพทย์ เปิดเผยข้อมูลการตรวจรักษาของข้าพเจ้าให้แก่ทีมสุขภาพของโรงพยาบาล ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความจำเป็นในการเข้าถึงข้อมูลของข้าพเจ้า ทั้งนี้ข้าพเจ้าได้รับทราบถึงคำประกาศสิทธิผู้ป่วย และ ข้อกำหนดความเป็นส่วนตัวเป็นอย่างดีแล้ว

 

As our hospital is JCI accredited, should you feel that we do not meet this international standard,
you can direct your concern to JCI (Joint Commission International) Click

 

Copyright © 2021
Bangkok Hospital Pattaya
All rights reserved.

เปรียบเทียบราคาตรวจสุขภาพประจำปีของ โรงพยาบาลรัฐ-เอกชน

ยิ่งอายุมากขึ้น สุขภาพร่างกายของเราก็ยิ่งทรุดโทรมลง และอาจแฝงโรคร้ายที่อาจไม่แสดงอาการ เพราะฉะนั้น การ ตรวจสุขภาพประจำปี จึงเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลตัวเองเป็นอย่างยิ่ง!

โดยโปรแกรมตรวจสุขภาพนั้นมีทั้งของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน ซึ่งก็มีราคาค่าตรวจสุขภาพที่แตกต่างกันออกไป สำหรับใครที่ไม่รู้ว่าจะไปตรวจที่ไหนดี สามารถอ่านคำแนะนำได้ภายในบทความนี้เลย!

เปรียบเทียบราคาตรวจสุขภาพโรงพยาบาลรัฐ-เอกชน

ราคาตรวจสุขภาพประจำปีของโรงพยาบาลรัฐและเอกชนจะค่อนข้างแตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับโปรแกรมตรวจ โดยราคาค่าตรวจนั้นโรงพยาบาลเอกชนอาจมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าเล็กน้อย

แม้จะมีข้อแตกต่างในด้านของราคา แต่โรงพยาบาลทั้ง 2 ประเภทนี้ก็มีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป โดยมีรายละเอียดคร่าวๆ ดังนี้

  • โรงพยาบาลรัฐ

    การตรวจสุขภาพกับโรงพยาบาลรัฐ มีข้อดีที่ราคาค่าตรวจจะค่อนข้างต่ำแต่มีคุณภาพ และให้บริการตรวจโดยบุคลากรทางการแพทย์มากประสบการณ์ แต่ก็แลกมาด้วยการรอคิวตรวจที่อาจใช้เวลานาน เนื่องจากในแต่ละวันมีผู้มาใช้บริการเป็นจำนวนมากนั่นเอง

    โดยราคาตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาลรัฐที่เรานำมายกตัวอย่างนั้น มีด้วยกันดังนี้

      โรงพยาบาลตำรวจ
    • โปรแกรม Economic ตรวจ 12 รายการ ราคา 1,000 บาท
    • โปรแกรมตรวจสำหรับผู้มีอายุน้อยกว่า 30 ปี ตรวจ 19 รายการ ราคา 1,770 บาท
    • โปรแกรมตรวจสำหรับผู้มีอายุ 30-40 ปี ตรวจ 25 รายการ ราคา 2,420 บาท
    • โปรแกรมตรวจสำหรับผู้มีอายุ 40 ปี ตรวจ 28 รายการ ราคา 2,773 บาท
    • โปรแกรม Premium ตรวจ 35-36 รายการ ราคาเริ่มต้น 7,093 บาท
    • ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์: โรงพยาบาลตำรวจ

      โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
    • โปรแกรมที่ 1 ตรวจสุขภาพทั่วไป 4 รายการ สำหรับผู้ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี ราคา 410 บาท
    • โปรแกรมที่ 2 สำหรับผู้ที่อายุ 35 ปีขึ้นไป ตรวจ 10 รายการ ราคา 1,180 บาท
    • ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์: โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

  • โรงพยาบาลเอกชน

    การตรวจสุขภาพกับโรงพยาบาลเอกชน มีข้อดีที่ไม่ต้องรอคิวเป็นเวลานาน อีกทั้งยังมีเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย ทีมบุคลากรมากประสบการณ์ และการให้บริการที่ดีเยี่ยม แต่จะมีค่าใช้จ่ายในการตรวจที่ค่อนข้างสูงกว่าโรงพยาบาลรัฐ

    โดยราคาตรวจสุขภาพจากโรงพยาบาลเอกชนที่เรานำมายกตัวอย่างนั้น มีด้วยกันดังนี้

      โรงพยาบาล MedPark
    • โปรแกรม Basic Check Up ราคา 4,200 บาท
    • โปรแกรม Vital Check Up เหมาะสำหรับผู้ที่อายุ 30 ปีขึ้นไป ราคา 5,800 บาท
    • โปรแกรม Executive Check Up ตรวจ 22-24 รายการ เหมาะสำหรับอายุ 30-40 ปี ราคาเริ่มต้น 12,000 บาท
    • โปรแกรม Comprehensive Check Up ตรวจ 33-37 รายการ เหมาะสำหรับอายุ 40-50 ปี ราคาเริ่มต้น 19,000 บาท
    • โปรแกรม Platinum Check Up เหมาะสำหรับอายุ 50 ปีขึ้นไป ตรวจ 33-37 รายการ ราคาเริ่มต้น 23,500 บาท
    • ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์: โรงพยาบาล MedPark

      โรงพยาบาลกรุงเทพ
    • โปรแกรม Vital สำหรับผู้มีอายุน้อยกว่า 30 ปี ตรวจ 19 รายการ ราคา 3,700 บาท
    • โปรแกรม Advanced สำหรับผู้มีอายุ 30-40 ปี ตรวจ 23 รายการ ราคา 9,900 บาท
    • โปรแกรม Executive สำหรับผู้มีอายุ 40-50 ปี ตรวจ 35-37 รายการ ราคาเริ่มต้น 16,000 บาท
    • โปรแกรม Utimate สำหรับผู้มีอายุมากกว่า 50 ปี ตรวจ 36-38 รายการ ราคาเริ่มต้น 19,600 บาท
    • ขอบคุณข้อมูลจากเว็บไซต์: โรงพยาบาลกรุงเทพ

แต่ละช่วงอายุควรตรวจสุขภาพในจุดใดบ้าง?

หลังจากที่ได้ทราบราคาค่าตรวจสุขภาพกันไปแล้ว เรามาดูกันว่าในแต่ละช่วงอายุนั้นเราควรเน้นไปที่การตรวจจุดใดบ้าง เพื่อนำไปใช้อ้างอิงในการเลือกซื้อโปรแกรมตรวจ ดังนี้

  • สำหรับช่วงอายุไม่เกิน 30 ปี
    • การตรวจวัดพื้นฐานหาค่าดัชนีมวลกาย (BMI) เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงในการเป็นโรคไขมันในเลือดสูง เส้นเลือดหัวใจตีบตัน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ
    • วัดความดันโลหิต (Blood Pressure) เพื่อตรวจสอบความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจโต หัวใจวาย หลอดเลือดในสมองตีบตันหรือแตก
    • ตรวจเอ็กซเรย์ปอดและหัวใจ (Chest X-Ray) เพื่อตรวจสอบความผิดปกติในปอด และหัวใจ
    • ตรวจสมรรถภาพของไต ตรวจค่า Blood Urea Nitrogen-BUN และ Creatinine เพื่อวัดความสามารถในการขับของเสียของไต
    • ตรวจตับ เพื่อตรวจหาไวรัสตับอักเสบเอ บี และซี (Hepatitis A, B, C) รวมไปถึงโอกาสการเป็นมะเร็งตับ
    • ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination) เพื่อตรวจเช็คความผิดปกติของระบบไตและกระเพาะปัสสาวะ
  • สำหรับผู้ที่อายุ 30 ปีขึ้นไป

    สำหรับผู้ที่อายุ 30 ปีขึ้นไปนั้นยังคงสามารถทำการตรวจได้เช่นเดียวกับที่กล่าวไปข้างต้น เพียงแต่จะมีการเพิ่มโปรแกรมตรวจอย่างละเอียดขึ้นมา ดังนี้

    • ช่วงอายุ 30-40 ปี: ควรตรวจตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) และ ตรวจอุจจาระ นอกจากนี้ สำหรับเพศหญิงควรตรวจมะเร็งปากมดลูก-มะเร็งรังไข่ และตรวจมะเร็งเต้านมร่วมด้วย
    • ช่วงอายุ 40-50 ปี: ควรตรวจการทำงานของต่อมไธรอยด์ (TSH) อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง ตรวจสุขภาพสายตาความดันลูกตาและการได้ยิน ตรวจวัดการแข็งตัวของหลอดเลือด และตรวจหาสารบ่งชี้มะเร็ง
    • ช่วงอายุ 50 ปี ขึ้นไป: ควรตรวจมวลกระดูกทั้งร่างกาย ตรวจอัตราความเสื่อมของกระดูก รวมไปถึงตรวจภาวะหลอดเลือดแดงส่วนปลาย

Summary

หลายๆ คนอาจหลีกเลี่ยงการตรวจร่างกายเพราะกลัวว่าจะเจอกับโรคร้าย แต่ความจริงแล้วการตรวจสุขภาพนั้นเป็นการเฝ้าระวังเพื่อให้สามารถหาวิธรการรักษาได้อย่างทันท่วงที จึงควรที่จะเข้ารับการตรวจเป็นอย่างยิ่ง!

นอกจากนี้ ก่อนเข้ารับการตรวจอย่าลืมทำตามคำแนะนำก่อนการตรวจสุขภาพให้ดีๆ เพื่อให้ผลลัพท์ที่ออกมาแม่นยำที่สุด

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด