ค ณสมบ ต ของ pam ในการควบค ม user

บทที่ 1 ประวตั โิ ทรศพั ท์เคลอื่ นท่ี

วิวัฒนาการ โทรศัพทเ์ คลือ่ นทใี่ นไทย

ประเทศไทยได้นาเอาโทรศพั ท์มาใช้เป็นครง้ั แรก เมื่อ พ.ศ. 2424 ตรงกับรัชกาลที่ 5 โดยกรม กลาโหม (กระทรวงกลาโหมในปัจจบุ ัน) ไดส้ ง่ั เขา้ มาใชง้ านในกิจการเพ่ือความมัน่ คงแหง่ ชาติ โทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ี (Mobile Telephone) เครื่องแรกประดษิ ฐ์ข้นึ ในปี ค.ศ. 1956 ซง่ึ มี ราคาแพงมากและมีน้าหนกั มาก การใชง้ านใน ขณะน้นั มีติดต้ังไว้ในรถยนตเ์ ท่านน้ั ปีพ.ศ. 2526 หรือ ค.ศ. 1982 ประเทศไทยได้มี โทรศัพท์เคลื่อนทบ่ี รกิ าร โดยมผี ้ใู ห้บรกิ ารราย แรกคือ องค์การโทรศัพทแ์ หง่ ประทศไทย

ในปี ค.ศ. 1992 หรอื ปพี .ศ. 2535 เปน็ ต้นมา โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ (มอื ถอื ) มรี าคาถูกลง ขนาดเล็กลง ทาให้ โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ (มอื ถอื ) ได้รบั ความนยิ มข้ึนอกี คร้งั อย่างรวดเร็วจน เปน็ เหตใุ ห้หมดยุคของ โทรศัพทเ์ คล่ือนท่ี (มือถอื ) ท่มี ีขนาด ใหญแ่ ละเพจเจอร์ โดย โทรศพั ท์เคลอื่ นทเ่ี ร่มิ มขี นาดเล็กลง

ยคุ ของโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี

โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ยคุ 1G( First - Generation Mobile)

อะนาลอ็ กเซลลูลาร์ (Analog cellular)

สหรฐั อเมริกา ระบบโทรศัพท์เคล่ือนทีย่ คุ 1G ถือวา่ เปน็ ยุคเริม่ ต้น หรือ Initial Stage โดยการพัฒนามุง่ เน้นเพอ่ื การสอื่ สารทาง เสยี งเปน็ หลกั ใชร้ ะบบการสง่ สัญญาณแบบ แอนาลอ็ ก ( Analog )

โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ยี ุค 2G (Seconds –Generation Mobile ดิจติ อลเซลลลู าร์ (Digital cellular)

อตั ราการสง่ ข้อมูลของโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ตา่ กว่า 6.9 ซ่งึ ได้ออกแบบมาสาหรับการส่งสญั ญาณเสียงเทา่ นั้นอัตรา การสง่ ข้อมลู ของโทรศัพท์เคลอ่ื นที่ ในยุคนี้คือ 6.9-14.4 Kbps การส่งสัญญาณสามารถส่งได้ท้งั สัญญาณเสยี ง, แฟกซ์ และสญั ญาณขอ้ มูลทีเ่ ป็นข้อความสน้ั ๆ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ในยคุ น้ีมนี า้ หนกั เบา มีการออกแบบท่ี ทันสมัย และได้มี

การปรับปรงุ ความเร็วในการส่งขอ้ มูลให้มากข้ึน

โทรศัพท์เคลอื่ นทีย่ ุค 2.5G (2.5 -Generation Mobile )

เป็นตน้ ยคุ โมบายอินเทอรเ์ นต็ (First Era of Mobile Internet) ยคุ นสี้ ามารถเรยี กได้วา่ First Step Into 3G กไ็ ด้ มีอัตราการจัดสง่ ขอ้ มลู ของโทรศัพทเ์ คลื่อนทีค่ ือ 64 – 144 Kbps เปน็ ช่วงเวลารอยตอ่ ระหวา่ งยคุ 2G และ 3G ข้อกาหนดมาตรฐานทางเทคนิคของเครอื ขา่ ย โทรศัพท์เคล่อื นทใ่ี นยคุ 2.5G ส่วนใหญเ่ ปน็ การเตรียม ความพร้อมให้กบั เครือขา่ ยกอ่ นท่ีจะ มกี ารก้าวเขา้ สู่ (Transition) ยุคที่ 3

