ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

การสร้างโวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ โอห์มมิเตอร์     ล้วนแต่มีส่วนเคลื่อนที่เป็นองค์ประกอบ  ส่วนที่แตกต่างกันระหว่างเครื่องวัดทั้ง 3  ชนิดคือ   วงจรที่ใช้กับส่วนเคลื่อนที่   เครื่องวัดที่ออกแบบมาให้สามารถเลือกใช้ฟังก์ชันของเครื่องวัดทั้ง 3 ชนิด ข้างต้นได้  โดยใช้สวิตช์เลือกวงจรที่ต่อกับส่วนเคลื่อนที่นั้นเรียกว่า มัลติมิเตอร์


 มัลติมิเตอร์ ประกอบด้วยส่วนต่างๆดังนี้

1. ohm meter เครื่องวัดค่าความต้านทาน

2. volt meter เครื่องวัดค่าแรงเคลื่อนหรือแรงดันไฟฟ้า

3. miliamp meter เครื่องวัดค่ากระแสไฟตรง


ทั้งหมดนี้รวมเรียกว่า multi meter หรือ ( V.O.M. meter )






ส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์

มัลติมิเตอร์ เป็นมิเตอร์ใช้วัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายชนิดถูกสร้างขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวก ต่อผู้ใช้ปริมาณไฟฟ้าที่วัดได้ เช่น แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า  และวัดปริมาณ ไฟฟ้าอื่น ๆ ได้อีกซึ่งแล้ว แต่รุ่นของมัลติมิเตอร์นั้น  มัลติมิเตอร์ซันวานับ   ได้ว่าเป็นมัลติมิเตอร์ที่นิยมใช้งานมากยี่ห้อหนึ่งใน ประเทศไทย การทำความรู้จักส่วนประกอบต่าง ๆ  ของ มัลติมิเตอร์จึงเป็นเรื่องจำเป็นจะช่วยให้สามารถใช้งานมัลติมิเตอร์ได้ ถูกต้องและเกิดความปลอดภัยทั้งมัลติมิเตอร์และตัวผู้ใช้มัลติมิเตอร์   รูปร่างและส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์



ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

            แสดงรูปร่างและตำแหน่งของส่วนต่าง ๆ  ของมัลติมิเตอร์ยี่ห้อ SANWA  รุ่น YX-360TR


 เป็นมัลติมิเตอร์รุ่นที่นิยมใช้งานและมีมัลติมิเตอร์ยี่ห้ออื่น ๆ ที่สร้างเลียนแบบมัลติมิเตอร์รุ่นนี้มากมาย ส่วนต่าง ๆ ถูกกำกับไว้ด้วยหมายเลขแต่ละส่วนอธิบายรายละเอียดได้ดังนี้


หมายเลข 1 คือ สกรูใช้สำหรับปรับแต่งตำแหน่งเข็มชี้ของมิเตอร์ให้ชี้ที่ตำแหน่งด้านซ้ายมือสุดของสเกลพอดี คือชี้ที่เลข 0
หรือเลข ?
หมายเลข 2 คือสวิตซ์ปรับเลือกย่านวัด สามารถหมุนได้รอบตัว ใช้สำหรับการเลือกปริมาณ
ไฟฟ้าที่จะวัด ย่านการตั้งวัดที่เหมาะสม
หมายเลข 3 คือขั้วต่อขั้วบวก (+) ของมิเตอร์หรือขั้ว P ใช้สำหรับต่อสายวัดเส้นสีแดง เพื่อใช้วัดปริมาณไฟฟ้า
หมายเลข 4 คือขั้วต่อขั้วลบ (- COM) ของมิเตอร์หรือขั้ว N ใช้สำหรับต่อสายวัดเส้นสีดำเพื่อใช้วัดปริมาณไฟฟ้า
หมายเลข 5 คือ ขั้วต่อเอาต์พุต (OUTPUT) เป็นขั้วต่อใช้สำหรับวัดความดังของสัญญาณเสียง เช่น จากวงจรขยายเสียง วัดออกมาเป็นเดซิเบล (dB)
หมายเลข 6 คือ ปุ่มสำหรับปรับแต่งให้เข็มชี้ของมิเตอร์ให้ชี้ที่ตำแหน่งศูนย์โอห์มพอดี (0WADJ) ขณะปลายสายวัดของมิเตอร์แตะเข้าด้วยกัน เมื่อใช้ย่านวัดโอห์ม (W) ของมิเตอร์
หมายเลข 7 คือ แผ่นป้ายแสดงชื่อมิเตอร์และรุ่นมิเตอร์
หมายเลข 8 คือ เข็มชี้ของมิเตอร์



           การใช้โวลต์มิเตอร์ โวลต์มิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้า หลักการทำงานของโวลต์มิเตอร์ ( แบบแอนะลอก) คือกระแสไฟฟ้าจากแรงดันที่ต้องการวัดไหลผ่าน ตัวต้านทานที่กำหนดย่านวัด (RANGE) ไปเลี้ยง moving coil ที่มีเข็มติดอยู่จะเกิดสนามแม่เหล็กผลักดันกับสนามแม่เหล็กถาวร


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด



แสดงหลักการทำงานของมิเตอร์


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

แสดงวงจร DCV ของมัลติมิเตอร์รุ่น YX-360 TR, YX-360 TRE


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

แสดงวงจร ACV ของมัลติมิเตอร์รุ่น YX-360 TR, YX-360 TRE


แสดงสเกลหน้าปัดสำหรับแสดงค่าปริมาณไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ของ


มัลติมิเตอร์ ยี่ห้อ ซันวา รุ่น yx-360TR  แต่ละสเกลใช้แสดงปริมาณไฟฟ้าแต่ละชนิด ถูกกำกับไว้ด้วยหมายเลแต่ละส่วนอธิบายรายละเอียดได้ดังนี้


หมายเลข 1  คือ สเกลใช้แสดงค่าความต้านทาน  ใช้สำหรับอ่านค่าความต้านทาน เมื่อตั้งย่านวัดความต้านทานหรือย่าน W

หมายเลข 2  คือ สเกลใช้แสดงค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) และกระแสไฟตรง (DCA) ใช้สำหรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อตั้งย่านวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงหรือย่าน DCV และใช้สำหรับอ่านค่ากระแสไฟตรง เมื่อตั้งย่านวัดกระแสไฟตรงหรือย่าน DCmA

หมายเลข 3  คือ สเกลใช้แสดงค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV) ใช้สำหรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับหรือย่าน ACV

