20128-2107 พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

หมายเหตุ  หัวข้อข้างต้นเป็นเพียงตัวอย่างโจทย์ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจริยะเท่านั้น  ผู้สมัครฯ สามารถระบุหัวข้อโจทย์ที่ต้องการหาผู้เชี่ยวชาญได้ตามตัวอย่างด้านบนหรือกำหนดหัวข้อโจทย์ด้วยตนเองในแบบฟอร์มสมัครฯ

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565

แผนการสอน / แผนจัดการเรียนรู้สมรรถนะอาชีพ
มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั 20128 – 2107
รำยวชิ ำพ้ืนฐำนอเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ ัจฉรยิ ะ
หลกั สตู รประกำศนียบัตรวิชำชพี (ปวช.) พุทธศกั รำช 2562
ประเภทวชิ ำชำ่ งอตุ สำหกรรม สำขำวชิ ำชำ่ งเทคนคิ คอมพิวเตอร์

โดย
นางสาวรชั ฎาเนตร สุราไพ

ตำแหน่ง ครผู ้ชู ว่ ย

แผนกวชิ ำเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ วทิ ยำลยั เทคนคิ สิงหบ์ รุ ี
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ
กระทรวงศกึ ษำธิกำร

แผนการสอน / แผนจดั การเรยี นรู้สมรรถนะอาชพี

มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รหสั 20128 – 2107 รายวิชาพ้ืนฐานอิเล็กทรอนิกสอ์ จั ฉรยิ ะ
หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562
ประเภทวชิ าชา่ งอุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งเทคนคิ คอมพวิ เตอร์
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565

จัดทำโดย
นางสาวรัชฎาเนตร สรุ ำไพ

แผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลัยเทคนิคสิงห์บรุ ี
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ แผนกวิชาเทคนคิ คอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลัยเทคนิคสิงหบ์ รุ ี .
ที่ วันท่ี 17 ตุลาคม 2565
เรือ่ ง ขออนุมตั ิแผนการจดั การเรียนรู้

เรียน ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั เทคนิคสิงหบ์ ุรี

ด้วยข้าพเจ้า นางสาวรัชฎาเนตร สุรำไพ ตำแหน่งครูแผนกวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ได้รับ
มอบหมายให้ปฏิบัติการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) รายวิชาพื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
รหัสวิชา 20128 - 2107 จำนวน 2 หน่วยกติ 4 ช่วั โมง / สัปดาห์ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565

ข้าพเจ้าจึงได้วิเคราะห์ จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คำอธิบายรายวิชา
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 และดำเนินการจัดทำแผนการสอน / แผน
จัดการเรียนรู้สมรรถนะอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรฯ ต่อไป
รายละเอียดตามเอกสารท่ีแนบมาพร้อมน้ี

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดพจิ ารณาอนุญาต

(นางสาวรชั ฎาเนตร สรุ ำไพ)
ครแู ผนกวชิ าเทคนิคคอมพวิ เตอร์

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใช้แผนการจัดการเรียนรู้

 ควรอนญุ าตใหใ้ ชใ้ นการเรยี นการสอนได้
 ควรปรบั ปรงุ เกี่ยวกบั
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

( นายนิพนธ์ แก้วเกดิ )
หวั หน้าแผนกเทคนิคคอมพิวเตอร์

………/……………./……..…

 เห็นควรอนุญาตใหใ้ ชใ้ นการจัดการเรียนรู้ได้
 ควรปรับปรงุ ดงั เสนอ
 อื่นๆ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

( นายบัญชา ใจซอ่ื )
รองผ้อู ำนวยการฝ่ายวิชาการ
………/……………./……..…

 อนุญาตใหใ้ ชใ้ นการจัดการเรยี นรไู้ ด้
 อน่ื ๆ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

( นายวสันต์ แสงนิล )
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนคิ สิงหบ์ รุ ี

………/……………./……..…

1

วิทยาลัยเทคนคิ สิงห์บรุ ี

โครงการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565

รหสั วิชา 20128 - 2107 ชอ่ื วชิ า พ้ืนฐานอิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ัจฉริยะ .
.
จำนวน 2 หน่วยกติ 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ระดับ ปวช.3 .
.
ผู้เรียน จำนวน 1 กล่มุ ไดแ้ ก่ กลุ่ม 1 สาขาวชิ า เทคนิคคอมพิวเตอร์

ชอื่ ครผู ้สู อน นางสาวรัชฎาเนตร สุรำไพ

จุดประสงค์รายวิชา เพ่ือให้
1. เข้าใจหลกั การของระบบอิเลก็ ทรอนิกสอ์ ัจฉรยิ ะ
2. มีทกั ษะในการเลือกใช้อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ
3. มีทกั ษะในการเขียนโปรแกรมเพ่ือสื่อสารกบั อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์อัจฉรยิ ะ
4. มเี จตคติทด่ี ีต่อวิชาชพี มกี ิจนิสัยในการคน้ ควา้ เพิ่มเติมและทำงานด้วยความรอบคอบ ถกู ต้อง

ปลอดภยั

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความร้เู กย่ี วกับหลักการเขยี นโปรแกรมส่อื สารข้อมูลกบั อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์อัจฉริยะ
2. เขยี นโปรแกรมเพ่ือสือ่ สารกบั อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์อัจฉริยะ
3. ตรวจสอบการทำงานหรอื แกไ้ ขปญั หาการทำงานของระบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสอ์ จั ฉริยะ

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานของอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ระบบ IoT (Internet of

Thing) การควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อุปกรณ์ตรวจจับ
สัญญาณระบบสมองกลฝังตัวเพื่อสื่อสารกับระบบ IoT และการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
อัจฉรยิ ะ

2

สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้

รหสั วิชา 20128 - 2107 ชื่อวชิ า พื้นฐานอิเลก็ ทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ

ระดับชน้ั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) จำนวน 2 หนว่ ยกติ 4 ชั่วโมง / สัปดาห์

หนว่ ยการ สมรรถนะประจำหน่วยการเรยี นรู้ ช่วั โมง
เรียนรู้ที่

1 1. สามารถอธบิ ายแนวคดิ ของ IoT 4

2. เข้าใจระบบ Interner of Things (IoT) และตัวอย่างการใช้งาน

IoT

2 1. สามารถอธิบายสถาปตั ยกรรมของ Interner of Things (IoT) 4

2. สามารถอธบิ ายเทคโนโลยขี อง Interner of Things (IoT)

3 1. สามารถอธบิ ายเคร่ืองมือในการพฒั นา IoT 4

2. สามารถอธบิ ายบอร์ดแต่ละชนดิ

4 1. สามารถอธิบายประเภทของเซนเซอร์ 4

2. สามารถอธบิ ายวธิ ีการการใชง้ านของเซนเซอร์แต่ละประเภท

5 1. เขา้ ใจการตดิ ต่อกับบอรด์ โดยใชโ้ ปรแกรม 8

2. เขา้ ใจการเชือ่ มตอ่ และรปู แบบคำสั่งของชุดคำสั่งโปรแกรม

3. สามารถเขยี นคำสง่ั พ้นื ฐานในการเขียนโปรแกรมลงบน

NodeMCU

6 1. เขา้ ใจ Library ต่าง ๆ ทีม่ ักใช้ในระบบ IoT 8

2. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของ Interner of Things (IoT)

3. เขา้ ใจการทำงานของอุปกรณ์และเซนเซอร์ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการ

จดั เก็บข้อมูลการนำข้อมูลมาวิเคราะห์

7 1. ร้แู ละเขา้ ใจมาตรฐานของ Interner of Things (IoT) 8

2. เข้าใจระบบรักษาความปลอดภยั ของ Interner of Things (IoT)

3. เขา้ ใจการสื่อสารระหว่าง NodeMCU กับ Blynk

8 1. สามารถเขยี นโปรแกรมอ่านค่าจาก Input ของ NodeMCU 8

2. สามารถเขียนโปรแกรมส่งค่าออก Output ของ NodeMCU

9 1. สามารถเขยี นโปรแกรมควบคุมการทำงานตามเวลาทก่ี ำหนด 8

2. สามารถเขยี นโปรแกรมเพื่อส่งข้อมูลไปยัง LINE Notify

10 เข้าใจการส่ือสารระหว่าง NodeMCU กับ NETPIE 4

11 เข้าใจการพฒั นา IoT เพอื่ เช่อื มต่อกบั ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI) 4