โทรศัพท์เคลือ่ นทย่ี คุ 3G (Third -Generation): (Multimedia Cellular)

เนน้ การสง่ ขอ้ มูลระบบเสียงและภาพอยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดย จะสามารถเพิม่ อตั ราความเรว็ ในการสง่ ขอ้ มลู ไดถ้ ึง 384 Kbps – 2 Mbps และสามารถเรียกโทรศพั ท์เคล่ือนทใ่ี นยคุ น้วี า่ อินเทอร์เนต็ มอื ถอื (Internet Mobile) และคุณสมบัตโิ ดด

เด่นของยคุ นค้ี อื Anyservice Anywhere Anything คอื สามารถใชง้ านไดท้ กุ รูปแบบทต่ี ้องการ

โทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ียคุ 4G (Toward the Fourth Generation) ยุคบรอดแบนดไ์ รส้ าย

เป็นการพฒั นามุ่งเนน้ ท่จี ะรองรบั การสอ่ื สารส่อื ประสม (Multimedia) ทีม่ คี วามเรว็ การสง่ ขอ้ มลู ที่ สงู กว่า 2 Mbps เชน่ การให้บรกิ ารขา่ วสารข้อมลู เพอ่ื การศึกษา การซ้อื ขายสนิ คา้ ผา่ นโทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี วดิ โี อแบบภาพเคลอื่ นไหวที่ เตม็ รูปแบบ (Full – Motion Video) หรอื การประชุมทาง โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ (Mobile Teleconferencing)

บทท่ี 2 หลกั การรบั - สง่ คลน่ื สญั ญาณ

โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่ (Mobile Station) หมายถึง อุปกรณ์ โทรศัพทท์ ีใ่ ชก้ ับระบบ โทรศัพทเ์ คลอื่ นท่ีโดยที่ผู้ใชส้ ามารถ นาอุปกรณ์นเ้ี คล่อื นทไ่ี ดอ้ ยา่ งอสิ ระ

1. ส่วนหูฟัง (Handset) โครงสรา้ ง ของ 2. สว่ นควบคุม (Control Part) โทรศัพท์เคล่ื อนท่ี

มสี ่วนประกอบ หลกั 3 ส่วน

คอื

3. ส่วนคลื่นวิทยุ (Radio Part)

การรับ - ส่งคลื่นสญั ญาณของระบบ โทรศัพท์เคล่ือนที่

ภาพแสดงระยะทางทส่ี ามารถใชง้ านได้ เมอื่ ห่างจากสถานีฐาน

โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ในยคุ แรกจะใช้หลักการใชเ้ ครื่องสง่ วิทยุท่มี ี กาลงั สูง ๆ เพอ่ื ใหค้ รอบคลมุ พนื้ ท่ีกว้างไกลทสี่ ุด ดงั นั้น เมอื่ อย่หู า่ งจากสถานีฐาน โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ีจะตอ้ งสง่ สญั ญาณไปดว้ ยกาลังสง่ สงู

ระบบโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทีแ่ บบเซลลูลาร์

จะใช้วิธกี ารแบง่ สถานฐี านที่มีกาลงั สงู แบ่งออกเป็นสถานีฐาน ย่อย ๆ ทีม่ ีกาลงั สง่ ต่า แลว้ แบ่งพื้นที่กันดูแลเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ ซงึ่ มลี ักษณะคล้ายรวงผง้ึ (Cellular)

ภาพระบบเครือขา่ ยโทรศพั ท์เคลื่อนที่ ทม่ี กี ารรบั ส่งคล่นื โทรศัพท์ระหว่างเครื่อง 2 เคร่อื งโดยมีสถานีฐานและมผี ู้ ใหบ้ รกิ ารแม่ขา่ ยเปน็ ตวั ควบคุมสัญญาณรับและสง่

การรับ – สง่ คลื่นสัญญาณวิทยใุ นระบบ GSM

ในช่วงเริม่ แรกน้นั ได้มีการกาหนดช่วงความถ่ีให้ระบบ โทรศพั ท์เคล่อื นท่ี GSM 900 สาหรับใช้งานไวท้ ้งั หมด 50 MHz ในย่านความถ่ี 890 – 915 MHz และ 935 – 960 MHz