หมายเลข 4  คือ สเกลใช้แสดงค่าอัตราขยายกระแสไฟตรงของตัวทรานซิสเตอร์ (hFE)ใช้สำหรับอ่านค่าอัตราขยายกระแสไฟตรงของตัวทรานซิสเตอร์ตั้งย่านวัดโอห์ม   ที่ตำแหน่ง R X 10 (hFE)

หมายเลข 5  คือ สเกลใช้แสดงค่ากระแสรั่วไหล (Leakage Current) ของตัวทรานซิสเตอร์ (IDEO) ใช้สำหรับอ่านค่ากระแสรั่วไหลระหว่างขาคอลเลคเตอร์ (C) และขาอิมิเตอร์ (E) ของ ตัวทรานซิสเตอร์เมื่อขาเบส (B) เปิดลอยเมื่อตั้งย่านวัดโอห์ม  ที่ X 1 (150 mA), X 10 (15 mA) และ     X 1 k (150 mA) และยังใช้แสดงค่ากระแสภาระ (Load Current) ในการวัดไดโอด (LI)   ใช้สำหรับอ่านกระแสภาระที่วัดไดโอดด้วยย่านวัดโอห์มเป็นทั้งการวัดกระแสไบ แอสตามและ กระแสไบแอสย้อน

หมายเลข 6  คือสเกลใช้แสดงค่าแรงดันภาระ (Load Voltage) ในการวัดไดโอด (LV)  ใช้สำหรับอ่านแรงดันภาระที่วัดไดโอดด้วยย่านวัดโอห์ม เป็นทั้งการวัดกระแสไบแอสตามและกระแสไบแอสย้อนเช่นเดียวกับการวัด LI

หมายเลข 7  คือ สเกลใช้แสดงค่าความดังของสัญญาณเสียงบอกค่าออกมาเป็นเดซิเบล (dB) ใช้สำหรับอ่านค่าความดังของสัญญาณเสียง เมื่อตั้งย่านวัดที่แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับหรือ   ย่าน ACV

หมายเลข 8  คือกระจกเงาเพื่อทำให้การอ่านค่าบนสเกลที่แสดงด้วยเข็มชี้ของมิเตอร์ถูกต้อง ที่สุด การอ่านค่าที่ถูกต้องคือตำแหน่งที่เข็มชี้ของมิเตอร์จริงกับตำแหน่งเข็มชี้ ของมิเตอร์ในกระจกเงาซ้อนกันพอดี


ข้อควรระวังในการใช้มัลติมิเตอร์


มัลติมิเตอร์เป็นมิเตอร์ที่มีส่วนประกอบของอุปกรณ์หลายชนิด แต่ละชนิดมีขนาดเล็กและบอบบาง ยิ่งในส่วนเคลื่อนไหวประกอบร่วมเป็นเข็มชี้มิเตอร์ยิ่งต้องระมัดระวังอย่างมาก ตลอดจนการนำไปใช้งานก็ต้องระวังในเรื่องปริมาณไฟฟ้าที่ทำการวัด   และอีกหลายสิ่งหลายอย่างสามารถกล่าวโดยสรุปเป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้

1  ส่วนเคลื่อนไหวของมัลติมิเตอร์ ประกอบด้วยขดลวดเส้นเล็กมาก ๆ และมีส่วนของเดือยและรองเดือยขนาดเล็กเช่นกัน มีความบอบบาง มีโอกาสชำรุดเสียหายได้ง่าย หากได้รับกระแสไหลผ่านมากเกินไป หรือหากได้รับการกระทบกระเทือนแรง ๆ ที่เกิดจากการตกหล่นเกิดจากการถูกกระแทกแรง ๆ ตลอดจนการตั้งย่านวัดปริมาณไฟฟ้าผิดพลาด

2  การวัดปริมาณไฟฟ้าต่าง ๆ ที่ไม่ทราบค่า ครั้งแรกควรตั้งย่านวัดในย่านสูงสุดไว้ก่อน เมื่อวัดค่าแล้วจึงค่อย ๆ ลดย่านวัดต่ำลงมาให้ถูกต้องกับปริมาณไฟฟ้าที่ทำการวัดค่า และต้องต่อขั้ววัดบวก (+) ลบ (-) ให้ถูกต้อง

3  การตั้งย่านวัดปริมาณไฟฟ้าชนิดหนึ่ง แต่นำไปใช้วัดปริมาณไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่ง  จะมีผลต่อการทำให้มัลติมิเตอร์ชำรุดเสียหายได้ เช่น ตั้งย่านวัดกระแสไฟฟ้า แต่นำไปวัดแรงดันไฟฟ้า เป็นต้น

4  ห้ามวัดค่าความต้านทานด้วยย่านวัดโอห์มมิเตอร์ของมัลติมิเตอร์ ในวงจรที่กำลังไฟฟ้าจ่ายอยู่ เพราะจะทำให้ย่านวัดโอห์มของมัลติมิเตอร์ชำรุดเสียหายได้ต้องตัดไฟจากวงจรก่อน   และปลดขาตัวต้านทานหรือขาอุปกรณ์ตัวที่ต้องการวัดออกจากวงจรเสียก่อน

5  ขณะพักการใช้มัลติมิเตอร์ทุกครั้งควรปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไฟที่ย่าน 1,000 VDC เสมอ   เพราะเป็นย่านวัดที่มีค่าความต้านทานภายในมัลติมิเตอร์สูงสุด   เป็นการป้องกันความผิดพลาดในการใช้งานครั้งต่อไป เมื่อลืมตั้งย่านวัดที่ต้องการ ในมัลติมิเตอร์บางรุ่นอาจมีตำแหน่ง OFF บนสวิตซ์เลือกย่านวัด ให้ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปที่ตำแหน่ง DFF เสมอ เพราะเป็นการตัดวงจรมิเตอร์ออกจากขั้วต่อวัด


ถ้าต้องการหยุดการใช้งานมัลติมิเตอร์เป็นเวลานาน ๆ หรืองดใช้งานมัลติมิเตอร์ ควรปลดแบตเตอรี่ที่ใส่ไว้ในมัลติมิเตอร์ออกมาจากมัลติมิเตอร์ให้หมด เพื่อป้องกันการเสื่อม ของแบตเตอรี่ และการเกิดสารเคมีไหลออกมาจากแบตเตอรี่ อาจกัดกร่อนอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในมัลติมิเตอร์จนชำรุดเสียหายได้ ในการเก็บมัลติมิเตอร์ไม่ควรเก็บไว้ในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง หรือมีความชื้นสูง ตำแหน่งของแบตเตอรี่ในมัลติมิเตอร์ แสดงดังรูปที่ 3.7


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.7  ตำแหน่งแบตเตอรี่ และฟิวส์ในมัลติมิเตอร์


6 ในกรณีการตั้งย่านวัดผิดพลาด จนทำให้มัลติมิเตอร์วัดค่าปริมาณไฟฟ้าอื่น ๆ ไม่ขึ้น ให้ตรวจสอบฟิวส์ที่อยู่ภายในมัลติมิเตอร์ เป็นตัวป้องกันไฟเกินขาดหรือไม่ หากฟิวส์ขาดให้ใช้ฟิวส์สำรองที่มีอยู่ใส่แทน และทดลองใช้มัลติมิเตอร์อีกครั้ง ตำแหน่งฟิวส์และฟิวส์สำรองแสดงดังภาพที่ 3.7


ขั้นตอนการใช้โวลต์มิเตอร์  ยี่ห้อ SANWA  รุ่น YX 360-TR วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง

DC.-Voltmeterเป็นเครื่องมือวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ค่าที่วัดได้เป็นค่าเฉลี่ย(VRMS) การวัดแรงดันไฟกระแสตรง ตั้งสวิตช์เลือกย่านวัดไปที่ DCV มัลติมิเตอร์   SANWA  รุ่น

YX-360TR มีทั้งหมด 7 ย่านวัดเต็มสเกลคือย่าน 0.1V, 0.5V, 2.5V, 10V, 50V, 250V และ 1,000V แสดงดังภาพที่ 3.8   การอ่านค่าแรงดันผ่านที่สเกล DCV, A หมายเลข 2 ของรูปที่ 3.6 ขั้นตอนการวัดค่าปฏิบัติดังนี้

1 สายวัดสีแดงเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วบวก (+) สายวัดสีดำเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วลบ ของมิเตอร์ การวัดค่าใช้สายวัดทั้งสองเส้นไปวัดค่าแรงดัน

2 ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปย่านที่เหมาะสม คือ ให้ย่านวัดสูงกว่าและใกล้เคียงค่าแรงดันที่บอกไว้มากที่สุด    ถ้าไม่ทราบให้ตั้งย่านวัดที่ย่านสูงสุดไว้ก่อนที่ 1,000 DCV   วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ดังแสดงในภาพที่ 3.8       


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.8 ตั้งย่านวัด DCV


การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ต้องนำมิเตอร์ไปต่อขนานกับวงจร และขณะวัดต้องคำนึงถึงขั้วของมิเตอร์ให้ตรงกับขั้วของแรงดันที่จะวัดโดยยึดหลักดังนี้ ใกล้บวกแหล่งจ่ายแรงดัน ต่อวัดด้วยขั้วบวกของมิเตอร์ใกล้ลบแหล่งจ่ายแรงดัน ต่อวัดด้วยขั้วลบของมิเตอร์  การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง แสดงดังภาพที่ 3.9

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.9  การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟกระแสตรง


1.ก่อนต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงค่าสูง ๆ  ควรตัดกระแสไฟฟ้าในวงจรก่อน เมื่อต่อ DCV โวลท์มิเตอร์กับจุดที่ต้องการวัดแรงดันเรียบร้อยแล้วจึงต่อกระแสเข้าวงจร

2.อย่าจับสายวัดหรือ ตัวมัลติมิเตอร์ ขณะวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงค่าสูง  เมื่อวัดเสร็จเรียบร้อยแล้วควรตัดกระแสไฟฟ้าก่อนจึงจับสายวัดได้

3.การอ่านค่า การใช้สเกล และการตั้งย่านวัด แสดงได้  ดังภาพที่ 3.10

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด



ภาพที่ 3.10   ตัวอย่างการอ่านค่า การใช้สเกล และการตั้งย่านวัดแรงดันไฟกระแสตรง 


1       สายวัดสีแดงเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วบวก (+) สายวัดสีดำเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วลบของมิเตอร์ การวัดค่าใช้สายวัดทั้งสองเส้นไปวัดค่าแรงดัน แต่ขณะวัดค่าแรงดันไม่ต้องคำนึงถึงขั้วบวก ขั้วลบ เหมือนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เพราะแรงดันไฟกระแสสลับไม่มีขั้วตายตัวขั้วแรงดันสลับไปสลับมาตลอดเวลา


2      ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปย่านที่เหมาะสม คือให้ย่านวัดสูงกว่าและใกล้เคียงค่าแรงดันที่บอกไว้มากที่สุดหากไม่ทราบ ให้ตั้งย่านวัดที่ย่านสูงสุดไว้ก่อน หากไม่ทราบค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ ให้ตั้งย่านวัดที่ย่านสูงสุดไว้ก่อนคือที่ 1,000V

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


ภาพที่ 3.11 ตั้งย่านวัด ACV

3     การวัดแรงดันไฟกระแสสลับ ต้องนำมิเตอร์ไปต่อขนานกับวงจรโดยไม่ต้องคำนึงถึง ขั้ววัด การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟกระสลับ แสดง   ดังภาพที่ 3.12

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.12  การต่อมัลติมิเตอร์วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ


             การอ่านค่าการใช้สเกลและการตั้งย่านวัด  ดังแสดงในภาพที่  3.13

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


ย่านตั้งวัด

สเกลใช้อ่าน

การอ่านค่า

ค่าที่วัดได้                       (VDC)

0.1V


0.5V


2.5V


10V


50V


250V


1,000V

0-10


0-50


0-250


0-10


0-50


0-250


0-10

ใช้ 0.01 คูณค่าที่อ่าน


ใช้ 0.01 คูณค่าที่อ่าน


ใช้ 0.01 คูณค่าที่อ่าน


อ่านโดยตรง


อ่านโดยตรง


อ่านโดยตรง


ใช้ 100 คูณค่าที่อ่าน

0.086V


0.32V


2.15V


8.6V


43V


215V


860V

ภาพที่ 3.13   ตัวอย่างการอ่านค่า การใช้สเกล และการตั้งย่านวัดแรงดันไฟกระแสสลับ


   การใช้มิลลิแอมมิเตอร์

DC-Milliammeter เป็นเครื่องมือวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง การวัดกระแสไฟตรง ตั้งสวิตช์เลือกย่านไปที่ DCmA มัลติมิเตอร์ยี่ห้อ SANWAรุ่น YX-360TR มีทั้งหมด4 ย่านวัด  เต็มสเกลคือย่าน 50 mA (0.1VDC), 2.5mA, 25mA และ 0.25A(250mA) แสดงดังภาพที่ 3.14  การอ่านค่ากระแสไฟตรงอ่านที่สเกล DCV, A หมายเลข 2 ของรูปที่ 3.6 ขั้นตอนการวัดค่าปฏิบัติดังนี้

1   เสียบสายวัดสีแดงเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วบวก (+) สายวัดสีดำเสียบเข้าที่ขั้วต่อขั้วลบ

(-COM) ของมิเตอร์ การวัดค่าใช้สายวัดทั้งสองเส้นไปวัดค่ากระแส

2     ปรับสวิตช์เลือกย่านวัดไปย่านที่เหมาะสม หากไม่ทราบค่ากระแสไฟตรงให้ตั้ง ย่านวัดที่ย่านสูงสุดไว้ก่อนที่ 0.25A

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.14  ย่านวัดกระแสไฟตรง (DCmA)


การวัดกระแสไฟตรง ต้องนำมิเตอร์ไปต่ออันดับกับวงจร และขณะวัดต้องคำนึงถึง      ขั้วของมิเตอร์ให้ตรงกับขั้วของแรงดันแหล่งจ่ายในวงจร โดยยึดหลักดังนี้ ใกล้บวกแหล่งจ่าย แรงดัน ต่อวัดด้วยขั้วบวกของมิเตอร์ใกล้ลบแหล่งจ่ายแรงดัน ต่อวัดด้วยขั้วลบของมิเตอร์ การต่อ มัลติมิเตอร์วัดไฟฟ้ากระแสตรง แสดงดังรูปที่ 3.15

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


ภาพที่ 3.15  การต่อมัลติมิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าตรงโดยตัดวงจรแล้วต่อผ่านมิลลิแอมมิเตอร์


ย่านวัดกระแสไฟตรง 50 mA เป็นย่านเดียวกับย่านวัดแรงดันไฟกระแสตรง 0.1V

ในย่านนี้ทำหน้าที่เป็นทั้งมิเตอร์วัดแรงดันไฟกระแสตรงเต็มสเกล 0.1V และทำหน้าที่เป็นมิเตอร์วัดกระแสไฟตรงเต็มสเกล 50 mA

การอ่านค่า การใช้สเกล และการตั้งย่านวัด แสดงดังภาพที่ 3.16

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


ย่านตั้งวัด

สเกล

การอ่านค่า

ค่าที่วัดได้

50 mA


2.5 mA


25mA


0.25A(250mA)

0-50


0-250


0-250


0-250

อ่านโดยตรงในหน่วย mA


ใช้ 0.01 คูณค่าที่อ่านได้ในหน่วย mA


ใช้ 0.1 คูณค่าที่อ่านได้ในหน่วย mA


อ่านโดยตรงในหน่วย mA

29 mA


1.45 mA


14.5 mA


145 mA

ภาพที่  3.16  การอ่านค่า การใช้สเกล และการตั้งย่านวัดกระแสไฟตรง


การใช้โอห์มมิเตอร์
                    โอห์มมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดค่าความต้านทานของตัวต้านทาน มีหน่วยวัดเป็นโอห์ม การวัดความต้านทาน ตั้งสวิตช์เลือกย่านไปที่ W มัลติมิเตอร์ยี่ห้อSANWAรุ่น YX-360TR มีทั้งหมด 4 ย่านวัดคือย่าน X 1, X 10, X 1k และ X 10 k แสดงดังภาพที่ 3.17 การอ่านความต้านทานอ่านที่สเกล W หมายเลข ของภาพที่ 3.6 ขั้นตอนการวัดค่าปฏิบัติดังนี้


โครงสร้างเบื้องต้นของโอห์มมิเตอร์ในมัลติมิเตอร์ ประกอบด้วยแบตเตอรี่
(ถ่านไฟฉาย) 2 ชุด คือ ชุดแบตเตอรี่ 3 V (1.5 X 2) ใช้กับย่านวัด W ย่าน X 1, X 10 และ X 1k ส่วนชุดแบตเตอรี่ 9 V ถูกต่ออันดับร่วมกับชุดแบตเตอรี่ 3 V เพื่อใช้งานในย่านวัด W ย่าน X 10k แบตเตอรี่ทั้ง 2 ชุด ต่ออันดับร่วมกับตัวต้านทานปรับค่าได้ 0W ADJ และต่ออันดับร่วมกับชุดขดลวดเคลื่อนที่และเข็มชี้ของมิเตอร์โครงสร้างเบื้องต้นของโอห์มมิเตอร์ในมัลติมิเตอร์    แสดงดังภาพที่ 3.17 และภาพที่ 3.18 


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.17 ย่านวัดความต้านทาน


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ภาพที่ 3.18 วงจรโอห์มมิเตอร์ มัลติมิเตอร์ยี่ห้อ SANWA รุ่น YX-360 TR


มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (analog multimeter, AMM)

 เป็นเครื่องมือวัดปริมาณทางไฟฟ้าหลายประเภทรวมอยู่ในเครื่องเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วมัลติมิเตอร์จะสามารถใช้วัดปริมาณต่อไปนี้

ความต่างศักย์กระแสตรง (DC voltage)

ความต่างศักย์กระแสสลับ (AC voltage)

ปริมาณกระแสตรง (DC current)

ความต้านทานไฟฟ้า (electrical resistance)

อย่างไรก็ตามมัลติมิเตอร์บางแบบสามารถใช้วัดปริมาณอื่น ๆ ได้อีก เช่น กำลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (AF output) การขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (DC current amplification, hFE) กระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (leakage current, lCEO) ความจุทางไฟฟ้า (capacitance) ฯลฯ

มัลติมิเตอร์แบบเข็ม มีลักษณะดังภาพข้างล่าง

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

มัลติมิเตอร์แบบเข็ม


ส่วนประกอบสำคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็ม

       ส่วนประกอบสำคัญของมัลติมิเตอร์แบบเข็มข้างต้น (ซึ่งแสดงหมายเลขกำกับไว้แล้ว           ยกเว้นหมายเลข 9 และ 10) ได้แก่ 