สอบกลางภาค 4

สอบปลายภาค 4

รวม 72

3

ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

รหสั วชิ า 20128 - 2107 ชื่อวิชา พ้ืนฐานอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ัจฉริยะ

ระดบั ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) จำนวน 2 หน่วยกติ 4 ชว่ั โมง / สปั ดาห์

พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์

พทุ ธพิสัย
ความรู้
ชอื่ หน่วย ความเ ้ขาใจ ทักษะ จิต
นำไปใ ้ช พสิ ยั พิสัย
ิวเคราะ ์ห
ัสงเคราะห์
ประเ ิมนค่า
รวม
ลำดับความสำคัญ
จำนวนคาบ

1. ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกบั IoT 221- - - 2 1 8 9 4

2. สถาปัตยกรรมของ IoT 2 2 2 2 - - 2 1 11 8 4

3. เครื่องมือในการพัฒนา IoT 2 2 1 2 - - 2 1 10 8 4

4. ประเภทของเซนเซอร์ 5 3 3 - - - 3 1 15 7 4

5. การติดต่อกบั บอร์ดโดยใชโ้ ปรแกรม 2121- - 1 1 8 6 8

6. Library ต่าง ๆ ทม่ี ักใช้ในระบบ IoT 4 3 1 - - - 1 1 11 1 8

7. มาตรฐานของ IoT 3 3 3 - - - 2 1 12 4 8

8. การเขยี นโปรแกรมอ่านค่าขาก Input ของ 4 3 2 1 - - 2 1 13 2 8

NodeMCU

9. การเขียนโปรแกรมควบคมุ การทำงานตาม 2 2 1 - - - 1 1 7 3 8

เวลาทกี่ ำหนด

10. การสื่อสารระหวา่ ง NodeMCU กบั 1 1 1 - - - 1 1 5 5 4

NETPIE

11. การพฒั นา IoT เพื่อเช่ือมตอ่ กบั ระบบ 4 3 2 1 - - 2 1 13 10 4

ปัญญาประดิษฐ์

สอบกลางภาค 4

สอบปลายภาค 4

รวม 31 25 19 7 0 0 19 11 113 - 72

ลำดับความสำคัญ 1235- - 3 4 - - -

4

กำหนดการจดั การเรียนการสอน

รหสั วชิ า 20128 - 2107 ชือ่ วิชา พื้นฐานอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

ระดับชั้นประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) จำนวน 2 หน่วยกติ 4 ช่ัวโมง / สัปดาห์

สัปดาห์ ชือ่ หน่วยการสอน ชอ่ื หน่วยการเรยี นร/ู้ รายการสอน จำนวนชวั่ โมง
ท่ี ท ป รวม

1 หน่วยท่ี 1 ความรู้ 1. แนวคิดของ IoT 134

เบื้องตน้ เกย่ี วกบั IoT 2. ระบบ Interner of Things (IoT)

และตวั อย่างการใช้งาน IoT

2 หนว่ ยท่ี 2 1. สถาปัตยกรรมของ Interner of 134

สถาปัตยกรรมของ IoT Things (IoT)

2. เทคโนโลยีของ Interner of Things

(IoT)

3 หน่วยท่ี 3 เครอื่ งมือใน 1. เคร่อื งมือในการพฒั นา IoT 134

การพัฒนา IoT 2. บอรด์ แต่ละชนดิ

4 หนว่ ยท่ี 4 ประเภท 1. ประเภทของเซนเซอร์ 134

ของเซนเซอร์ 2. การใชง้ านของเซนเซอรแ์ ต่ละ

ประเภท

5 – 6 หน่วยที่ 5 การติดตอ่ 1. การติดต่อกับบอร์ดโดยใช้โปรแกรม 2 6 8

กบั บอรด์ โดยใช้ 2. การเชื่อมต่อและรูปแบบคำสั่งของ

โปรแกรม ชุดคำสง่ั โปรแกรม

3. คำสั่งพืน้ ฐานในการเขียนโปรแกรมลง

บน NodeMCU

7 – 8 หน่วยที่ 6 Library 1. Library ตา่ ง ๆ ท่มี ักใช้ในระบบ IoT 2 6 8

ตา่ ง ๆ ที่มกั ใช้ในระบบ 2. การวิเคราะห์ข้อมลู ของ Interner of

IoT Things (IoT)