ภายในแบนดว์ ิดธ์ขนาด 25 MHz ของการส่งข้อมลู แต่ ละทศิ ทางน้ี GSM ได้แบง่ จานวนชอ่ งของคล่ืนพาหไ์ ว้ทง้ั หมด 124 ชอ่ ง โดยแตล่ ะช่องมีความถ่หี ่างกนั เท่ากับ 200 kHz ลักษณะการแบ่งช่องลักษณะการแบ่งชอ่ งสญั ญาณแบบนี้มี ช่อื เรียกวา่ Frequency Division Multiple Access (FDMA) และในแตล่ ะคลน่ื พาหใ์ ชส้ ง่ สญั ญาณไดท้ ั้งหมด 8 ไทม์สลอ๊ ต โดยวธิ ีน้เี รียกวา่ Time Division Multiple Access (TDMA) ดังนั้นจะเหน็ ว่า GSM อาศัยทั้งวิธี FDMA และ TDMA

1. กาลงั ส่งของ

ขอบเขตในการติดตอ่ โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นที่

กับ

สถานฐี านของ

โทรศพั ท์ 2. ตาแหน่งของ

เคล่ือนที่ (Range of Mobile โทรศัพทเ์ คลือ่ นท่ี

Station)

สถานฐี าน (Base Station)

สถานฐี านประกอบด้วย

1. อุปกรณ์เกย่ี วกับระบบไฟฟา้

2. อปุ กรณ์เกี่ยวกับการเตอื นสัญญาณ (Alarm Equipment)

3. อุปกรณ์เกี่ยวกบั คลนื่ วทิ ยุ (Radio Equipment) 4. อุปกรณ์เกี่ยวกับสายอากาศ (Antenna)

สว่ นของสถานีฐาน (Base Station Subsystem)

Base Station Subsystem (BSS) ประกอบดว้ ย 2 สว่ นหลัก คือ Base Transceiver Station (BTS) และ Base Station Controller (BSC) ส่วนของ BTS ทาหนา้ ท่ีตดิ ตอ่ กบั เครื่องโทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี (MS) กลุม่ ของ BTS ที่ครอบคลุมพื้นที่ หลาย ๆ เซลลจ์ านวนหน่ึง จะอย่ภู ายใตก้ าร ดแู ลของ BSC หนง่ึ ตัว โดยปกติ BSC หน่งึ ตวั จะสามารถดูและควบคมุ BTS ได้จานวนมากถึงหลายสบิ หรอื หลายรอ้ ยชดุ

ระบบเนต็ เวิร์คและสวิตช่ิง (Network and Switching Subsystem)

Network and Switching Subsystem (NSS) ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ Mobile Services Switching Center (MSC) และฐานข้อมูลสาหรบั การจดั การกบั การใช้งานของผู้ใช้บรกิ าร

สาหรับข้อมูลภายใน NSS ประกอบด้วยส่วน สาคัญ 3 สว่ นหลกั คอื

1. Home Location Register (HLR) เป็นฐานข้อมลู ท่ี ทาหนา้ ที่เกบ็ ข้อมลู ต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับผใู้ ช้บริการ 2. Authentication Centre (AUC) เป็นฐานขอ้ มลู ที่เก็บขอ้ มลู ท่ีเปน็ ความลบั 3. Visitor Location Register (VLR) เป็น ฐานขอ้ มูลท่อี ย่คู กู่ บั MSC หน่งึ ชุดหรือกลุม่ ของ MSC จานวนหนึ่ง

ระบบปฏิบัตกิ าร (Operation Subsystem)

Operations and Maintenance Centre (OMC) ซึง่ มีหนา้ ทห่ี ลักในการ จัดการเร่ืองการปฏบิ ตั กิ ารของระบบ โดยรวม การจัดการกบั ปัญหาของ อปุ กรณบ์ างส่วนทอ่ี าจเกิดความเสียหาย การปรบั ตัง้ คา่ ต่าง ๆ ภายในระบบให้ เหมาะสม การจดั การเรื่องสมาชกิ ผู้ใชบ้ ริการของระบบซ่ึงรวมไปถงึ การคิด ค่าบริการและออกบิลเกบ็ ค่าบริการ การ ทางานของ OMC สว่ นใหญ่แล้วจาตอ้ งมี การติดต่อสอื่ สารกับฐานขอ้ มูล HLR เสมอ