1.   ที่ปรับการชี้ศูนย์ (indicator zero corrector): ใช้สำหรับการปรับให้เข็มชี้ศูนย์ขณะยังไม่ได้ใช้ทำการวัด 2.   สวิตช์เลือกปริมาณที่จะวัดและระดับขนาด (range selector switch knob) : เป็นสวิตช์ที่ผู้ใช้จะต้องบิดเลือกว่าจะใช้เครื่องวัดปริมาณใด ซึ่งมีทั้งหมด 4 ปริมาณแต่ละปริมาณมีช่วงการวัดให้เลือก ดังนี้ACV : 0-10V, 0-50 V, 0-250 V และ 0-1000 V (รวม 4 ช่วงการวัด)DCV : 0-0.1 V, 0-0.5 V, 0-2.5 V, 0-10 V, 0-50 V, 0-250 V และ 0-1000 V (รวม 7 ช่วงการวัด)DCA :0-50
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
A,0-2.5 mA,0-25mA,และ0-0.25 A (รวม 4 ช่วงการวัด)Resistance (
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
) : x 1 (อ่านได้ 0-2k
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
)x 10 (อ่านได้ 0-20k
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
)x 1k (อ่านได้ 0-2000k หรือ 2 M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
)x 10k (อ่านได้ 0-20 M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
)( รวม 4 ช่วงการวัด)3.   ช่องเสียบสายวัดขั้วบวก (measuring terminal +)4.   ช่องเสียบสายวัดขั้วลบ (measuring terminal -COM)5.   ช่องเสียบสายวัดขั้วบวกกรณีวัดกำลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (output terminal)6.   ปุ่มปรับแก้ศูนย์โอห์ม (0 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 adjust knob) : ใช้เพื่อปรับให้เข็มชี้ศูนย์โอห์มเมื่อนำปลายวัดทั้งคู่มาแตะกันก่อนทำการวัดค่าความต้านทานในแต่ละช่วงการวัด7.   แผงหน้าปัด (panel)8.   เข็มชี้ (indicator pointer)9.   สายวัด (test lead) : ประกอบด้วยสาย 2 เส้น สีแดงสำหรับขั้วบวกและสีดำสำหรับขั้วลบ10.   สเกลการวัด (reading scales) : ประกอบด้วย 7 สเกลการวัดเรียงลำดับจากบนสุดลงล่างดังนี้ (ดูจากเครื่องวัดประกอบด้วย) 


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

สเกลการวัด

1.   สเกลวัดความต้านทาน (

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
) ด้านล่างของสเกลนี้มีกระจกเงาเพื่อช่วยแก้ความคลาดเคลื่อนในการอ่านเนื่องจากแพรัลแลกซ์

2.   สเกลวัดความต่างศักย์กระแสตรง (DCV) และปริมาณกระแสตรง (DCA) มีสีดำ

3.   สเกลวัดความต่างศักย์กระแสสลับ (ACV) มีสีแดง

4.   สเกลวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ (hFE) มีสีน้ำเงิน

5.   สเกลวัดกระแสรั่วของทรานซิสเตอร์ (LEAK, ICEO, Ll) มีสีน้ำเงิน

6.   สเกลวัดความต่างศักย์ระหว่างปลายขณะวัดความต้านทาน (LV) มีสีน้ำเงิน

7.   สเกลวัดกำลังออกของสัญญาณความถี่เสียง (dB) มีสีแดง 

ความไว (sensitivity) ของเครื่องวัดนี้ระบุไว้ที่ตอนล่างด้านซ้ายของสเกลการวัด เพื่อบ่งให้ทราบค่ากระแสที่ผ่านเครื่องวัดสำหรับการอ่านค่าสเกลการวัดหนึ่ง ๆ โดยบอกในรูปโอห์มต่อโวลต์ (ohm per volt) โดยทั่วไปแล้ว เครื่องวัดที่มีความไวสูง จะมีค่าโอห์มต่อโวลต์สูง 

DC 20 k

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
/V หมายความว่า ขณะใช้การที่วัดที่สเกล DCV เมื่ออ่านค่าได้ 1 VDC ความต้านทานภายในเครื่องวัดจะเป็น 20 k
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
ดังนั้นกระแสที่ผ่านเครื่องวัดขณะนี้จะเป็น 


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


AC 8 k

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
/V หมายความว่า ขณะใช้การวัดที่สเกล ACV เมื่ออ่านค่าการวัดได้ 1 VAC ความต้านทานภายในเครื่องวัดจะเป็น 8 k
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 ดังนั้นกระแสที่ผ่านเครื่องวัดขณะนี้จะเป็น 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด


การอ่านผลการวัดจากสเกลเครื่องวัด

ก่อนทำการอ่านผลการวัดจะต้องทราบก่อนว่า ค่าที่อ่านได้จากสเกลเครื่องวัดนี้ มีความเชื่อถือได้มากน้อยเท่าใด นั่นคือต้องทราบความแม่น (accuracy) ของเครื่องวัดด้วย ซึ่งปกติจะมีระบุไว้ในคู่มือของเครื่องวัดนั้นๆ สำหรับเครื่องวัดที่จะได้ศึกษามีรายละเอียดดังตารางข้างล่าง 


ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด




         ในช่องที่ 3 ในแนวตั้ง จะบอกถึงความแม่นของแต่ละสเกลการวัด เช่น สเกล DCV มีความแม่น 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
3% fs (fs ย่อมาจาก full scale) หมายถึง ขณะหมุนปุ่มเลือกไปที่ 0-10V ถ้าเข็มชี้เต็มสเกลคือ ชี้ที่ 10 V ค่าที่อ่านได้จะเป็น 10 V
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
3% ซึ่งมีค่าเท่ากับ 10
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
0.3V ดังนั้นเราจึงสามารถประมาณได้ว่าค่าที่อ่านได้จากช่วงสเกล 0-10V นี้ จะมีความแม่นอยู่ในขอบเขต 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
0.3V สำหรับความเที่ยง (precision) พิจารณาได้จากการแบ่งขีดสเกลเล็กที่สุด จะเห็นว่าสำหรับสเกล DCV ช่องสเกลเล็กสุดเท่ากับ 2 mV ดังนั้นเราจะประมาณค่าระหว่างช่องเล็กสุดได้อีกหนึ่งตำแหน่งทศนิยม นั่นคือ ความเที่ยงจะเป็น 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
0.1 mV สำหรับ DCV ส่วนสเกล ACV ช่องสเกลเล็กที่สุดเท่ากับ 200 mV ดังนั้นเราจะประมาณค่าระหว่างช่องเล็กสุดได้อีกตำแหน่งหนึ่งของหลักนั่นคือ ความเที่ยงจะเป็น 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
10 mV สำหรับ ACV ในกรณีที่เราสามารถทราบค่าทั้งความเที่ยงและความแม่นของค่าที่วัดได้ ควรใช้เฉพาะค่าความแม่นเท่านั้น เพราะจะแสดงถึงขอบเขตความผิดพลาดเมื่อเทียบกับปริมาณมาตรฐาน 