3. อุปกรณ์และเซนเซอร์ทีเ่ กีย่ วข้องกับ

การจัดเกบ็ ข้อมูลการนำข้อมูลมา

วิเคราะห์

9 สอบกลางภาค หนว่ ยท่ี 1 -6 134

10 - 11 หนว่ ยท่ี 7 มาตรฐาน 1. มาตรฐานของ Interner of Things 2 6 8

ของ IoT (IoT)

2. ระบบรกั ษาความปลอดภัยของ

Interner of Things (IoT)

5

สปั ดาห์ ชอ่ื หน่วยการสอน ช่ือหน่วยการเรียนร/ู้ รายการสอน จำนวนชวั่ โมง
ท่ี ท ป รวม
3. ทำความเข้าใจการสอื่ สารระหวา่ ง 268
12 - 13
NodeMCU กบั Blynk 268
14 - 15
หน่วยท่ี 8 การเขียน 1. การเขียนโปรแกรมอา่ นค่าจาก Input 134
16 134
17 โปรแกรมอ่านค่าขาก ของ NodeMCU
134
18 Input ของ 2. การเขียนโปรแกรมสง่ ค่าออก 72

NodeMCU Output ของ NodeMCU

หนว่ ยท่ี 9 การเขยี น 1. การเขียนโปรแกรมควบคุมการทำงาน

โปรแกรมควบคุมการ ตามเวลาท่ีกำหนด

ทำงานตามเวลาท่ี 2. การขยี นโปรแกรมเพ่ือส่งข้อมลู ไปยัง

กำหนด LINE Notify

หน่วยท่ี 10 การสื่อสาร การส่ือสารระหวา่ ง NodeMCU กับ

ระหวา่ ง NodeMCU NETPIE

กบั NETPIE

หนว่ ยที่ 11 การพฒั นา การพฒั นา IoT เพ่ือเช่ือมต่อกับระบบ

IoT เพือ่ เชื่อมต่อกับ ปัญญาประดิษฐ์ (AI)

ระบบปญั ญาประดิษฐ์

(AI)

สอบกลางภาค หนว่ ยที่ 7 - 11

รวม

รายการสอ่ื และอุปกรณ์การสอน ชอ่ื หนงั สือประกอบการเรยี นการสอน
สือ่ การเรียนการสอน จรี าวธุ วารนิ ทร์ . Arduino Uno + ตัวอยา่ งงาน
1. เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ IoT —กรงุ เทพฯ : ซมิ พลิฟาย.2563
2. สอื่ นำเสนอ PowerPoint กอบเกยี รติ สระอุบล. IoT Workshop ด้วย
3. ระบบปฏิบตั ิการ windows 10 Arduino —กรงุ เทพฯ : โปรวชิ นั .2563
4. ใบความรู้, ใบงานและแบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรยี น
งานที่มอบหมาย
1. ใบงาน (ปฏบิ ัต)ิ ในแต่หน่วยการเรยี น
2. แบบฝึกหัดทา้ ยบทเรียนของแต่ละบท
3. วเิ คราะห์และตีความหมาย
4. อภิปรายแสดงความคิดเห็น
5. การประยกุ ต์ความรสู้ งู่ านอาชีพ

6

การวัดผลปรึ ะเมนิ ผล คะแนน หวั ข้อการบูรณาการคุณธรรม และ
หลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี ง
การวดั ผล (100%) 20
20 - ความมีระเบียบวินัย
- จติ พสิ ัย 20 - ความรับผดิ ชอบ
- ทฤษฎี + ใบงาน 20 - ความสนใจใฝ่เรียนรู้
- ใบงาน + ทดสอบ 20 - มคี ณุ ธรรม จริยธรรม
- สอบกลางภาค 100
- สอบปลายภาค

รวม

แผนกวิชาเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ วทิ ยาลยั เทคนิคสงิ ห์บุรี
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร