Downdload ธ ม ppt พ นหล งส ดำสน ท

รายงานเชิงวชิ าการ เร่ือง สามคั คีเภทคาฉันท์ โดย นาย เกรยี งไกร กาลสูงเนนิ นางสาว กัญญาณัฐ อินทรีย์วงศ์ นางสาว ปนัดดา โสตถชิ ัยอาภรณ์ นางสาว สิราวรรณ อู๋หนู นางสาว อภชิ ญา เอีย่ มสาอางค์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๒ เสนอ คณุ ครู ณัฐยา อาจมงั กร รายงานเชิงวิชาการน้ีเป็ นส่วนหนึง่ ของวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน(ท๓๓๑๐๑) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม

รายงานเชิงวชิ าการ เร่ือง สามคั คีเภทคาฉันท์ โดย นาย เกรยี งไกร กาลสูงเนนิ นางสาว กัญญาณัฐ อินทรีย์วงศ์ นางสาว ปนัดดา โสตถชิ ัยอาภรณ์ นางสาว สิราวรรณ อู๋หนู นางสาว อภชิ ญา เอีย่ มสาอางค์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖/๒ เสนอ คณุ ครู ณัฐยา อาจมงั กร รายงานเชิงวิชาการน้ีเป็ นส่วนหนึง่ ของวิชาภาษาไทยพ้นื ฐาน(ท๓๓๑๐๑) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๖ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม

ก คานา รายงาน เรื่อง สามคั คเี ภทคาฉันท์ เลม่ น้ีจดั ทาข้นึ เพื่อรายงานผลการศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่ือประกอบ การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑) ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศกึ ษา ๒๕๖๖ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๖ ในการเรียนรู้การวเิ คราะหค์ ุณค่าของวรรณคดไี ทย ไดแ้ ก่ การวเิ คราะห์จุดประสงค์ ในการแต่งสามคั คเี ภทคาฉันท์ ทม่ี าของเร่ืองสามคั คีเภทคาฉันท์ ลกั ษณะคาประพนั ธ์ การถอดคาประพนั ธ์ ในเรื่องสามคั คีเภทคาฉันท์ และการอธิบายคาศพั ทย์ ากในเร่ืองสามคั คีเภทคาฉนั ท์ คณะผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ รายงาน เรื่อง สามคั คเี ภทคาฉันท์ เลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์ แกผ่ ทู้ ี่สนใจศึกษาในเรื่อง สามคั คีเภทคาฉนั ท์ หากมขี อ้ ผิดพลาดประการใด คณะผจู้ ดั ทา ขออภยั ไว้ ณ ท่นี ้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา ๐๒/๐๗/๒๕๖๖

สารบญั ข คานา หน้า สารบญั สามคั คเี ภทคาฉันท์ ก ข ผแู้ ตง่ เรื่องสามคั คเี ภทคาฉันท์ จดุ ประสงคใ์ นการแตง่ เร่ืองสามคั คเี ภทคาฉันท์ 1 ทมี่ าของเรื่องสามคั คเี ภทคาฉันท์ 1 ลกั ษณะคาประพนั ธ์เรื่องสามคั คีเภทคาฉันท์ 1 เรื่องย่อกอ่ นบทเรียนสามคั คเี ภทคาฉันท์ 2 การถอดคาประพนั ธ์เร่ืองสามคั คีเภทคาฉันท์ 5 การอธิบายคาศพั ทย์ ากในเรื่องสามคั คีเภทคาฉนั ท์ 6 คุณค่าวรรณคดีในเรื่องสามคั คีเภทคาฉันท์ 40 บรรณานุกรม 43 45

1 สามคั คีเภทคาฉันท์ ผู้แต่ง ผแู้ ตง่ ของเร่ืองสามคั คีเภทคาฉันทื คือ นายชิต บุรทตั เป็นกวีในสมยั รัชกาลที่ ๖ เป็นผมู้ ฝี ีมือทางการประพนั ธ์ร้อยกรอง โดยเฉพาะโคลงและฉันท์ ลงพิมพใ์ นหนงั สือในสมยั น้ัน มนี ามแฝง คือ เจา้ เงาะ เอกชน และ แมวดาว ทา่ นแต่งสามคั คเี ภทคาฉันท์ เมอ่ื อายุเพยี ง ๒๐ ปี เศษ โดยในเร่ืองสามคั คีเภทคาฉันทน์ ้ีเป็นทจี่ ดจาของนกั อา่ นท้งั หลาย เนื่องจากมีคณุ คา่ ทางวรรณศลิ ป์ ของวรรณกรรมที่เป็นที่ประจกั ษอ์ ยา่ งยิง่ จุดประสงค์ในการแต่งเร่ืองสามัคคเี ภทคาฉันท์ สามคั คีเภทคาฉันท์ นาย ชิต บรุ ทตั แต่งข้นึ เพือ่ มงุ่ สรรเสริญธรรมแห่งความสามคั คีเป็นแกน่ เร่ือง เพื่อมงุ่ ช้ีความสาคญั ของการรวมเป็นหมคู่ ณะ เป็นน้าหน่ึงใจเดียวกนั เพ่ือป้องกนั รักษาบา้ นเมือง ให้มีความเป็นปึ กแผ่น ในสมยั รัชกาลท่ี ๖ เกดิ วกิ ฤตการณ์ กบฎ ร.ศ. ๑๓๐ และสงครามโลกคร้ังที่ ๑ ส่งผลกระทบตอ่ ความมน่ั คงของบา้ นเมอื ง ทาใหเ้ ก็ดวรรณคดปี ลกุ ใจใหร้ กั ชาติข้ึนเป็นจานวนมาก ท่มี าของเร่ืองสามัคคเี ภทคาฉันท์ นายชิต บรุ ูทตั จึงแตง่ เร่ืองน้ีข้ึนใน พ.ศ. ๒๔๕๗ เดมิ เป็นนิทานสุภาษิตทีแ่ ปลมาจากภาษาบาลี ในอรรถกถาสุมงั คลวลิ าสินี ทีฆนิกาย มหาวรรค และ อาศยั เคา้ คาแปลของเรื่องสามคั คีเภท มาแตง่ เป็นคาฉันท์ เพ่อื แสดงความสามารถในเชิงกวีให้เป็นที่ปรากฏ เป็นพทิ ยาภรณ์ประดบั บา้ นเมืองและนาเคา้ เรื่องสามคั คเี ภทคาฉันทม์ าจากนิทานสุภาษิตเรื่องหน่ึง ในหนงั สือพมิ พร์ ายคาบช่ือ “ธรรมจกั ษ”ุ หนงั สือรุ่นแรกของมหามกฎุ ราชวิทยาลยั เป็นหนงั สือเรียบเรียงจากภาษาบาลี ซ่ึงมีเรื่องราวอยู่ในมหาปรินิพพานสูตร และอรรถกถาสุมงั คลวิลาสินี โดย ชิต บรุ ทตั ไดแ้ ต่งเตมิ ความบา้ งตามลีลาฉนั ท์

2 ลกั ษณะคาประพันธ์เร่ืองสามคั คีเภทคาฉันท์ ขอ้ บงั คบั ของคา่ ประพนั ธป์ ระเภทฉนั ท์ คือ คาครุและลหุ ครุ คือค่าทีเ่ สียงหนกั คาทปี่ ระสมกบั สระเสียงยาว มีตวั สะกด เเละคาทปี่ ระสมกบั อา ไอ โอ เอา ถือเป็นครุ เพราะมตี วั สะกดประสมอย่เู ชน่ อา มาจาก อมั ไอ มาจาก อยั และ เอา มาจาก อวั เป็นตวั สะกดของ(อ+อะ+ว ) ลหุ คอื คาเสียงเบา คาทีป่ ระสมกบั สระเสียงส้ัน ไมม่ ตี วั สะกด เชน่ อะ จิ สี ก็ สามคั คเี ภทคาฉันท์ แต่งเป็นบทรอ้ ยกรอง โดยนาฉนั ทช์ นิดต่างๆ มาใชส้ ลบั กนั อยา่ งเหมาะสมกบั เน้ือหา แตล่ ะตอน ประกอบดว้ ยฉันท์ ๑๘ ชนิด กาพย์ ๒ ชนิด คอื ๑. สัททุลวกิ กฬี ิตฉนั ท์ ๑๙ เป็นฉนั ทท์ ีม่ ลี ลี าการอ่านสง่างาม เคร่งขรึม มีอานาจดจุ เสือผยอง ใชแ้ ตง่ สาหรับบทไหวค้ รู บทสดดุ ี ยอพระเกยี รติ ๒. วสนั ตดลิ กฉนั ท์ ๑๔ เป็นฉันทท์ ีม่ สี ีลาไพเราะ งดงาม เยือกเยน็ ดจุ เมด็ ฝน ใชส้ าหรบั บรรยายหรือ พรรณนาชื่นชมท่สี วยงาม ๓. อุปชาตฉิ นั ท์ ๑๑ นิยมแตง่ สาหรบั บทเจรจาหรือบรรยายความเรียบ ๆ ๔. อีทิสังฉันท์ ๒๑ เป็นฉนั ทท์ ี่มจี งั หวะกระแทกกระท้นั เกร้ียวกราด โกรธแคน้ และอารมณร์ ุนแรง เชน่ รกั มาก โกรธมาก ต่ืนเตน้ คกึ คะนอง หรือพรรณนาความสบั สน ๕. อินทรวิเชียรฉนั ท์ ๑๑ เป็นฉนั ทท์ มี่ ีสีลาสวยงามดุจสายฟ้าพระอนิ ทร์ มีลีลาอ่อนหวาน ใชบ้ รรยาย ความหรือพรรณนาเพอ่ื โนม้ นา้ วใจใหอ้ อ่ นโยน เมตตาสงสาร เอ็นดู ใหอ้ ารมณ์เหงาและเศร้า ทีม่ า : https://www.homelittlegirl.com/index.php?topic=14038.0

3 ฉันทลกั ษณข์ องอินทรวเิ ชียรฉันท์ ๑๑ ๑. บทหน่ึงมี ๒ บาท บาทหน่ึงมี ๒ วรรค วรรคหนา้ มี ๕ คา วรรคหลงั มี ๖ คา รวมบาทหน่ึงมี ๑๑ คา จึงเรียกว่า ฉันท์ ๑๑ ๒. ครู-ลหุ : คาท่ี ๓ ของวรรคหนา้ กบั คาที่ ๑ ที่ ๒ และที่ ๔ ของวรรคหลงั เป็นลหุ นอกน้นั เป็นครุ ๓. ส่งสมั ผสั แบบกาพย์ คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๑ สมั ผสั กบั คา่ ท่สี ามของวรรคที่ ๒ (เป็นสัมผสั ไมบ่ งั คบั แตถ่ า้ มจี ะทาให้ฉันทบ์ ทน้นั ไพเราะย่งิ ข้นึ ) และคา่ สุดทา้ ยของวรรคที่ ๒ สมั ผสั กบั คาสุดทา้ ยของวรรคที่ ๓ สัมผสั ระหวา่ งบท คอื คาสุดทา้ ยของวรรคที่ ๔ ของบทแรก จะตอ้ งสัมผสั กบั คาสุดทา้ ยของวรรคท่ี ๒ ในบทถดั ไป ๖. วิชชุมมาลานนท์ ๘ หมายถึง ระเบียบแห่งสายฟ้า เป็นฉันทท์ ใ่ี ชใ้ นการบรรยายความ ท่ีมา : https://www.homelittlegirl.com/index.php?topic=14003.0

4 ฉนั ทลกั ษณข์ องวิชชุมมาลาฉันท์ ๘ (ประกอบดว้ ยครุลว้ น) ๑. หน่ึงบทมี ๔ บาท บาทละ ๘ พยางค์ แบง่ เป็น ๒ วรรค วรรคละ 4 พยางค์ ส่งสมั ผสั เเบบกลอน ๒. ลกั ษณะครุ ลหุ เหมอื นกนั ทกุ บาท คอื ครุ-ครุ-ครุ-ครุ ครุ-ครุ-ครุ-ครุ แบบกลอน ๗. อนิ ทรวงศฉ์ ันท์ ๑๒ เป็นฉนั ทท์ ่มี ีลีลาตอนทา้ ยไม่ราบเรียบคลา้ ยกลบทสะบดั สะบ้งิ ใชใ้ น การบรรยาย ความหรือพรรณนาความ ๘. วงั สฏั ฐฉนั ท์ ๑๒ เป็นฉันทท์ ่มี สี าเนียงอนั ไพเราะเหมือนเสียงปี่ ๙. มาลินีฉันท์ ๑๕ เป็นฉันทท์ ่ใี ชใ้ นการแต่งกลบทหรือบรรยายความทเี่ คร่งขรึม เป็นสง่า ๑๐. ภชุ งคประยาตฉันท์ ๑๒ เป็นฉนั ทท์ ่ีมีสีลางานสง่าดุจงเู ล้อื ย นิยมใชแ้ ต่งบททดี่ าเนินเรื่องอยา่ ง รวดเร็วและคึกคกั ๑๑. มาณวกฉนั ท์ ๘ เป็นฉันทท์ มี่ ีสีสาผาดโผน สนุกสนาน ร่าเริง และต่ืนเตน้ ดจุ ชายหนุ่ม ๑๒. อุเปนทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑ เป็นฉันทท์ ่ีมีความไพเราะใชใ้ นการบรรยายบทเรียบๆ ๑๓. สทั ธราฉนั ท์ ๒๑ มีความหมายวา่ ฉันทย์ งั ความเล่ือมใสใหเ้ กิดแกผ่ ฟู้ ัง จงึ เหมาะเป็นฉันท์ ท่ใี หส้ าหรับแต่งคานมสั การ อธิษฐาน ยอพระเกียรติ หรืออญั เชิญเทวดา ใชแ้ ตง่ บทส้นั ๆ ๑๔. สาลินีฉันท์ ๑๑ เป็นบทที่มคี าครุมาก ใชบ้ รรยายบททเ่ี ป็นเน้ือหาสาระเรียบ ๆ ๑๕. อปุ ัตานนั ท์ ๑๑ เป็นฉันทท์ ี่เหมาะสาหรบั ใชบ้ รรยายบทเรียบๆ แต่ไมใ่ คร่มีคนนิยมแตง่ มากนกั ๑๖. โตฏกฉันท์ ๑๒ เป็นฉนั ทท์ ี่มีลลี าสะบดั สะบิ้งเหมอื นประดกั แทงโค ใชแ้ ต่งกบั บททแี่ สดงความโกรธเคือง ร้อนรน หรือสนุกสนาน คกึ คะนอง ตืน่ เตน้ และเร้าใจ ๑๗. กมลฉันท์ ๑๒ หมายถึง ฉนั ที่มคี วามไพเราะเหมือนดงั ดอกบวั ใชก้ บั บททม่ี ีความตืน่ เตน้ เลก็ นอ้ ย และใชบ้ รรยายเร่ือง ๑๘. จติ รปทาฉนั ท์ ๘ เป็นฉันทท์ ี่เหมาะสาหรับบททน่ี ่ากลวั เอะอะ เกร้ียวกราด ต่ืนเตน้ ตกใจและกลวั ๑๙. กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ มขี อ้ บงั คบั ครุ ลหุ เพิ่มข้นึ มา ทาใหเ้ กดิ ความไพเราะมากยงิ่ ข้ึน เหมาะสาหรับขอ้ ความทคี่ ึกคกั สนุกสนาน โลดโผน ตืน่ เตน้ ๒๐. กาพยฉ์ บงั ๑๖ เป็นกาพยท์ ี่มีลลี าสง่างาม ใชส้ าหรบั บรรยายความงามหรือดาเนินเรื่องอย่าง รวดเร็ว

5 เร่ืองย่อก่อนบทเรยี นสามคั คเี ภทคาฉันท์ สมยั กอ่ นท่พี ระพุทธเจา้ จะปรินิพพานไมน่ านนกั พระเจา้ อชาตศตั รูทรงครองราชยส์ มบตั ิ ทีน่ ครราชคฤห์ แควน้ มคธ พระองคท์ รงมีวสั สการพราหมณ์ ผฉู้ ลาดและรอบรูศ้ ิลปศาสตร์ เป็นทปี่ รึกษาราชกจิ ทว่ั ไป ขณะน้นั ทรงปรารภจะแผ่พระราชอาณาเขตเขา้ ไปถงึ แควน้ วชั ชี แตก่ ริ่งเกรงวา่ มิอาจเอาชนะไดด้ ว้ ยการส่งกองทพั เขา้ รุกราน เน่ืองจากบรรดากษตั ริยล์ จิ ฉวมี คี วามสามคั คีสูง และการปกครองอาณาประชาราษฎ์รดว้ ยธรรม พระเจา้ อชาตศตั รูทรงหารือเรื่องน้ีเป็นการเฉพาะ กบั วสั สการพราหมณ์ จึงเห็นแจง้ ในอบุ ายจะเอาชนะ วนั หน่ึงพระเจา้ อชาตศตั รูเสดจ็ ออกว่าราชการ พรอ้ มพรงั่ ดว้ ยเสนาอามาตยช์ ้นั ผูใ้ หญ่ เมือ่ เสร็จวาระเรื่องอืน่ ๆลงแลว้ จึงตรสั ในเชิงหารือว่า หากพระองค์ จะยกทพั ไปปราบแควน้ วชั ชีใครจะเห็นคดั คา้ นประการใดวสั สการพราหมณ์ ฉวยโอกาสเหมาะกบั อุบายตน ทว่ี างไว้ กก็ ราบทลู ทว้ งวา่ เหน็ ทจี ะเอาชนะไมไ่ ดเ้ ลย เพราะกษตั ริยล์ ิจฉวที ุกองคล์ ว้ นผูกพนั เป็นกลั ยาณมติ ร อย่างมน่ั คง มคี วามสามารถในการศึกและกลา้ หาญ อกี ท้งั โลกจะตเิ ตียน หากฝ่ายมคธจงใจประทุษรา้ ย รุกรานเมอื งอน่ื ขอใหย้ บั ย้งั การทาศกึ เอาไวเ้ พอื่ ความสงบของประชาราษฎร์ พระเจา้ อชาตศตั รูทรง แสร้งแสดงพระอาการพิโรธหนกั ถึงข้นั รบั สั่งจะใหป้ ระหารชีวติ เสีย แต่ทรงเหน็ ว่าวสั สการพราหมณ์รับราชการมานาน จงึ ลดโทษการดูหม่นิ พระบรมเดชานุภาพคร้งั น้นั เพียงแค่ลงพระราชอาญาเฆ่ยี นตอี ย่างแสนสาหัสจนสลบไสล ถูกโกนหัวประจานและ เนรเทศออกไป จากแควน้ มคธ ข่าววสั สการพราหมณเ์ ดนิ ทางไปถงึ นครเวสาลี เมืองหลวงของแควน้ วชั ชี ทราบไปถึงพระกรรณของหมกู่ ษตั ริยล์ จิ ฉวี จงึ รบั สั่งใหเ้ จา้ พนกั งานตกี ลองสาคญั เรียกประชมุ ราชสภา ว่าควรจะขบั ไล่หรือเล้ียงเอาไวด้ ี ในทสี่ ุดทปี่ ระชุมราชสภาลงมตใิ หน้ าเขา้ เฝา้ เพือ่ หยงั่ ท่าทแี ละฟังคารมกอ่ น แตห่ ลงั จากกษตั ริยล์ ิจฉวีทรงซักไซ้ไล่เลียงดว้ ยประการตา่ งๆ ก็หลงกลวสั สการพราหมณ์ ทรงรบั ไวท้ าราชการในตาแหน่งอามาตยผ์ พู้ จิ ารณาพิพากษาคดแี ละต้งั เป็นครูฝึกสอนศลิ ปวทิ ยา แกร่ าชกมุ ารของเหลา่ กษตั ริยล์ จิ ฉวีดว้ ย

6 การถอดคาประพนั ธ์เร่ืองสามคั คีเภทคาฉันท์ ภชุ งคประยาต ฉันท์ • บทประพันธ์ ทิชงคช์ าตฉิ ลาดยล คะเนกลคะนึงการ กษตั ริยล์ ิจฉววี าร ระวงั เหือดระแวงหาย เหมาะแก่การณ์จะเสกสรร ปวตั น์วญั จโนบาย มลา้ งเหตพุ ิเฉทสาย สมคั รสนธ์ิสโมสร ถอดความได้ว่า พราหมฌผ์ ฉู้ ลาดคาดคะเนว่ากษตั ริยล์ จิ ฉวีวางใจคลายความหวาดระแวง เป็นโอกาสเหมาะท่จี ะเร่ิม ดาเนินการตามกลอุบายทาลายความสามคั คี • บทประพนั ธ์ ณวนั หน่ึงลถุ งึ กา ลศึกษาพชิ ากร กุมารลิจฉววี ร เสด็จพรอ้ มประชมุ กนั ตระบดั วสั สการมาร สถานราชเรียนพลนั ธแกลง้ เชิญกมุ ารฉนั สนิทหน่ึงพระองคไ์ ป ลุหอ้ งหับรโหฐาน ก็ถามการณ์ ณ ทนั ใด มลิ ้ีลบั อะไรในท กถาเช่นธปุจฉา ถอดความได้ว่า วนั หน่ึงเม่อื ถึงโอกาสที่จะสอนวิชา กมุ ารลิจฉวกี เ็ สดจ็ มาโดยพรอ้ มเพรียงกนั ทนั ใด วสั สการพราหมณก์ ็มาถงึ และแกลง้ เชิญพระกมุ ารพระองคท์ สี่ นิทสนมเขา้ ไปพบในหอ้ งส่วนตวั แลว้ ทูลถาม เร่ืองที่ไม่ใช่ความลบั

7 ภุชงคประยาต ฉันท์ • บทประพนั ธ์ จะถูกผิดกระไรอยู่ มนุษยผ์ กู้ ระทานา และค่โู คกจ็ งู มา ประเทยี บไถมใิ ชห่ รือ กมุ ารลจิ ฉวขี ตั ติย์ กร็ บั อรรถอออือ กสิกเขากระทาคือ ประดุจคาพระอาจารย์ กเ็ ท่าน้นั ธเชิญให้ นิวตั ในมิชา้ นาน ประสิทธ์ิศิลป์ ประศาสนส์ าร สมยั เลกิ ลุเวลา ถอดความได้ว่า ดงั เช่นถามว่า ชาวนาจงู โคมาคหู่ น่ึงเพื่อเทียมไถใชห่ รือไม่ พระกุมารลิจฉวีก็รับสงั่ เหน็ ดว้ ย วา่ ชาวนาก็คงจะกระทาดงั คาของพระอาจารย์ ถามเพยี งเทา่ น้นั พราหมณก์ เ็ ชิญให้เสดจ็ กลบั ออกไป • บทประพนั ธ์ อุรสลจิ ฉวสี รร พชวนกนั เสดจ็ มา และต่างซักกุมารรา ชองคน์ ้นั จะเอาความ พระอาจารยส์ ิเรียกไป ณขา้ งในธไต่ถาม อะไรเธอเสนอตาม วจีสัตยก์ ะส่าเรา กมุ ารน้นั สนองสา รวากยว์ าทตามเลา เฉลยพจน์กะครูเสา วภาพโดยคดมี า ถอดความได้ว่า คร้ันถงึ เวลาเลกิ เรียนเหลา่ โอรสลจิ ฉวีกพ็ ากนั มาซกั ไซพ้ ระกุมารวา่ พระอาจารยเ์ รียกเขา้ ไปขา้ งใน ไดไ้ ต่ถามอะไรบา้ ง ขอใหบ้ อกตามความจริง พระกุมารพระองคน์ ้นั กเ็ ล่าเรื่องราวทีพ่ ระอาจารยเ์ รียกไปถาม

8 ภุชงคประยาต ฉันท์ • บทประพันธ์ กุมารอนื่ กส็ งสยั มิเช่ือในพระวาจา สหายราชธพรรณนา และตา่ งองคก์ ็พาที ไฉนเลยพระครูเรา จะพดู เปลา่ ประโยชนม์ ี เลอะเหลวนกั ละลว้ นนี รผลเห็นบเป็ นไป เถอะถงึ ถา้ จะจริงแม้ ธ พูดแทก้ ท็ าไม แนะชวนเขา้ ณขา้ งใน จะถามนอกบยากเยน็ ถอดความได้ว่า แตเ่ หลา่ กุมารสงสยั ไมเ่ ชื่อคาพดู ของพระสหาย ตา่ งองคก์ ว็ จิ ารณ์วา่ พระอาจารย์ จะพดู เรื่องเหลวไหลไร้สาระเช่นน้ีเป็นไปไมไ่ ด้ และหากวา่ จะพดู จริง เหตุใดจะตอ้ งเรียกเขา้ ไปถามขา้ งในหอ้ ง ถามขา้ งนอกกไ็ ด้ • บทประพันธ์ ชะรอยวา่ ทิชาจารย์ ธคดิ อา่ นกะทา่ นเป็น รหัสเหตปุ ระเภทเหน็ ละแน่ชดั ถนดั ความ และท่านมามุสาวาท มิกลา้ อาจจะบอกตา พจีจริงพยายาม ไถลแสร้งแถลงสาร ถอดความได้ว่า สงสัยว่าท่านอาจารยก์ บั พระกุมารตอ้ งมคี วามลบั แน่นอน แลว้ มาพูดโกหก ไม่กลา้ บอกความจริงแกลง้ พดู ไปต่างๆนานา

9 ภุชงคประยาต ฉันท์ • บทประพนั ธ์ กุมารราชมิตรผอง ก็สอดคลอ้ งและแคลงดาล พิโรธกาจวิวาทการณ์ อุบตั ิข้นึ เพราะข่งุ เคอื ง พพิ ิธพนั ธไมตรี ประดามนี ิรนั ดร์เนือง กะองคน์ ้นั กพ็ ลนั เปลอื ง มลายปลาตพนิ าศปลงฯ ถอดความได้ว่า กมุ ารลจิ ฉวีท้งั หลายเห็นสอดคลอ้ งกนั กเ็ กดิ ความโกรธเคอื ง การทะเลาะวิวาทก็เกดิ ข้ึน เพราะความขนุ่ เคืองใจ ความสัมพนั ธอ์ นั ดีทเ่ี คยมถี ูกทาลายลง

10 มาณวกฉันท์ • บทประพันธ์ ล่วงลุประมาณ กาลอนุกรม หน่ึงณนิยม ทา่ นทวิชงค์ เมื่อจะประสิทธ์ิ วิทยะยง เชิญวรองค์ เอกกมุ าร เธอจรตาม พราหมณไป โดยเฉพาะใน ห้องรหุฐาน จ่งึ พฤฒิถาม ความพสิ ดา ขอธประทาน โทษะและไข ถอดความได้ว่า เวลาผ่านไป เม่อื ถงึ คราวที่จะสอนวิชากจ็ ะเชิญพระกมุ ารพระองคห์ น่ึง พระกมุ ารกต็ ามพราหมณเ์ ขา้ ไปในหอ้ งเฉพาะ พราหมณ์จงึ ถามเน้ือความแปลกๆ วา่ ขออภยั ชว่ ยตอบดว้ ย

11 มาณวกฉันท์ • บทประพนั ธ์ อย่าตแิ ละหลู่ ครูจะเฉลย เธอน่ะเสวย ภตั กะอะไร ในทนิ น่ี ดีฤไฉน พอหฤทยั ย่ิงละกระมงั เคา้ ณประโยค ราชธก็เลา่ แลว้ ขณะหลงั ตนบริโภค เร่ืองสิประทงั วาทะประเทอื ง สิกขสภา อาคมยงั ถอดความได้ว่า อยา่ หาวา่ ตาหนิหรือลบหลู่ ครูขอถามว่าวนั น้ีพระกมุ ารเสวยพระกระยาหารอะไรรสชาติดีหรือไม่ พอพระทยั มากหรือไม่ พระกมุ ารกเ็ ลา่ เร่ืองเก่ยี วกบั พระกระยาหารที่เสวยหลงั จากน้นั ก็สนทนาเรื่องทว่ั ไป แลว้ เสดจ็ กบั ห้องเรียน

12 มาณวกฉันท์ • บทประพนั ธ์ เสร็จอนุศาสน์ ราชอุรส ลจิ ฉวิหมด ตา่ งธก็มา ถามนยมาน ท่านพฤฒอิ า จารยปรา รภกระไร เธอกแ็ ถลง แจง้ ระบมุ วล ความเฉพาะลว้ น จริงหฤทยั ต่างบมิเช่ือ เมื่อตริไฉน จ่งึ ผลใน เหตบุ มสิ ม ถอดความได้ว่า แลว้ ก็เสดจ็ กลบั ออกมายงั หอ้ งเรียน เม่ือเสร็จส้ินการสอนราชกุมารลิจฉวีท้งั หมด กม็ าถามเรื่องราวท่มี ีมาวา่ ท่านอาจารยไ์ ดพ้ ดู เร่ืองอะไรบา้ ง พระกุมารกต็ อบตามความจริง แตเ่ หล่ากมุ ารตา่ งไม่เชื่อ เพราะคิดแลว้ ไมส่ มเหตสุ มผล • บทประพันธ์ ขุ่นมนเคอื ง เร่ืองนฤสาร เชน่ กะกมุ าร ก่อนก็ระ เลิกสละแยก แตกคณะกล เกลยี วบนิยม คบดจุ เดิม ถอดความได้ว่า ต่างขุ่นเคืองใจดว้ ยเร่ืองไรส้ าระเชน่ เดียวกบั พระกุมารพระองคก์ อ่ น และเกิดความแตกแยกไม่คบกนั อย่างกลมเกลียวเหมอื นเดิม