เซลลไ์ ซท์ (Cell Site) เสาเครือขา่ ยของ โทรศพั ท์เคลื่อนที่

โครงสรา้ งเครือขา่ ย (Network Structure) พนื้ ที่ (Areas)

PLMN (Public Land Mobile Network) หมายถงึ โครงขา่ ยท้งั หมดของ โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ Cellular ไม่รวม PSTN ซงึ่ ทกุ ๆโครงข่ายจะสามารถแบ่งออกเปน็ Area ขนาด ต่าง ๆ กัน

Cell หมายถึง บรเิ วณทค่ี รอบคลมุ โดย สถานฐี าน แบง่ ออกได้ 2 แบบ คือ

1. Omnidirectional Cell 2. Sector Cell

หลักการ Frequency Reuse คอื การนาความถีท่ ่ีใชก้ ับ Cell หนงึ่ แลว้ เอา

กลบั มาใชก้ บั Cell อื่น โดยมีระยะห่างกัน พอสมควร เพือ่ ไม่ให้เกดิ การ Interference ระยะห่างระหว่าง Cell ท่ใี ชค้ วามถ่เี ดยี วกันนี้ เรียกวา่ Reuse Distance

หลกั การ Frequency Reuse

เซลล์ไซท์ (Cell Site)

เปน็ ชอ่ื เรยี กสถานฐี านทีด่ แู ลพ้นื ท่ี การให้บรกิ ารของโทรศัพทเ์ คลอื่ นท่ี เซลลไ์ ซท์แบ่งออกเปน็ 3 ชนิด ดังน้ี

1. มาโครเซล(Macrocells) 2. ไมโครเซลล์(Microcells) 3. พกิ โคเซลล์ (Pixcocells)

บทท่ี 3 ระบบโทรศัพทเ์ คล่ือนท่ใี หม่

ระบบเซลลูลาร์

คอื ระบบของโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ซ่งึ ใช้เทคโนโลยี การสือ่ สารไร้สายเปน็ สาคญั มีการจัดสรรช่วง ความถี่เฉพาะสาหรบั ระบบและมีการประยุกตใ์ ช้ ความถี่ซ้าหลาย ๆ ชุด โดยจดั สรรลงบนพ้นื ท่ี ใหบ้ ริการตา่ ง ๆ กนั ซ่งึ พื้นท่ีใหบ้ ริการดงั กลา่ วจะ ถูกเรียกว่า เซลล์ (Cell)

ภาพแสดงการใช้ความถ่ีของ ระบบเซลลลู ่าร์ในแต่ละเซลล์

ภาพแสดง ชอ่ งสญั ญาณระหว่าง สถานฐี านกับตัวเครอ่ื ง

โมบายล์

โครงสร้างพื้นฐานของระบบเซลลลู าร์ (Cellular Mobile Structure)

สายอากาศ (Antenna)

ผูผ้ ลิตตวั เครือ่ งพัฒนารปู แบบของ สายอากาศสาหรบั ตวั เครอื่ งออกมาเป็น จานวนหลายรูปแบบ แต่สายอากาศที่ สาคญั กค็ ือสายอากาศ ที่ตัง้ อยู่เหนอื สถานฐี าน

ตัวเครอ่ื งโมบายล์ (Mobile Station)

คอื อุปกรณต์ ่าง ๆ ทใี่ ชใ้ นการ ติดต่อสอื่ สารในระบบเซลลูลาร์

สถานฐี าน (Base Station or Base Transceiver Station)

ทาหน้าทเ่ี ชือ่ มตอ่ สญั ญาณระหว่าง สว่ นควบคุมสถานฐี านกบั ตวั โมบายล์ โดยจะมหี นว่ ยควบคมุ เช่นกัน มวี งจร อิเลก็ ทรอนิกส์สาหรับประมวลผล สัญญาณคล่นื วทิ ยุ มรี ะบบ สายอากาศซึง่ ตอ่ ออกมาจากสว่ น ควบคมุ คลืน่ วทิ ยุมีชอ่ งตอ่ กับ เทอร์มนิ ลั เพือ่ ใชใ้ นการควบคมุ และ แกไ้ ขการติดตั้งอุปกรณ์แหลง่ จา่ ยไฟ ของสถานีฐานมีอยู่ 2 ระบบเป็นระบบ จา่ ยไฟฟ้าจากไฟฟ้าตามบา้ นธรรมดา และระบบแบตเตอรใ่ี นยามฉกุ เฉนิ

ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์แบบตา่ ง ๆ

1. โทรศัพทเ์ ซลลลู าร์ระบบ NMT (Nordic Mobile Telephone) 2. โทรศพั ทเ์ ซลลูลารร์ ะบบ AMPS (Advance Mobile Phone System)

3. โทรศพั ท์เซลลลู าร์ระบบ TACS (Total Access Communication System) 4. โทรศพั ท์เซลลูลาร์ระบบ C-450

5. โทรศัพทเ์ ซลลลู ารร์ ะบบ GSM (Global System for Mobile Communication) 6. โทรศพั ทเ์ ซลลลู าร์ระบบ DCS (Digital Cellular System)

การมอดเู ลตสัญญาณอนาลอ็ ก

วิธีการ มอดูเลตสัญญาณอนาล็อก เพ่ือส่งผา่ นไปใน ช่องทางส่อื สารอนาล็อกน้ันมี 3 วิธี ด้วยกันคือ 1.การมอดเู ลตทางแอมปลจิ ูด (Amplitude Modulation, AM) 2.การมอดเู ลตทางความ ถี่ (Frequency Modulation, FM) 3.การมอดเู ลตทางเฟส(Phase Modulation, PM) การมอดเู ลตทางแอมปลิจูด(AM)

การแปลงสญั ญาณดิจติ อลเป็นสญั ญาณ อนาล็อก(D/A) การมอดเู ลตเชิงเลขทางแอมปลิจูด ( ASK)

การมอดูเลตเชงิ เลขทางความถ่ี ( FSK )

การมอดูเลตเชงิ เลขทางเฟส ( PSK )

การแปลงสัญญาณอนาลอ็ กเป็น สัญญาณดจิ ิตอล(A/D)

เทคนคิ ใน การเปล่ยี นแปลงสญั ญาณอนาล็อกเปน็ สญั ญาณดจิ ิตอลแบ่งออกเปน็ 2 วิธี คือ

1. การมอดเู ลตทางแอมปลจิ ดู ของพสั สห์ รอื PAM

(Pulse Amplitude Modulation)

2. การมอดเู ลตแบบรหัสพลั ส์หรือ PCM (Pulse Amplitude Modulation)

บทที่ 4 ผใู้ หบ้ ริการเครอื ข่ายโทรศพั ท์ (Operator)

เครอื ขา่ ยของระบบโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่

1. โทรศัพท์เคล่อื นทที่ ร่ี บั ไดช้ ่องสัญญาณเดยี ว เรียกว่า Single Band 2. โทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ีทร่ี ับได้ 2 ช่องสญั ญาณ เรียกวา่ Dual Band 3. โทรศัพท์เคลอื่ นทท่ี ่รี บั ได้ 3 ช่องสัญญาณ เรยี กวา่ Tri Band 4. โทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ทร่ี ับได้ 4 ชอ่ งสญั ญาณ เรียกว่า Quad Band

การให้บริการโทรศพั ท์เคลือ่ นท่ี

การให้บริการรบั สง่ สัญญาณ โทรศัพท์เคลื่อนท่ใี นประเทศไทย ประกอบดว้ ยระบบตา่ ง ๆ หลงั จาก ที่ กรมไปรษณียโ์ ทรเลขได้อนุมัติคลนื่ ความถีว่ ทิ ยใุ ห้องค์การโทรศัพทแ์ หง่ ประเทศไทย (ทศท.) ซงึ่ ก็คอื บรษิ ทั ทศท. คอร์ปอเรช่ันจากดั (มหาชน) ในปัจจุบัน เพ่อื ดาเนนิ ธรุ กจิ การให้บรกิ าร โทรศพั ทเ์ คล่ือนทร่ี ะบบ NMT (Nordic Mobile Telephone) ความถ่ี 470 เมกกะเฮิตรซ์ เมือ่ เดอื นกนั ยายน พ.ศ.2529 ตง้ั แต่นนั้ เปน็ ต้นมาธุรกิจ โทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ในประเทศไทยก็ได้ เจรญิ เตบิ โตขึน้ มาตามลาดับ