การเตรียมก่อนทำการวัด

การปรับแก้การชี้ศูนย์ของเข็มชี้ ให้ดำเนินการดังนี้ 

วางเครื่องวัดบนพื้นโต๊ะให้อยู่ในแนวราบ (เพื่อให้แกนการหมุนของเข็มชี้อยู่ในแนวดิ่ง)

ยังไม่ต้องต่อสายเสียบใดๆ กับเครื่องวัด

ก้มดูที่เข็มชี้ว่าอยู่ในแนวทับกับขีดศูนย์ (ทางด้านซ้ายสุดของสเกล DCV,A) หรือไม่ ให้สังเกตภาพเสมือนของเข็มชี้ในกระจกเงาเหนือสเกล DCV,A ด้วยว่า เข็มชี้ซ้อนทับบนภาพเสมือนของเข็มชี้หรือไม่

ถ้าเข็มชี้ตรงขีดศูนย์พอดี เครื่องวัดพร้อมที่จะใช้งานได้

แต่ถ้าเข็มชี้ไม่ตรงขีดศูนย์ จะต้องใช้ไขควงปลายแบนหมุนปรับที่ปรับการชี้ศูนย์ 

ข้อควรระวังในการวัด

1.   เมื่อการวัดเกี่ยวข้องกับความต่างศักย์สูง (ตั้งแต่ 50 V ขึ้นไป) อย่าให้นิ้วมือหรือส่วนใดของร่างกายสัมผัสส่วนที่เป็นโลหะของปลายวัด เพราะอาจเป็นอันตรายได้

2.   ก่อนวัดปริมาณใด ต้องแน่ใจว่า ได้หมุนสวิตช์เลือกปริมาณที่จะวัดตรงตามปริมาณที่จะวัดแล้ว มิฉะนั้นแล้วเครื่องวัดอาจชำรุดเสียหาย

3.   ต้องแน่ใจว่าหมุนสวิตช์เลือกช่วงการวัดให้อยู่ในช่วงที่สูงมากกว่าปริมาณที่จะวัด เช่น จะวัดความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่ 12V ก็ต้องตั้งปุ่มเลือกช่วงการวัดไว้ที่ DCV ช่วง 0-50V ถ้าไม่ทราบขนาดโดยประมาณของปริมาณที่จะวัด ให้ตั้งเลือกช่วงการวัดให้สูงที่สุดก่อน (เช่น ตั้งที่ 0-1000V) แล้วค่อยลดระดับช่วงการวัดต่ำลงมาทีละช่วง

4.   ถ้าในการวัด DCV หรือ DCA เข็มชี้ไม่เบนไปทางขวาแต่พยายามเบนมาทางซ้าย แสดงว่ากระแสผ่านเครื่องวัดในทิศทางไม่ถูกต้อง ให้สลับขั้วปลายวัด

5.   ถ้าเข็มชี้ไม่ขยับจากการชี้ศูนย์หรือเบนออกมาเพียงเล็กน้อย แสดงว่ากระแสผ่านเครื่องวัดน้อยเกินไป ให้ปรับลดช่วงการวัดต่ำลงกว่าเดิมทีละขั้น จนกระทั่งเข็มชี้อยู่ประมาณกลางสเกล


มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข (Digital Multimeter, DMM)

สามารถวัดปริมาณทางไฟฟ้าได้หลายประเภท เช่นเดียวกับมัลติมิเตอร์แบบเข็ม นอกจากนี้ยังสามารถวัดปริมาณกระแสสลับ วัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์ วัดความจุไฟฟ้าและตรวจสอบไดโอดได้อีกด้วยมัลติมิเตอร์แบบตัวเลข มีลักษณะดังภาพข้างล่าง

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข


1. จอแสดงผล (display)

       2. สวิตซ์เปิด-ปิด (ON-OFF)

       3. สวิตช์เลือกปริมาณที่จะวัดและช่วงการวัด (range selector switch) สามารถเลือกการวัดได้ อย่าง ดังนี้

1. DCV สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง มี ช่วงการวัด
2. ACV สำหรับการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ มี ช่วงการวัด
3. DCA สำหรับการวัดปริมาณกระแสตรง มี ช่วงการวัด
4. ACA สำหรับการวัดปริมาณกระแสสลับ มี ช่วงการวัด
5. 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
สำหรับการวัดความต้านทาน มี ช่วงการวัด
6. CX สำหรับการวัดความจุไฟฟ้า มี ช่วงการวัด
7. hFE สำหรับการวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์
8. 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
สำหรับตรวจสอบไดโอด

      4. ช่องเสียบสายวัดร่วม :(COMใช้เป็นช่องเสียบร่วมสำหรับการวัดทั้งหมด (ยกเว้นการวัด CX และ hFE ไม่ต้องใช้สายวัด)

      5. ช่องเสียบสายวัด mA สำหรับวัด DCA และ ACA ที่มีขนาด 0-200 mA

      6. ช่องเสียบสายวัด 10A สำหรับวัด DCA และ ACA ที่มีขนาด 200 mA-10A

      7. ช่องเสียบสำหรับวัดการขยายกระแสตรงของทรานซิสเตอร์

      8. ช่องเสียงสำหรับวัดความจุไฟฟ้า

      9. ช่องเสียบสายวัด V

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

นอกจากนี้บนแผงหน้าของมัลติมิเตอร์แบบตัวเลขยังมีสัญลักษณ์เพื่อความปลอดภัย (safety symbols) กำกับไว้ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สากลสำหรับเตือนผู้ใช้ให้มีความระมัดระวังในการใช้เครื่องมือ เพื่อความปลอดภัยแก่ผู้ใช้เองและให้เครื่องมืออยู่ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานได้เสมอ สัญลักษณ์ที่กล่าวนี้ได้แก่

       หมายถึง ให้ดูคำอธิบายในคู่มือ 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
หมายถึง ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูง 


ลักษณะเฉพาะบางประการของเครื่องวัด

 1. จอแสดงผล (display) แสดงด้วยตัวเลข 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
หลัก (
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 digit) เนื่องจากค่าสูงสุดที่สามารถแสดงได้คือ 1999 ตัวเลขหลักที่ 1, 2และ 3 (นับจากขวาสุดไปทางซ้าย) แปรค่าได้จาก ถึง 9 (เรียกว่า full digit) ส่วนตัวเลขหลักที่ จะแสดงตัวเลขได้เฉพาะ เท่านั้น (เรียกว่า half digit)