13 อุเปนทรวเิ ชียร์ ฉันท์ • บทประพนั ธ์ กลหเ์ หตุยยุ งเสริม นฤพทั ธก่อการณ์ ทชิ งคเ์ จาะจงเจตน์ ทินวารนานนาน กระหน่าและซ้าเติม ธกเ็ ชิญเสดจ็ ไป รฤหาประโยชน์ไร ละคร้ังระหวา่ งครา เสาะแสดงธแสร้งถาม เหมาะท่าทชิ าจารย์ บห่อนจะมีสา กระน้นั เสมอนยั ถอดความได้ว่า พราหมณ์เจตนาหาเหตุยุแหย่ซ้าเตมิ อยู่เสมอ ๆ แต่ละคร้ัง แต่ละวนั นานนานคร้งั เห็นโอกาสเหมาะก็จะเชิญพระกมุ ารเสดจ็ ไปโดยไมม่ สี ารประโยชน์อนั ใด แลว้ กแ็ กลง้ ทูลถาม • บทประพนั ธ์ และบา้ งกพ็ ูดวา่ น่ะแน่ะขา้ สดบั ตาม ยุบลระบลิ ความ พจแจง้ กระจายมา ละเมิดตเิ ตยี นท่าน กเ็ พราะท่านสิแสนสา รพดั ทลิทภา วและสุดจะขดั สน จะแน่มแิ น่เหลอื พเิ คราะหเ์ ชื่อเพราะยากยล ณทบี่ มคี น ธกค็ วรขยายความ ถอดความได้ว่า บางคร้งั กพ็ ูดว่า นี่แน่ะขา้ พระองคไ์ ดย้ นิ ข่าวเลา่ ลือกนั ทว่ั ไป เขานินทาพระกุมารวา่ พระองค์ แสนจะยากจนและขดั สน จะเป็นเช่นน้นั แน่หรือ พเิ คราะห์แลว้ ไมน่ ่าเชื่อ ณ ทน่ี ้ีไมม่ ผี ูใ้ ด ขอใหท้ รงเลา่ มา เถิด

14 อเุ ปนทรวิเชียรฉันท์ • บทประพนั ธ์ น่ะแน่ะขา้ จะขอถาม วจลอื ระบอื มา และบา้ งกก็ ล่าวว่า กเ็ พราะทา่ นสิแสนสา เพราะทราบคดตี าม ยพลิ กึ ประหลาดเป็น มนเช่ือเพราะไป่ เหน็ ติฉินเยาะหม่นิ ท่าน ธก็ควรขยายความ รพนั พิกลกา จะจริงมจิ ริงเหลอื ผิขอ้ บลาเค็ญ ถอดความได้ว่า บางคร้งั ก็พูดว่าขา้ พระองคข์ อทูลถามพระกมุ าร เพราะไดย้ นิ เขาเลา่ ลอื กนั ทวั่ ไปเยาะเยย้ ดหู มน่ิ ท่าน วา่ ทา่ นน้ีมีร่างกายผดิ ประหลาดต่าง ๆ นานาจะเป็นจริงหรือไม่ ใจไมอ่ ยากเชื่อเลยเพราะไมเ่ ห็น ถา้ หากมสี ิ่งใดท่ีลาบากยากแคน้ ก็ตรัสมาเถิด

15 อุเปนทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ วนเคา้ คดีตาม นยสุดจะสงสัย กุมารองคเ์ สา ครุ ุทา่ นจะถามไย กระทพู้ ระครูถาม ระบแุ จง้ กะอาจารย์ พระกมุ ารโนน้ ขาน ก็คามคิ วรการณ์ เฉพาะอยูก่ ะกนั สอง ธซักเสาะสืบใคร ทวชิ แถลงว่า ยุบลกะตกู าล ถอดความได้ว่า พระกมุ ารไดท้ รงฟังเร่ืองท่ีพระอาจารยถ์ ามกต็ รัสถามกลบั วา่ สงสัยเหลือเกิน เร่ืองไม่สมควรเชน่ น้ี ท่านอาจารยจ์ ะถามทาไม แลว้ ก็ซกั ไซว้ ่าใครเป็นผมู้ าบอกกบั อาจารย์ พราหมณ์ก็ตอบวา่ พระกมุ ารพระองคโ์ นน้ ตรสั บอกเมอ่ื อยูก่ นั เพยี งสองต่อสอง

16 • บทประพันธ์ กุมารพระองคน์ ้นั ธมทิ นั จะไตร่ตรอง กเ็ ชื่อณคาของ พฤฒิครูและว่วู าม พิโรธกุมารองค์ เหมาะเจาะจงพยายาม ยุครูเพราะเอาความ บมดิ ปี ระเดตน ก็พอ้ และตอ่ พษิ ทรุ ทฐิ ิมานจน ลโุ ทสะสืบสน ธิพพิ าทเสมอมา ถอดความได้ว่า กุมารพระองคน์ ้นั ไมท่ นั ไดไ้ ตร่ตรอง กท็ รงเช่ือในคาพดู ของอาจารย์ ดว้ ยความววู่ ามก็กริ้ว พระกุมารที่ยพุ ระอาจารยใ์ ส่ความตน จงึ ตดั พอ้ ต่อว่ากนั ข้ึน เกิดความโกรธเคืองทะเลาะวิวาทกนั อยเู่ สมอ

17 อุเปนทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพันธ์ ทิชครูมิเรียกหา ชกุมารทิชงคเ์ ชิญ และฝ่ ายกุมารผู้ ฉวิมิตรจติ เมิน ก็แหนงประดารา คณะห่างกต็ ่างถอื พลลน้ เถลิงลือ พระราชบตุ รลิจ มนฮกึ บนึกขามฯ ณกนั และกนั เหิน ทะนงชนกตน ก็หาญกระเหิมฮอื ถอดความได้ว่า ฝ่ายพระกุมารท่ีพราหมณ์ไม่เคยเรียกเขา้ ไปหากไ็ มพ่ อพระทยั พระกมุ ารที่พราหมณ์เชิญไปพบ พระกุมารลจิ ฉวหี มางใจและเหินห่างกนั ต่างองคท์ ะนงวา่ พระบดิ าของตนมีอานาจลน้ เหลือ จงึ มีใจกาเริบไมเ่ กรงกลวั กนั

18 สัทธราฉันท์ • บทประพันธ์ ธกย็ ุศษิ ยตาม ฉงนงา ลาดบั น้นั วสั สการพราหมณ์ ริณวิรุธกส็ า แตง่ อุบายงาม ธเสกสรร มลิ ะปิ ยะสหฉนั ท์ ปวงโอรสลิจฉวีดา กอ็ าดูร คญั ประดจุ คา ไป่เหลือเลยสักพระองคอ์ นั ขาดสมคั รพนั ธ์ ถอดความได้ว่า ในขณะน้นั วสั สการพราหมณ์ก็คอยยลุ กู ศษิ ย์ แตง่ กลอุบายใหเ้ กดิ ความแคลงใจ พระโอรสกษตั ริยล์ จิ ฉวที ้งั หลายไตร่ตรองในอาการน่าสงสัยก็เขา้ ใจวา่ เป็นจริง ดงั ถอ้ ยคาทอี่ าจารยป์ ้ันเรื่องข้ึน ไมม่ ีเหลือเลยสกั พระองคเ์ ดียวที่จะมีความรักใคร่กลมเกลยี ว ตา่ งขาดความสมั พนั ธ์ เกิดความเดือดร้อนใจ

19 สัทธราฉันท์ • บทประพันธ์ ตา่ งองคน์ าความมิงามทลู พระชนกอดศิ ูร แห่งธโดยมลู ปวตั ต์คิ วาม แตกรา้ วกา้ วร้ายกป็ ้ายปาม ลวุ รบดิ รลาม ทลี ะนอ้ ยตาม ณเหตผุ ล ฟั่นเฝือเชื่อนยั ดนยั ตน นฤวิเคราะหเสาะสน สืบจะหมองมล เพราะหมายใด ถอดความได้ว่า ในขณะน้นั วสั สการพราหมณ์ก็คอยยลุ กู ศิษย์ ต่างกลอบุ ายให้เกิดความแคลงใจ พระโอรสกษตั ริยล์ ิจฉวีท้งั หลายไตร่ตรองในอาการน่าสงสยั กเ็ ขา้ ใจวา่ เป็นจริงดงั ถอ้ ยคาท่ีอาจารย์ ป้ันเรื่องข้นึ ไม่มีเหลือเลยสักพระองคเ์ ดียวท่จี ะมคี วามรกั ใคร่กลมเกลยี ว ตา่ งขาดความสมั พนั ์ เกิดความเดือดร้อนใจ

20 สัทธราฉันท์ • บทประพันธ์ กษณะตริเหมาะไฉน สะดวกดาย แทท้ ่านวสั สการใน พจนยปุ ริยาย เสริมเสมอไป บเวน้ ครา สหกรณประดา หลายอยา่ งตา่ งกลธขวนขวาย ชท้งั หลาย วญั จโนบาย คร้ันลว่ งสามปี ประมาณมา ลจิ ฉวรี า ถอดความได้ว่า แต่ละองคน์ าเรื่องไม่ดีทเี่ กดิ ข้ึนไปทลู พระบิดาของตน ความแตกแยกก็ค่อยๆลกุ ลามไปสู่พระบดิ า เนื่องจากความหลงเช่ือโอรสของตน ปราศจากการใคร่ครวญเกิดความผดิ พอ้ งหมองใจกนั ข้นึ ฝ่ายวสั สการพราหมณค์ ร้นั เหน็ โอกาสเหมาะสมก็คอยยุแหยอ่ ยา่ งง่ายดาย ทากลอุบายต่างๆ พูดยยุ งตามกลอุบายตลอดเวลา เวลาผ่านไปประมาณ ๓ ปี ความร่วมมอื กนั ระหว่างกษตั ริยล์ ิจฉวที ้งั หลาย และความสามคั คีถกู ทาลายลงส้ิน

21 สัทธราฉันท์ • บทประพันธ์ สามคั คีธรรมทาลาย มติ รภทิ นะกระจาย สรรพเส่ือมหายน์ กเ็ ป็นไป ต่างองคท์ รงแคลงระแวงใน พระราชหฤทยวสิ ัย ผพู้ โิ รธใจ ระวงั กนั ฯ ถอดความได้ว่า ความร่วมมือกนั ระหว่างกษตั ริยล์ จิ ฉวที ้งั หลายและความสามคั คีถูกทาลายลงท้นั ส้ิน ความเป็นมติ รแตกแยก ความเสื่อมความหายนะกบ็ งั เกิดข้ึน กษตั ริยต์ า่ งองคร์ ะแวงแคลงใจ มคี วามข่นุ เคอื งใจซ่ึงกนั และกนั