ผใู้ หบ้ รกิ ารโทรศพั ท์เคลอ่ื นทใี่ นประเทศไทย

1. บรษิ ัท ทีโอที จากดั (มหาชน) 2.. บริษทั กสท โทรคมนาคม จากดั (มหาชน) 3. ระบบดีเทค (DTAC : Total Access Communication) 4. ระบบ เอไอเอส (AIS : Advance Info Service) 5. ระบบ ทรมู ูฟ (True move) 6. ระบบไทยโมบาย (Thai Mobile) 7. บริษทั ฮัทชสิ นั ซีเอที ไวรเ์ ลส มัลติมเี ดยี จากดั

บทที่ 5 ภาคการทางานของโทรศพั ท์มือถือ

ภาคนเ้ี ป็นภาคทเี่ ก่ียวกบั การทางาน ในส่วนของระบบ Main ของ เครื่องโทรศัพทท์ ้งั หมด พวกการเปดิ ปิดเครือ่ ง การประมวลผลของเคร่ือง ในสว่ นต่างๆ การทางานในสว่ นน้ี สาคญั มาก เพราะเปน็ ภาคพน้ื ฐาน ทงั้ หมด ถา้ ภาคน้ที างานไม่สมบูรณ์ จะส่งผลให้ภาคอืน่ ๆไมส่ ามารถทางาน ได้

ภาคโครงสร้างหลกั BASEBAND ประกอบด้วย

ไอซีที่ช่ือว่า UI หรือ USER INTERFACE เป็นตวั ควบคุมสง่ั งาน

1. UI หรือ USER INTERFACE 2. แฟลชคอนเนคเตอรF์ LASHCONNECTOR 3 HEAD SET และ CHARGER CONNECTOR ชดุ หูฟัง หรือชุดเชื่อมตอ่ ระหวา่ ง โทรศัพทเ์ คลอื่ นที่กับสมอลล์ทอล์ค ชุดชารจ์ หรือชดุ เชอ่ื มต่อระหว่าง โทรศพั ท์เคล่อื นที่กบั อแดปเตอร์หรือชาร์จเจอร์

4. แบตเตอร่ี BATTERY แหล่งจ่ายพลังงาน หลกั สาหรับวงจรในโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทที่ งั้ หมด

5. CHAPS ไอซี ชารจ์ ทีค่ วบคุมการจา่ ยกระแส และประจไุ ฟฟา้ ให้ กับ แบตเตอรี่ถูกควบคุมโดย ไอซีทีช่ ื่อว่า CCON และ CPU

6. SIM CARD เปน็ สว่ นหนงึ่ ของอปุ กรณ์ โทรศัพท์เคลอื่ นทภ่ี ายในเป็น CHIP IC MEMORY ขนาดเล็ก

7. COBBA เปน็ ASIC ไอซี หรอื APPLICATION SPECIFIC INTEGRATED CIRCUIT ทาหนา้ ท่ี เชอ่ื มโยงหรือ INTERFACE ระหวา่ ง ภาคเบสแบนด์ กบั ภาควทิ ยุ แปลงสัญญาณเสียง

9. CCONT หนา้ ท่ีหลักๆ คอื การจ่ายแรงดนั ไฟหรือ กระจายแรงดนั ไฟไปยังภาคตา่ งๆ ทง้ั หมด

10. ไมโครโฟน MICROPHONE ทาหนา้ ที่แปลงความถี่ เสยี งใหเ้ ป็นสัญญาณไฟฟา้ หรือ AF (AUDIO FREQUENCY)

11. หูฟังหรือลาโพง EARPIECE , SPEAKER ทา หนา้ ท่แี ปลงสัญญาณไฟฟ้าใหเ้ ป็นความถเี่ สียง หรือ AF โดยผา่ นวงจรขยายเสยี งหรอื AMPLIFIER

12. ปมุ่ กด KEY PAD ทาหน้าทม่ี อดูเลท

13. จอ LCD ทาหนา้ ทแี่ สดงผล

บทท6ี่ ภาควิทยภุ าค RF หรือภาค Radio Frequency

การผสมสญั ญาณเสียงกับสญั ญาณวิทยุ

เพราะสัญญาณวิทยุเปน็ สญั ญาณที่เรา สามารถสง่ ไปไกลเทา่ ไรกไ็ ด้ตามทเ่ี ราต้องการ เมือ่ เราทาการนาสญั ญาณเสยี งทเ่ี ปน็ สัญญาณอนาลอกมาทาการผสมกบั สัญญาณ วทิ ยแุ ลว้ ก็จะทาใหเ้ สียงที่เรา พูดน้นั ออกไปไดไ้ กล สามารถไดย้ นิ เสียงอยา่ ง ชัดเจน เงอ่ื นไขนเี้ รียกวา่ “ การผสม สญั ญาณ “ หรือ การ MOD ( Modulator )