       2. สภาพขั้ว (polarity) ในการวัดปริมาณทางไฟฟ้าบางชนิดเช่นความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงด้วยเครื่องวัดที่ใช้เข็มชี้เป็นตัวแสดงผล เมื่อต่อสายวัดผิดขั้ว เข็มของเครื่องวัดจะตีกลับในทิศตรงข้าม ในสภาวะเช่นนี้สำหรับมัลติมิเตอร์แบบตัวเลขจะปรากฏเครื่องหมาย - บนจอแสดงผล

       3. ในการวัดปริมาณใด ๆ ที่ตั้งช่วงการวัดต่ำกว่าค่าที่จะวัด จอแสดงผลจะแสดงตัวเลข หรือ -เช่น จะวัดความต้านทาน 10 k

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
แต่ตั้งช่วงการวัดไว้ที่ 0-2 k
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 จะปรากฏ แสดงว่าค่าที่จะวัดสูงกว่าช่วงการวัดที่ตั้งไว้

       4. เมื่อแหล่งจ่ายกำลังให้เครื่องวัด คือ แบตเตอรี่ 9V อ่อนกำลัง LO BAT จะปรากฎบนจอเตือนให้ผู้ใช้เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ 


ความแม่น (accuracy) ของเครื่องวัด


       ค่าที่อ่านได้จากเครื่องวัดจะมีความเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับความแม่นของเครื่องวัด ซึ่งจะระบุไว้ในคู่มือการใช้เครื่องมือนั้น ๆ การบอกความแม่นมีวิธีบอกได้หลายแบบ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม ซึ่งเป็นเครื่องวัดที่ใช้การเบี่ยงเบนของเข็มชี้เป็นตัวแสดงผล บอกความแม่นเป็น %fs สำหรับมัลติมิเตอร์แบบตัวเลขนิยมบอกความแม่นเป็น 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(% reading + number of digits of error) เขียนย่อเป็น 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(%rdg + no. of dgtซึ่งจะมีค่าเปลี่ยนไปสำหรับแต่ละปริมาณที่จะวัด และอาจจะเปลี่ยนไปได้อีกเมื่อเปลี่ยนช่วงการวัด ดังตัวอย่างในตาราง

Electrical Specifications

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
INTRODUCTIONAccuracies are 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(%reading plus number of digits). At 23 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
5oC, less than 75% RH.

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
DC VOLTAGE


RANGE
ACCURACYRESOLUTIONINPUT IMPEDANCEOVERLOAD PROTECTION

400 mV,4V,40V,400V,1000V
ALL RANGE 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(0.5% RDG+1 DGT)100
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
v TO 1V
20 M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
500VDC/350VAC FOR 15 SEC. ON400mV RANGE 1200 VDC/800VAC ONOTHER RANGE

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
AC VOLTAGE


RANGE
ACCURACY

400mV,4V,40V,400V, 750V.
400mV-400V @50-500HZ

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(1%RDG+4DGTS). 750V @50-500HZ, 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(1.5%
RDG+4DGTS).

RESOLUTION
INPUT IMPEDANCEOVERLOAD PROTECTION

100

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
V to 1V.
20 M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
500VDC/350VAC FOR 15 SEC. ON400mV RANGE 1200VDC/800VAC ONALL OTHER RANGE.

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
DC CURRENT


RANGE
ACCURACY

40mA. 400mA. 10A
10A RANGE, 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(2% RDG+3DGTS)OTHER RANGE
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 (1% RDG+1DGT)

RESOLUTION
VOLTAGE BURDENOVERLOAD PROTECTION

10

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 a TO 10mA
10A RANGE 700mV MAX.10A INPUT, UNFUSE, UP TO 12A FOR30 SEC. OTHER RANGE INPUT. 0.8A/250V FUSE.

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
AC CURRENT


RANGE
ACCURACY

40mA. 400mA, 10A.
10A RANGE @50-500HZ, 

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(2% RDG+4 DGTS) OTHER RANGE @50-500HZ.
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(1.2%RDG-4DGTS)

RESOLUTION
VOLTAGE BURDENOVERLOAD PROTECTION

10

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 A to 10mA
10A RANGE 700 mV. MAX.10A INPUT. UNFUSE, UP TO 12AFOR 30 SEC. OTHER RANGE INPUT.0.8A/250V FUSE.

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
RESISTANCE


RANGE

400

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 4K
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 40K
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 400K
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 4M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

40M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 400M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

ACCURACY



400M

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
5%RDG-20DGTS
40M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
3%RDG+3DGTS
400
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
1%RDG+3DGTS
OTHER RANGE 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
0.8%RDG-1DGT

RESOLUTION
OVERLOAD PROTECTIONTEST VOLTAGE

100m

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
 TO 100K
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด

500VAC/DC A DC 500 VDC/AC400
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 400M
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
, 3.4V MAX. OTHER
RANGES, 0.6V MAX.

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
CAPACITANCE


RANGE
ACCURACYTEST FREQUENCYTEST VOLTAGERESOLUTION

4nF, 40nF, 400nF, 4

ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
F, 40
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
F.
ALL RANGE 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(3% RDG+10 DGTS)
400HZ50mV1PF TO 10nF.


จากตารางจะเห็นว่า ถ้าเป็นการวัด DCV ความแม่นอยู่ในขอบเขต 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(0.5% rdg + 1dgt) ทุกช่วงการวัด ถ้าเป็นการวัด DCAความแม่นอยู่ในขอบเขต 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(1.0% rdg+1 dgtเฉพาะในช่วงการวัด ช่วงแรก ส่วนช่วงการวัด 0-10 A ความแม่นจะอยู่ในขอบเขต 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(2.0%rdg+3dgt) เป็นต้น 

ตัวอย่างการหาความแม่น

ในการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงของเซลล์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง (สมมติว่าค่าไม่เกิน 1.7V) ต้องบิดสวิตช์เลือกการวัดไปที่DCV และเลือกช่วงการวัด 0-2 V ช่วงการวัดนี้มีความแม่น 
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
(0.5% rdg+1dgt) ซึ่งหาได้ดังนี้สมมติค่าที่อ่านได้ (readingจากจอแสดงผล   =   1.604V
ดังนั้น 0.5% rdg   =   0.5 x 10-2 x 1.604V   =   0.008V
และ 1dgt   =   0.001 V ได้จากการพิจารณาว่าค่าที่อ่านได้คือ 1.604V เกิดจากการนับ 1604 ครั้ง ในการนับทั้งหมด 1604 ครั้งนี้มีความผิดพลาดได้ ครั้ง ดังนั้น 1dgt ในที่นี้คือ ใน 1604 หรือประมาณ 0.001 V ใน 1.604V 