22 สาลินฉี ันท์ • บทประพันธ์ พราหมณ์ครูรูส้ ังเกต ตระหนกั เหตถุ นดั ครัน ราชาวชั ชีสรร พจกั สู่พนิ าศสม ยนิ ดีบดั น้ีกิจ จะสัมฤทธ์ ิมนารมณ์ เริ่มมาดว้ ยปรากรม และอตุ สาหแห่งตน ให้ลองตกี ลองนดั ประชุมขตั ติยม์ ณฑล เชิญซ่ึงส่าสากล กษตั ริยส์ ู่สภาคาร ถอดความได้ว่า พราหมณ์ผเู้ ป็นครูสังเกตเหน็ ดงั น้นั ก็รู้วา่ เหลา่ กษตั ริยล์ ิจฉวกี าลงั จะประสบความพินาศ จึงยินดีมากท่ภี ารกจิ ประสบผลสาเร็จสมดงั ใจ หลงั จากเริ่มตน้ ดว้ ยความบากบน่ั และความอดทนของตน จึงให้ลองตกี ลองนดั ประชุมกษตั ริยฉ์ วี เชิญทกุ พระองคเ์ สด็จมายงั ท่ปี ระชุม

23 สาลนิ ีฉันท์ • บทประพนั ธ์ สดบั กลองกระหึมขาน ณกจิ เพ่ือเสดจ็ ไป วชั ชีภูมีผอง จะเรียกหาประชมุ ไย ทกุ ไทไ้ ป่ เอาภาร ก็ขลาดกลวั บกลา้ หาญ และกลา้ ใครมเิ ปรียบปาน ตา่ งทรงรบั สั่งว่า ประชุมชอบกเ็ ชิญเขา เราใช่เป็นใหญใ่ จ ทา่ นใดทเ่ี ป็นใหญ่ พอใจใคร่ในการ ถอดความได้ว่า ฝ่ายกษตั ริยว์ ชั ชีท้งั หลายทรงสดบั เสียงกลองดงั กกึ ก้อง ทุกพระองคไ์ มท่ รงเป็นธุระในการเสดจ็ ไป ตา่ งองคร์ ับสง่ั วา่ จะเรียกประชุมดว้ ยเหตใุ ด เราไม่ไดเ้ ป็นใหญ่ ใจก็ขลาด ไมก่ ลา้ หาญ ผใู้ ดเป็นใหญ่ มคี วามกลา้ หาญไม่มีผใู้ ดเปรียบได้ พอใจจะเสด็จไปร่วมประชมุ กเ็ ชิญเขาเถดิ • บทประพันธ์ ปรึกษาหารือกนั ไฉนน้นั ก็ทาเนา จกั เรียกประชุมเรา บแลเหน็ ประโยชนเ์ ลย รบั ส่ังผลกั ไสส่ง และทุกองคธ์ เพิกเฉย ไป่ ไดไ้ ปดงั่ เคย สมคั รเขา้ สมาคมฯ ถอดความได้ว่า จะปรึกษาหารือกนั ประการใดก็ช่างเถดิ จะเรียกเราไปประชุมมองไม่เหน็ ประโยชนป์ ระการใด เลยรบั ส่งั ใหพ้ น้ ตวั ไป และทกุ พระองคก์ ท็ รงเพกิ เฉยไม่เสด็จไปเขา้ ร่วมการประชมุ เหมือนเคย

24 อุปัฎฐิตาฉันท์ • บทประพันธ์ ชนะคล่องประสบสม ธกล็ อบแถลงการณ์ เห็นเชิงพเิ คราะห์ช่อง คมดลประเทศฐาน พราหมณ์เวทอดุ ม ภเิ ผา้ มคธไกร สนวา่ กษตั ริยใ์ น ใหว้ ลั ลภชน วลหลา้ ตลอดกนั กราบทูลนฤบาล แจง้ ลกั ษณสา วชั ชีบุรไกร ถอดความได้ว่า เม่อื พิจารณาเหน็ ชอ่ งทางทจ่ี ะไดช้ ยั ชนะอยา่ งง่ายดาย พราหมณ์ผรู้ อบรู้พระเวทก็ลอบส่งขา่ ว ใหค้ นสนิทเดินทางกลบั ไปยงั บา้ นเมอื ง กราบทูลกษตั ริยแ์ ห่งแควน้ มคธอนั ยิง่ ใหญ่ ในสาสนแ์ จง้ วา่ กษตั ริยว์ ชั ชีทุกพระองค์

25 • บทประพนั ธ์ บดั น้ีสิก็แตก คณะแผกและแยกพรรค์ ไป่ เป็นสหฉนั ทเสมือนเสมอมา โอกาสเหมาะสมยั ขณะไหนประหน่ึงครา น้ีหากผิจะหา กบ็ ไดส้ ะดวกดี ขอเชิญวรบาท พยุหย์ าตรเสดจ็ กรี ธาทพั พลพี ริยยทุ ธโดยไวฯ ถอดความได้ว่า ขณะน้ีเกิดความแตกแยก แบง่ พรรคแบง่ พวก ไมส่ ามคั คกี นั เหมอื นแต่เดิม จะหาโอกาสอนั เหมาะสม คร้ังใดเหมือนดงั คร้งั น้ีคงจะไม่มอี ีกแลว้ ขอทูลเชิญพระองคย์ กกองทพั อนั ยิ่งใหญม่ าทาสงครามโดยเร็วเถดิ

26 วิชชุมมาลาฉันท์ • บทประพันธ์ ขา่ วเศกิ เอิกอึง ทราบถึงบดั ดล ในหมผู่ คู้ น ชาวเวสาลี แทบทุกถ่นิ หมด ชนบทบูรี อกสั่นขวญั หนี หวาดกลวั ทว่ั ไป ถอดความได้ว่า ข่าวศกึ แพร่ไปจนรู้ถึงชาวเมอื งเวสาลี แทบทกุ คนในเมอื งต่างตกใจและหวาดกลวั กนั ไปทวั่ • บทประพันธ์ ต่นื ตาหนา้ เผอื ด หมดเลือดสั่นกาย หลบล้หี นีตาย วนุ่ หวน่ั พรั่นใจ ซุกครอกซอกครวั ซ่อนตวั แตกภยั เขา้ ดงพงไพร ทงิ้ ย่านบา้ นตน ถอดความได้ว่า หนา้ ตาตน่ื หนา้ ซีดไมม่ ีสีเลอื ด ตวั ส่นั พากนั หนีตายว่นุ วาย พากนั อพยพครอบครวั หนีภยั ทิง้ บา้ นเรือนไปซุ่มซ่อนตวั เสียในป่ า • บทประพนั ธ์ เหลอื จกั ห้ามปราม ชาวคามลา่ ลาด พนั หวั หนา้ ราษฎร์ ขนุ ดา่ นตาบล หารือแกก่ นั คิดผนั ผอ่ นปรน จกั ไม่ให้พล มาคธขา้ มมา ถอดความได้ว่า ไม่สามารถหา้ มปรามชาวบา้ นได้ หัวหนา้ ราษฎรและนายดา่ นตาบลตา่ ง ๆ ปรึกษากนั คดิ จะยบั ย้งั ไมใ่ หก้ องทพั มคธขา้ มมาได้

27 วิชชุมมาลาฉันท์ • บทประพันธ์ จ่งึ ใหต้ ีกลอง ป่ าวรอ้ งทนั ที แจง้ ขา่ วไพรี รุกเบียนบีฑา เพือ่ หม่ภู มู ี วชั ชีอาณา ชมุ นุมบญั ชา ป้องกนั ฉันใด ถอดความได้ว่า จงึ ตีกลองป่ าวรอ้ งแจง้ ขา่ วขา้ ศึกเขา้ รุกราน เพ่ือใหเ้ หล่ากษตั ริยแ์ ห่งวชั ชีเสดจ็ มาประชมุ หาหนทาง ป้องกนั ประการใด • บทประพันธ์ ราชาลิจฉวี ไป่ มสี กั องค์ อนั นึกจานง เพอ่ื จกั เสดจ็ ไป ต่างองคด์ ารัส เรียกนดั ทาไม ใครเป็นใหญ่ใคร กลา้ หาญเห็นดี ถอดความได้ว่า ไม่มกี ษตั ริยล์ จิ ฉวีแมแ้ ตพ่ ระองคเ์ ดยี วคิดจะเสดจ็ ไป แตล่ ะพระองคท์ รงดารสั วา่ จะเรียกประชมุ ดว้ ยเหตุใด ผใู้ ดเป็นใหญ่ ผใู้ ดกลา้ หาญ • บทประพันธ์ เชิญเทอญทา่ นตอ้ ง ขดั ขอ้ งขอ้ ไหน ปรึกษาปราศรยั ตามเรื่องตามที ส่วนเราเล่าใช่ เป็นใหญ่ยงั มี ใจอย่างผภู้ ี รุกปราศอาจหาญ ถอดความได้ว่า เหน็ ดีประการใดก็เชิญเถดิ จะปรึกษาหารืออยา่ งไรก็ตามแต่ใจ ตวั ของเราน้นั ไมไ่ ดม้ ีอานาจยิ่งใหญ่ จติ ใจกข็ ้ีขลาด ไม่องอาจกลา้ หาญ

28 วิชชุมมาลาฉันท์ • บทประพนั ธ์ ต่างทรงสาแดง ความแขงอานาจ สามคั คีขาด แก่งแยง่ โดยมาน ภมู ศิ ลจิ ฉวี วชั ชีรัฐบาล บช่ มุ นุมสมาน แมแ้ ต่สักองคฯ์ ถอดความได้ว่า แตล่ ะพระองคต์ ่างแสดงอาการเพิกเฉย ปราศจากความสามคั คปี รองดองในจติ ใจ กษตั ริยล์ จิ ฉวแี ห่งวชั ชีไม่เสด็จมาประชมุ กนั แมแ้ ตพ่ ระองคเ์ ดยี ว