ปกติความถี่วทิ ยุนน้ั เราสามารถกาหนดความถว่ี ทิ ยุขนึ้ มาเองได้ โดยความถีท่ ไ่ี ดจ้ ะต้องมีตวั กาเนดิ ความถีก่ อ่ น ซึง่ ตวั กาเนิดความถ่ี นัน้ เรียกว่า OSC หรอื Oscillator ตวั OSC เปน็ วงจรผลติ ความถี่ ประเภทหน่งึ ถา้ อยู่ในวงจรของโทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี กค็ ือตวั VCO เม่อื เรามสี รา้ งความถ่ีวิทยขุ ึน้ มาแลว้ กจ็ ะนาความถน่ี ั้น ไปผสมกบั สญั ญาณเสียงที่เราพดู หรอื สญั ญาณอนาล็อก สรปุ วา่ เงือ่ นไขน้กี ค็ ือ “ ต้องมีตัวผลติ ความถี่ “

วงจรผลติ ความถีว่ ทิ ยุ ( เพื่อจะนาสัญญาณ วิทยุไปผสมกบั สัญญาณอนาล็อก )

1. HAGAR เป็นไอซีโปรเซสเซอร์ ซง่ึ รวมเอาภาครบั ภาคสแ่ ละ ภาคสังเคราะหค์ วามถ่ี หรอื ภาคผลติ ความถที่ อ้ งถนิ่ เขา้ ดว้ ยกัน

2. VCO (VOLTAGE CONTROL OSCILLATOR) วงจร แรงดนั ไฟควบคมุ การผลิตความถ่ี หรือความหมายอีกนยั หนึง่ คือ ความถ่ที ีเ่ กดิ จากการจา่ ยแรงดนั ไฟซึ่งแรงดันไฟเปล่ียนแปลงไป ความถ่ีก็จะเปลยี่ นแปลงด้วย

3. 26MHzหรือ VCTCXO ทาหน้าท่ี 2 หน้าที่ ผลิต สัญญาณนาฬิกา 26 MHz สง่ เขา้ ไปหาร 2 ใน HAGAR ได้ 13 MHz แลว้ จา่ ยให้กบั CPU หรอื เรียกวา่ SYSTEM CLOCK (RFC) ผลติ สญั ญาณนาฬิกาเพ่ือเป็นความถี่ อ้างองิ หรือ FREQUENCY REFERENCE ใหว้ งจร เฟส ล็อก ลูป PLL ใน HAGAR

4. สวิทซแ์ อนเทนน่า SWITCH ANTENNA หรอื DIPLEXER ทาหน้าที่แยกสญั ญาณระหวา่ งระบบ GSM และระบบ PCN,DCS หรือระบบ 1800 และ แยกสัญญาณจากภาครับ RX และ ภาคส่ง TX ออกจากกนั

5. ฟลิ เตอร์ หรอื แบนดพ์ าสฟิลเตอร์ หรือ SAW ฟิลเตอร์ SAW หรือ SURFACE ACOUSTIC WAVE เปน็ ฟลิ เตอร์ที่มี 2 ระบบ อยู่ใน ตัวเดียวกนั หรอื เรียกอีกชื่อว่า DUAL SAW FILTER ทาหนา้ ที่กรองสัญญาณและกาหนด ความถีใ่ ห้ตรงตามกาหนด

6. LNA หรือ LOW NOISE AMPLIFIER เป็น วงจรขยายสัญญาณรบกวนต่า ซึ่งเป็น ทรานซิสเตอร์

7. บาลัน BALUN TRANSFROMER คอื หม้อแปลงเกี่ยวกับความถี่ ทที่ าหนา้ ที่ กาหนดความสมดลุ ของสัญญาณให้เปน็ บวกและลบ เพือ่ ใหม้ ีความเหมาะสมท้งั สัญญาณทางด้านเขา้ และออก