ข้อควรระวังและการเตรียมสำหรับการวัด

1. ก่อนการวัดปริมาณใด ต้องแน่ใจว่า

1บิดสวิตซ์เลือกการวัดตรงกับปริมาณที่จะวัด
2) สวิตซ์เลือกการวัดอยู่ในช่วงการวัดที่เหมาะสมไม่ต่ำกว่าปริมาณที่จะวัดในกรณีที่ไม่ทราบปริมาณที่จะวัดมีค่าอยู่ในช่วงการวัดใด ให้ตั้งช่วงการวัดที่มีค่าสูงสุดก่อนแล้วค่อยลดช่วงการวัดลงมาทีละช่วง

            2. เนื่องจากช่องเสียบสายวัด (สีแดง) มีหลายช่อง คือ V-
ปรับปุ่ม 0โอห์ม adj ของมัลติมิเตอร์ถูกใช้งานเมื่อใด
mA และ 10 A ต้อง                   แน่ใจว่าเสียบสายวัดสีแดงในช่องเสียบตรงกับปริมาณที่จะวัด      

 3. ในกรณีที่วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงตั้งแต่ 25 VAC หรือ 60 VDC ขึ้นไป ระวังอย่าให้                    ส่วนใดของร่างกายแตะวงจรที่กำลังวัดจะเป็นอันตรายได้     

 4.เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ให้เลื่อนสวิตซ์ปิด-เปิด มาที่ OFF ถ้าไม่ได้ใช้เป็นเวลานาน ควร                    เอาแบตเตอรี่ออกด้วยการวัดปริมาณกระแสสูง (~10A) ควรใช้เวลาวัดในช่วงสั้นไม่                      เกิน 30 วินาที          

 5. ในขณะที่กำลังทำการวัด และต้องการปรับช่วงการวัดให้ต่ำลงหรือสูงขึ้นหรือเลือก                         การวัดปริมาณอื่น ให้ดำเนินการดังนี้

1) ยกสายวัดเส้นหนึ่งออกจากวงจรที่กำลังทดสอบ
            2) ปรับช่วงการวัดหรือเลือกการวัดปริมาณอื่นตามต้องการ
            3) ทำการวัด


บทสรุป

มัลติมิเตอร์   เป็นมิเตอร์ใช้วัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายชนิด ถูกสร้างขึ้นมา  เพื่อ อำนวยความสะดวกต่อผู้ใช้ โครงสร้างของมัลติมิเตอร์ประกอบด้วยส่วนประกอบของอุปกรณ์    หลายชนิด  แต่ละชนิดมีขนาดเล็กและบอบบาง ยิ่งในส่วนเคลื่อนไหวยิ่งต้องระมัดระวัง เพราะชำรุดเสียหายได้ง่ายถ้าถูกกระทบกระเทือนตรง ๆ  ตลอดจนการนำไปใช้งานต้องมีความระมัดระวังเรื่องปริมาณไฟฟ้าที่จะวัด ต้องไม่มากเกินกว่าย่านที่ตั้งวัด  ถ้าไม่ทราบค่าปริมาณไฟฟ้าที่จะวัดควรตั้งย่านวัดสูงสุดไว้ก่อน การวัดปริมาณไฟฟ้าที่เป็นพวกไฟกระแสตรง (DC) ไม่ว่าเป็นแรงดันไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้า ขณะต่อมัลติมิเตอร์วัดวงจรไฟฟ้านั้น ต้องคำนึงถึงขั้วของมัลติมิเตอร์ และขั้วแรงดันของแหล่งจ่ายในวงจรต้องเหมือนกันโดยยึดหลักการต่อวัดดังนี้ ใกล้บวกต่อบวก ใกล้ลบต่อลบจึงสามารถวัดค่าปริมาณไฟฟ้านั้น ๆ ได้ ส่วนปริมาณไฟฟ้าที่เป็นพวกไฟกระแสสลับ (AC) ไม่ว่าเป็นแรงดันไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้าขณะต่อมัลติมิเตอร์วัดวงจรไฟฟ้านั้น ๆ ไม่ต้องคำนึงถึงขั้วของมัลติมิเตอร์และขั้วแรงดันของแหล่งจ่ายในวงจร ความสำคัญอีกประการหนึ่งคือการตั้งย่านวัดค่าปริมาณไฟฟ้า ต้องตั้งย่านวัดปริมาณไฟฟ้าให้ถูกต้องตามาชนิดของปริมาณไฟฟ้านั้น ๆ   เพราะการตั้งย่านวัดผิดชนิดอาจมีผลทำให้มัลติมิเตอร์ชำรุดเสียหายได้ และการตั้งย่านวัดที่เหมาะสมเป็นสิ่งจำเป็นเช่นกันจะช่วยให้การอ่านค่าการวัดมีความถูกต้องมากขึ้น

ปุ่มปรับศูนย์โอห์มของมัลติมิเตอร์ทําหน้าที่อะไร

ปุ่มปรับศูนย์โอห์ม เป็นปุ่มปรับที่ปรับให้เข็มของมัลติมิเตอร์อยู่ที่ศูนย์โอห์ม เพื่อทำการวัดค่าความต้านทาน และปุ่มนี้ต้องทำการปรับให้อยู่ที่ศูนย์โอห์มทุกครั้งที่มีการเปลี่ยน ย่านการวัด

สิ่งสำคัญประการแรกของการใช้งานมัลติมิเตอร์คืออะไร

1.เลือกตําแหน่งที่ต้องการวัดความต่างศักย์ และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า 2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดําที่ขั้วลบ(- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก(+)เข้ากับมัลติมิเตอร์ 3. ตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่าความต่างศักย์ของบริเวณนั้น โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ ตําแหน่งช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)

มัลติมิเตอร์ใช้วัดอะไรบ้าง

มัลติมิเตอร์(Multimeters) คือ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายปริมาณ แต่ วัดได้ทีละปริมาณ โดยสามารถตั้งเป็นโวลท์มิเตอร์แอมป์มิเตอร์หรือ โอห์มมิเตอร์และเลือกไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ได้ มัลติมิเตอร์บางชนิดมีคุณสมบัติการวัดเพิ่มเติม เช่น วัดค่าความจุวัด

ย่านวัด DCV ใช้วัดอะไร

หมายเลข 2 สเกล DCV, A & ACV. เมื่อตั้งย่านวัด DCV เป็นสเกลที่ใช้สำหรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อตั้งย่านวัด DCmA เป็นสเกลที่ใช้สำหรับอ่านค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อตั้งย่านวัด ACV เป็นสเกลที่ใช้สำหรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