29 อินทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ ป่ิ นเขตมคธขตั ติยรชั ธารง ย้งั ทพั ประทบั ตรง นคเรศวสิ าลี พเิ คราะหเ์ หตณุ ธานี ภูธรธสงั เกต แห่งราชวชั ชี ขณะเศกิ ประชิดแดน ถอดความได้ว่า จอมกษตั ริยแ์ ห่งแควน้ มคธหยดุ ทพั ตรงหนา้ เมอื งเวสาลี พระองคท์ รงสังเกตวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ ทางเมอื งวชั ชีในขณะทข่ี า้ ศึกมาประชิดเมือง • บทประพนั ธ์ เฉยดบู รูส้ ึก และมินึกจะเกรงแกลน ฤๅคิดจะตอบแทน รณทพั ระงบั ภยั น่ิงเงียบสงบงา บมทิ าประการใด ปรากฏประหน่ึงใน บรุ ว่างและร้างคน ถอดความได้ว่า ดูน่ิงเฉยไมร่ ู้สึกเกรงกลวั หรือคดิ จะทาสิ่งใดโตต้ อบระงบั เหตุรา้ ย กลบั อยูอ่ ย่างสงบเงียบ ไมท่ าการส่ิงใด มองดูราวกบั เป็นเมืองรา้ งปราศจากผคู้ น • บทประพนั ธ์ แน่โดยมพิ กั สง สยคงกระทบกล ทา่ นวสั สการจน ลุกระน้ีถนดั ตา คยิ พรรคพระราชา ภินทพ์ ทั ธสามคั ชาวลจิ ฉววี า รจะพอ้ งอนตั ถภ์ ยั ถอดความได้ว่า แน่นอนไมต่ อ้ งสงสยั เลยว่าคงจะถกู กลอุบายของวสั สการพราหมณจ์ นเป็นเช่นน้ี ความสามคั คีผูกพนั แห่งกษตั ริยล์ จิ ฉวถี กู ทาลายลงและจะประสบกบั ภยั พิบตั ิ

30 อินทรวิเชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ ลกู ขา่ งประดาทา รกกาลขวา้ งไป หมนุ เลน่ สนุกไฉน ดจุ กนั ฉะน้นั หนอ ครูวสั สการแส่ กลแหยย่ ดุ พี อ ปั่นป่ วนบเหลือหลอ จะมริ า้ วมริ านกนั ถอดความได้ว่า ลูกขา่ งท่ีเดก็ ขวา้ งเลน่ ไดส้ นุกฉันใด วสั สการพราหมณก์ ส็ ามารถยแุ หยใ่ หเ้ หล่ากษตั ริยล์ ิจฉวี แตกความสามคั คีไดต้ ามใจชอบและคิดทจี่ ะสนุกฉันน้นั • บทประพนั ธ์ คร้ันทรงพระปรารภ ธุระจบธจ่งึ บญั ชานายนิกายสรร พทแกลว้ ทหารหาญ เร่งทาอุฬมุ ป์ เว ฬุคะเนกะเกณฑก์ าร เพอ่ื ขา้ มนทีธาร จรเขา้ นครบร ถอดความได้ว่า คร้นั ทรงคดิ ไดด้ งั น้นั จึงมีพระราชบญั ชาแก่เหล่าทหารหาญให้รีบสร้างแพไมไ้ ผเ่ พ่ือขา้ มแม่น้า จะเขา้ เมืองของฝ่ายศตั รู พวกทหารรับราชโองการแลว้ ก็ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทีไ่ ดร้ บั • บทประพันธ์ เขารบั พระบณั ฑรู อดศิ ูรบดีศร ภาโรปกรณ์ตอน ทวิ รุ่งสฤษฎ์พลนั จอมนาถพระยาตรา พยหุ าธิทพั ขนั ธ์ โดยแพและพ่วงปัน พลขา้ มณคงคา จนหมดพหลเน่ือง พิศเนืองขนดั คลา ข้นึ ฝง่ั ลเุ วสา ลิบเุ รศสะดวกดายฯ ถอดความได้ว่า ในตอนเชา้ งานน้นั กเ็ สร็จทนั ที จอมกษตั ริยเ์ คลอื่ นกองทพั อนั มกี าลงั พลมากมายลงในแพท่ีติดกนั นากาลงั ขา้ มแม่น้าจนหมดส้ิน มองดูแน่นขลดั ข้นึ ฝั่งเมืองเวสาลีอยา่ งสะดวกสบาย

31 จติ รปทา ฉันท์ • บทประพันธ์ นาครธา นิวิสาลี เห็นริปมุ ี พลมากมาย ขา้ มติรชล กล็ ุพน้ หมาย ต่างก็ตระหนก มนอกเตน้ ตื่นบมิเวน้ ตะละผูค้ น ทว่ั บรุ คา มจลาจล เสียงอลวน อลเวงไป ถอดความได้ว่า ฝ่ายเมืองเวสาลมี องเหน็ ขา้ ศึกจานวนมากขา้ มแม่น้ามาเพื่อจะทาลายลา้ งบา้ นเมืองของตน ต่างก็ตระหนกตกใจกนั ถว้ นหนา้ ในเมืองเกดิ จลาจลวุ่นวายไปทว่ั เมอื ง • บทประพนั ธ์ สรรพสกล มขุ มนตรี ตรอมมนภี รุกเภทภยั บางคณะอา ทรปราศรัย ยงั มิกระไร ขณะน้ีหนอ ควรบริบาล พระทวารมนั่ ตา้ นปะทะกนั อริก่อนพอ ขตั ตยิ รา ชสภารอ ดาริจะขอ วรโองการ ถอดความได้ว่า ขา้ ราชการช้นั ผูใ้ หญต่ า่ งหวาดกลวั ภยั บางพวกกพ็ ูดวา่ ขณะน้ียงั ไมเ่ ป็นไรหรอก ควรจะป้องกนั ประตู เมอื งเอาไวใ้ หม้ นั่ คง ตา้ นทานขา้ ศึกเอาไวก้ อ่ นรอใหท้ ี่ประชมุ เหลา่ กษตั ริยม์ คี วามเหน็ วา่ จะทรงทาประการใด

32 จิตรปทา ฉันท์ • บทประพันธ์ ทรงตริไฉน กจ็ ะไดท้ า โดยนยดา รัสภบู าล เสวกผอง ก็เคาะกลองขาน อาณัติปาน ดจุ กลองพงั ศพั ทอโุ ฆษ ประลโุ สตทา้ ว ขณะทรงฟัง ลิจฉวีดา้ ว และละเลยดงั ตา่ งธก็เฉย ธุระกบั ใคร ไทม้ ิอินงั ถอดความได้ว่า ก็จะได้ดำเนนิ กำรตำมพระบญั ชำของพระองค์ เหล่ำข้ำรำชกำรทงั้ หลำยก็ตกี ลอง สญั ญำณขนึ ้ รำวกบั กลองจะพงั เสยี งดงั กกึ ก้องไปถงึ พระกรรณกษตั ริยล์ ิจฉวี ต่ำงองคท์ รงเพกิ เฉยรำวกบั ไมเ่ อำใจใสใ่ น เร่ืองรำวของผ้ใู ด • บทประพนั ธ์ ตา่ งกบ็ คลา ณสภาคา แมพ้ ระทวาร บรุ ทว่ั ไป รอบทศิ ดา้ น และทวารใด เหน็ นรไหน สิจะปิ ดมฯี ถอดความได้ว่า ตา่ งองคไ์ มเ่ สด็จไปท่ปี ระชุม แมแ้ ต่ประตูเมืองรอบทิศทกุ บานก็ไมม่ ีผใู้ ดปิ ด

33 สัททุลวกิ กฬี ิต ฉันท์ • บทประพนั ธ์ จอมทพั มาคธราษฎร์ธยาตรพยุหกรี ธาสู่วิสาลี นคร โดยทางอนั พระทวารเปิ ดนรนิกร ฤๅรอต่อรอน อะไร เบ้ืองน้นั ทา่ นคุรุวสั สการทชิ กไ็ ป นาทพั ชเนนทร์ไท มคธ ถอดความได้ว่า จอมทพั แห่งแควน้ มคธกรีธาทพั เขา้ เมืองเวสาลที างประตเู มอื งทเี่ ปิ ดอยู่โดยไม่มผี คู้ น หรือทหารตอ่ สู้ประการใด ขณะน้นั วสั สการพราหมณผ์ ูเ้ ป็นอาจารยก์ ็ไปนาทพั ของกษตั ริยแ์ ห่งมคธ • บทประพนั ธ์ เขา้ ปราบลจิ ฉวขิ ตั ติยร์ ัฐชนนท สู่เง้ือมพระหตั ถห์ มด และโดย ไป่พกั ตอ้ งจะกะเกณฑน์ ิกายพหลโรย แรงเปลอื งระดมโปรย ประยุทธ์ ราบคาบเสร็จธเสดจ็ ลุราชคฤหอตุ คมเขตบุเรศดจุ ณ เดิม ถอดความได้ว่า เขา้ มาปราบกษตั ริยล์ ิจฉวี อาณาจกั รท้งั หมดกต็ กอย่ใู นพระหัตถ์ โดยท่กี องทพั ไมต่ อ้ งเปลืองแรงในการต่อสู้ ปราบราบคาบแลว้ เสด็จยงั ราชคฤห์เมอื งย่งิ ใหญด่ งั เดิม • บทประพนั ธ์ เรื่องตน้ ยกุ ติกแ็ ต่จะต่อพจนเตมิ ภาษติ ลิขิตเสริม ประสงค์ ปรุงโสตเป็นคตสิ ุนทราภรณจง จบั ขอ้ ประโยชนต์ รง ตริดู ถอดความได้ว่า เน้ือเรื่องแตเ่ ดมิ จบลงเพยี งน้ี แตป่ ระสงคจ์ ะแตง่ สุภาษิตเพ่มิ เตมิ ให้ไดร้ บั ฟัง เพอ่ื เป็นคติอนั ทรงคุณค่านาไปคิดไตร่ตรอง

34 อินทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพันธ์ อนั ภบู ดรี า ชอชาตศตั รู ไดล้ ิจฉวภี ู วประเทศสะดวกดี แลสรรพบรรดา วรราชวชั ชี ถงึ ซ่ึงพิบตั บิ ี ฑอนตั ถพ์ ินาศหนา เห้ียมน้นั เพราะผนั แผก คณะแตกและต่างมา หสโทษพโิ รธของ ถอื ทฐิ ิมานสา ถอดความได้ว่า พระเจา้ อชาตศตั รูไดแ้ ผ่นดินวชั ชีอย่างสะดวก และกษตั ริยล์ ิจฉวีท้งั หลายกถ็ ึงซ่ึงความพนิ าศลม่ จม เหตุเพราะความแตกแยกกนั ต่างก็มีความยึดมน่ั ในความคดิ ของตน ผกู โกรธซ่ึงกนั และกนั • บทประพนั ธ์ แยกพรรคสมรรคภนิ ทนส้ินบปรองดอง ขาดญาณพจิ ารณ์ตรอง ตริมลกั ประจกั ษเ์ จือ เชื่ออรรถยุบลเอา รสเล่าก็งา่ ยเหลือ เหตุหากธมากเมอื คตโิ มหเป็นมูล ถอดความได้ว่า ตา่ งแยกพรรค แตกสามกั คีกนั ไม่ปรองดองกนั ขาดปัญญาท่จี ะพจิ ารณาไตร่ตรอง เช่ือถอ้ ยความ ของบรรดาพระโอรสอย่างง่ายดาย เหตทุ ่เี ป็นเชน่ น้นั พราะกษตั ริยแ์ ตล่ ะพระองคท์ รงมากไปดว้ ยความหลง • บทประพนั ธ์ จ่งึ ดาลประการหา ยนภาวอาดรู เสียแดนไผทสูญ ยศศกั ดิเสื่อมนาน ควรชมนิยมจดั ครุ ุวสั สการพราหมณ์ เป็นเอกอบุ ายงาม กลงากระทามา ถอดความได้ว่า จงึ ทาให้ถึงซ่ึงความฉิบหาย มีภาวะความเป็นอยอู่ นั ทุกขร์ ะทม เสียท้งั แผน่ ดิน เกยี รตยิ ศ และชื่อเสียงทเี่ คยมีอยู่ ส่วนวสั สการพราหมณน์ ้นั น่าช่ืนชมอย่างยิ่งเพราะเป็นเลศิ ในการกระทากลอุบาย

35 อนิ ทรวิเชียร ฉันท์ • บทประพันธ์ พุทธาทบิ ณั ฑติ พเิ คราะห์คิดพินิจปรา รภสรรเสริญสา ธุสมคั รภาพผล ว่าอาจจะอวยผา สุกภาวมาดล ดีสู่ณหมตู่ น บนิราศนิรันดร หมใู่ ดผิสามั คยพรรคสโมสร ไป่ ปราศนิราศรอ คุณไร้ไฉนดล ถอดความได้ว่า ผรู้ ู้ท้งั หลายมพี ระพุทธเจา้ เป็นตน้ ไดใ้ คร่ครวญพิจารณากลา่ วสรรเสริญว่าชอบแลว้ ในเรื่องผลแห่งความพร้อมเพรียงกนั ความสามคั คอี าจอานวยใหถ้ งึ ซ่ึงสภาพแห่งความผาสุก ณ หมขู่ องตน ไม่เสื่อมคลายตลอดไป หากหมใู่ ดมีความสามคั คีร่วมชุมนุมกัน ไมห่ ่างเหินกนั สิ่งทไ่ี รป้ ระโยชนจ์ ะมาสู่ได้ อยา่ งไร

36 อนิ ทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ พร้อมเพรียงประเสริฐครนั เพราะฉะน้นั แหละบคุ คล ผหู้ วงั เจริญตน ธุระเกีย่ วกะหมเู่ ขา พงึ หมายสมคั รเป็น มขุ เป็นประธานเอา ธูรทวั่ ณตวั เรา บมเิ ห็นณฝ่ายเดียว ควรยกประโยชน์ย่ืน นรอน่ื ก็แลเหลียว ดบู า้ งและกลมเกลยี ว มติ รภาพผดุงครอง ถอดความได้ว่า ความพรอ้ มเพรียงน้นั ประเสริฐยิ่งนกั เพราะฉะน้นั บุคคลใดหวงั ทจ่ี ะไดร้ ับความเจริญแห่งตน และมีกจิ ธุระอนั เป็นส่วนรวม กพ็ ึงต้งั ใจเป็นหวั หนา้ เอาเป็นธุระดว้ ยตวั ของเราเอง โดยมิเห็นประโยชน์ตน แตฝ่ ่ายเดียว ควรยกประโยชนใ์ หบ้ ุคคลอ่นื บา้ ง นึกถึงผอู้ น่ื บา้ ง ตอ้ งกลมเกลยี ว มคี วามเป็นมิตรกนั ไว้

37 อนิ ทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ ยง้ั ทิฐิมานหย่อน ทมผอ่ นผจงจอง อารีมิมหี มอง มนเม่อื จะทาใด ลาภผลสกลบรร ลกุ ็ปันก็แบ่งไป ตามนอ้ ยและมากใจ สุจริตนิยมธรรม์ พงึ มรรยาทยดึ สุประพฤติสงวนพรรค์ ร้ือริษยาอนั อปุ เฉทไมตรี ถอดความได้ว่า ตอ้ งลดทิฐิมานะ รู้จกั ข่มใจ จะทาส่ิงใดก็เอ้อื เฟ้ือกนั ไมม่ คี วามบาดหมางใจ ผลประโยชนท์ ้งั หลาย ที่เกิดข้ึนกแ็ บ่งปันกนั ไป มากบา้ งนอ้ ยบา้ งอยา่ งเป็นธรรม ควรยึดมนั่ ในมารยาทและความประพฤตทิ ีด่ งี าม รักษาหมู่คณะโดยไมม่ ีความริษยากนั อนั จะตดั รอนไมตรี

38 อินทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ ดง่ั น้นั ณหม่ใู ด ผิบไรส้ มคั รมี พรอ้ มเพรียงนิพทั ธน์ ี รววิ าทระแวงกนั หวงั เทอญมิตอ้ งสง สยคงประสบพลนั ซ่ึงสุขเกษมสันต์ หิตะกอบทวกิ าร ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หักลา้ งบแหลกลาญ กเ็ พราะพร้อมเพราะเพรียงกนั ถอดความได้ว่า ดงั น้นั ถา้ หมู่คณะใดไม่ขาดซ่ึงความสามคั คี มคี วามพร้อมเพรียงกนั อยู่เสมอไมม่ กี าร วิวาท และระแวง กนั ก็หวงั ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งสงสยั ว่า คงจะพบซ่ึงความสุข ความสงบ และประกอบดว้ ยประโยชน์มากมาย ใครเลา่ จะมีใจกลา้ คิดทาสงครามดว้ ย หวงั จะทาลายลา้ งก็ไมไ่ ด้ ท้งั น้ีเพราะความพร้อมเพรียงกนั นนั่ เอง

39 อนิ ทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพันธ์ ป่ วยกลา่ วอะไรฝูง นรสูงประเสริฐครัน ฤๅสรรพสัตวอ์ นั เฉพาะมชี ีวคี รอง แมม้ ากผกิ ง่ิ ไม้ ผิวะใครจะใคร่ลอง มดั กากระน้นั ปอง พละหักก็เตม็ ทน เหล่าไหนผิไมตรี สละล้ณี หมตู่ น กจิ ใดจะขวายขวน บ มิพร้อมมเิ พรียงกนั ถอดความได้ว่า กลา่ วไปไยกบั มนุษยผ์ ปู้ ระเสริฐหรือสรรพสตั วท์ ่ีมีชวี ติ แมแ้ ตก่ ิง่ ไมห้ ากใครจะใคร่ลองเอามามดั เป็นกา ต้งั ใจใชก้ าลงั หักก็ยากเต็มทน หากหมใู่ ดไม่มีความสามคั คีในหมูค่ ณะของตน และกจิ การอนั ใด ทจี่ ะตอ้ งขวนขวายทาก็มพิ รอ้ มเพรียงกนั • บทประพันธ์ อยา่ ปรารถนาหวงั สุขท้งั เจริญอนั มวลมาอุบตั บิ รร ลไุ ฉนบไดม้ ี ปวงทุกขพ์ ิบตั ิสรร พภยนั ตรายกลี แมป้ ราศนิยมปรี ติประสงคก์ ค็ งสม ถอดความได้ว่า กอ็ ยา่ ไดห้ วงั เลยความสุขความเจริญจะเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร ความทกุ ขพ์ บิ ตั อิ นั ตรายและความชวั่ ร้าย ท้งั ปวง ถึงแมจ้ ะไม่ตอ้ งการก็จะตอ้ งไดร้ บั เป็นแน่แท้

40 อินทรวเิ ชียร ฉันท์ • บทประพนั ธ์ ควรชนประชมุ เช่น คณะเป็นสมาคม สามคั คิปรารม ภนิพทั ธราพงึ ไป่ มกี ็ใหม้ ี ผิวมกี ค็ านึง เน่ืองเพอื่ ภิโยจงึ จะประสบสุขาลยั ฯ ถอดความได้ว่า ผทู้ ีอ่ ย่รู วมกนั เป็นหมคู่ ณะหรือสมาคม ควรคานึงถึงความสามคั คอี ย่เู ป็นนิจ ถา้ ยงั ไม่มกี ค็ วรจะมขี ้ึน ถา้ มีอยู่แลว้ กค็ วรให้เจริญรุ่งเรืองย่ิงข้นึ ไปจงึ จะถึงซ่ึงความสุขความสบาย

41 การอธิบายคาศัพท์ยากในเร่ืองสามัคคีเภทคาฉันท์ คาศัพท์ คาแปล กถา ถอ้ ยคา กลห์เหตุ เหตแุ ห่งการทะเลาะ กสิก ชาวนา ไกวล ทว่ั ไป ขตั ตยิ ์ พระเจา้ แผ่นดิน คดี เร่ือง คม ไป ชเนนทร์ (ชน+อนิ ทร์) ผเู้ ป็นใหญ่ในหมู่ชน ทม ความขม่ ใจ ทลิทภาว ยากจน ทว่ั บรุ คาม ทว่ั บา้ นทว่ั เมือง บางทีกใ็ ชค้ าว่า ทวิช ทวงงค์ ทชิ าจารย์ ทวิชงค์ ทชิ หมายถึง ผเู้ กิดสองคร้งั คือ พราหมณ์ กลา่ วคือ เกดิ เป็นคนโดยทว่ั ไปคร้งั หน่ึง และเกิด ทิน เป็น พราหมณ์โดยตาแหน่งอกี คร้ังหน่ึง นครบร วนั นย,นบั เมอื งของขา้ ศกึ นยมาบ เคา้ ความ ความหมาย นรนิกร ใจความสาคญั (มาน = หวั ใจ) นฤสาร ฝงู ชน นฤพทั ธ, นิพทั ธ์ เนือง ๆ เสมอ เนื่องกนั นิวตั ไมม่ สี าระ นีรพล กลบั ประเด ไมเ่ ป็นผล ประศาสน์ มอบให้หมด ปรากรม การสง่ั สอน ปรุงโสต ความเพยี ร ปลาต ตกแตง่ ให้ไพเราะน่าฟัง หายไป

ปวตั น์ 42 พฤติ พเิ ฉท บางที่ใชว้ า่ ปวตั ต์ิ หมายถงึ ความเป็นไป พชิ ากร ผเู้ ฒา่ หมายถึงวสั สการพราหมณ์ พุทธาทบิ ณั ฑติ ทาลาย การตดั ขาด ภตั วชิ าความรู้ ภาโรปกรณ์ มีพระพทุ ธเจา้ เป็นตน้ ภินทพ์ ทั ธสามคั คยิ ขา้ ว ภยั โย (จดั ทา)เคร่ืองมอื ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ภีรุก การแตกสามคั คี ภินทแ์ ปลวา่ แตกแยก พทั ธแปลว่า ภมู ศิ มน ผูกพนั สามคั คียแปลวา่ สามคั คี มนารมณ์ ยงิ่ ข้ึนไป มาน ขลาด กลวั ยุกติ พระราชา รฏฺ ฐาน ใจ ลกั ษณสาสน สมดงั ที่คิดหรือสมดงั ใจ วญั จโนบาย ความถอื ตวั ในความว่า \"เเก่งเเย่งโดยมาน\" วลั ลภชน ยตุ ิ จบส้ิน วริ ุธ รโหฐาน หมายถงึ ท่ีสงดั ท่ลี บั สมรรคภินทน ลกั ษณแ์ ละสาส์น หมายถึง จดหมาย เลา สมคั รภาพ รูปความ ขอ้ ความ เคา้ สหกรณ อุบายหลอกหลวง ส่า คนสนิท ผดิ ปกติ สิกขสภา ความแตกสามคั คี สุขาลยั เสาวน ความสมคั รสมานสามคั คี เสาวภาพ หมเู่ หล่า หายน,์ หายน หมู่ พวก ห้องเรียน ทท่ี ่ีมีความสุข ฟัง สุภาพ ละมนุ ละม่อม ความเส่ือม

43 หิตะ ประโยชน์ เห้ียมน้นั เหตุน้นั อนตั ถ์ เหตุน้นั อนนั ท์ ไมเ่ ป็นประโยชน์ อนุกรม ตามลาดบั อภเิ ผา้ ผเู้ ป็นใหญ่ อาคม มา มาถงึ อปุ เฉทไมตรี ตดั ไมตรี โอรส ลกู ชาย อรุ ส เเพไมไ้ ผ่ อุฬมป์ เวฬุ เอาใจใส่เป็ นธุระ รับภาระ รบั ผิดชอบ เอาธูร เอาภาร

44 คุณค่าวรรณคดีในเร่ืองสามัคคเี ภทคาฉันท์ • คุณค่าด้านวรรณศิลป์ - การสรรคา คือการเลอื กใชค้ าที่ถูกตอ้ งเหมาะสม กบั บทประพนั ธ์ โดยใชค้ าง่าย ๆ ในบางตอน ทาใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจไดไ้ ม่ ยากนกั เชน่ “ผูกไมตรีจติ เชิงชิดชอบเชื่อง กบั หมู่ชาวเมือง ฉันทอ์ ชั ฌาสยั เลา่ เรื่องเคืองขนุ่ วา้ วุ่นวายใจ จาเป็ นมาใน ดา้ วตา่ งแดนตน” - การเลน่ เสียงสัมผสั ๑.) สมั ผสั พยญั ชนะ “ทชิ งคช์ าตฉิ ลาดยล คะเนกลคะนึงการ กษตั ริยล์ จิ ววี าร ระวงั เหือดระแวงหาย มีการเล่นเสียงพยญชั นะคาวา่ “คะเนกล-คะนึงการ” กบั “ระวงั เหือด-ระแวงหาย” ๒.) สมั ผสั สระ “ลว่ งลุประมาณ กาลอนุกรม หน่ึง ณ นิยม ทา่ นทวิชงค”์ มกี ารเล่นเสียงสระคาวา่ “ประมาณ-กาล” กบั “อนุกรม -นิยม” - ใชโ้ วหารภาพพจน์ ๑.) อปุ มา คือการเปรียบส่ิงหน่ึงให้เหมอื นกบั อีกส่ิงหน่ึง โดยใชค้ าเชื่อม เชน่ เหมอื น ราว ดุจ ดงั่ เฉก เช่น เพียง ประหน่ึง เทยี บ เป็นตน้ เช่น “น่ิงเงยี บสงบงา บมิทาประการใด ปรากฏประหน่ึงใน บรุ วา่ งและรา้ งคน” ๒.) อุปลกั ษณ์ คือการเปรียบเทยี บสิ่งหน่ึงใหเ้ ป็นอีกส่ิงหน่ึง มกั ใชค้ าวา่ “คอื ” และ “เป็น” เช่น “ลกู ขา่ งประดาทา รกกาลขวา้ งไป” เป็นตอนทีพ่ ระเจา้ อชาตศตั รูเปรียบเทยี บการแตกสามคั คีของกษตั ริยล์ ิจฉวี

45 ๓.) พรรณนาโวหาร คอื การเรียบเรียงขอ้ ความ โดยให้รายละเอียดตา่ งๆ ทาใหผ้ ูอ้ า่ นมีความรู้สึกร่วม “ควรชมนิยมจีด ครุ ุวสั สการพราหมณ์ เป็ นเอกอุบายงาม กลงากระทามา พทุ ธาทบิ ณั ฑิต พเิ คราะหค์ ิดพนิ ิจปรา รภสรรเสริญสา ธุสมคั รภาพผล” ๔.) เทศนาโวหาร คือการเขียนอธิบาย ชกั จงู ใหผ้ อู้ น่ื คลอ้ ยตามหรืออบรมสัง่ สอนให้เกดิ คตขิ อ้ คดิ กบั ผอู้ ่าน “ควรชนประชมุ เชน่ คณะเป็นสมาคม สามคั คปิ รารม ภณิพทั ธราพึง ไป่ มกี ็ใหม้ ี ผวิ มกี ็คานึง เน่ืองเพ่อื ภิยโยจึง จะประสบสุขาลยั ” • คณุ ค่าด้านสังคม - สะทอ้ นวฒั นธรรมของคนในสังคม สะทอ้ นภาพการปกครองโดยระบอบสามคั คธี รรม เนน้ โทษของการแตกความสามคั คี ในหม่คู ณะ และเนน้ ถึงหลกั ธรรม อปริหานิยธรรม 7 ประการ ซ่ึงเป็นหลกั ธรรมทีส่ ่งผล ใหเ้ กิดความเจริญ­ของหมูค่ ณะ ปราศจากความเสื่อม ไดแ้ ก่ ๑.) ไมเ่ บ่อื หน่ายการประชุม เมื่อมีภารกจิ กป็ ระชุมปรึกษาหารือกนั เพอื่ ชว่ ยกนั คดิ หาทางแกไ้ ขปัญหา ๒.) เขา้ ประชุมพร้อมกนั เลิกประชุมพร้อมกนั ร่วมกนั ประกอบกิจอนั ควรกระทา - มคี วามสามคั คีกนั ๓.) ยดึ มนั่ ในจารีตประเพณีอนั ดีงาม และประพฤติดปี ฏบิ ตั ิตามสิ่งที่บญั ญตั ไิ ว้ - แสดงให้เห็นถงึ โทษของการแตกความสามคั คีในหมู่คณะ ถา้ ไมส่ ามคั คเี ป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ก็จะนาบา้ นเมอื งไปสู่ความหายนะได้ (ฝ่ายตรงขา้ มสามารถใชจ้ ุดอ่อน ในเร่ืองน้ีเพอื่ โจมตไี ดง้ ่าย) - เนน้ การใชส้ ตปิ ัญญาไตร่ตรองในการแกไ้ ขปัญหามากกวา่ การใชก้ าลงั • คุณค่าด้านการนาไปใช้ - ควรมคี วามสามคั คใี นการทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืน - ควรใชส้ ติปัญญาในการดารงชีวิต - มคี วามอดทนตอ่ เรื่องต่างๆ

46 บรรณานุกรม กาญจนา. (๒๕๕๙). สามคั คเี ภทคาฉันท.์ สืบคน้ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๖, https://www.gotoknow.org/posts/406381 ครูบา้ นนอก. (๒๕๕๒). แนะนาวรรณคดนี ่าอา่ น........สามคั คีเภทคาฉันท์ ...ประวตั ิ เรื่องยอ่ ตวั ละคร. สืบคน้ พฤษภาคม ๒๕๖๖, https://www.kroobannok.com/16875 ชญาภา พรวสนั ต.์ (๒๕๖๖). รายงานวชิ าภาษาไทย๕ ท๓๑๑๐๑. สืบคน้ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖, https://sites.google.com/pdp.ac.th/bobysuwicha หม่อมหลวงคายวง วราสิทธิชยั . (๒๕๔๔). สามคั คีเภทคาฉันท.์ สืบคน้ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๖, https://so06.tci-thaijo.org/index.php/VANNAVIDAS/article/download/62270/51257/144636 Unknow. (๒๕๖๖). วเิ คราะหค์ ุณค่าวรรณคดี ดา้ นวรรณศิลป์ เรื่องสามคั คีเภทคาฉันท.์ สืบคน้ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖, http://www.thaischool.in.th/_files_school/57100755/workteacher/57100755_1_20200914- 092903.ppt Unknow. (๒๕๕๖). สามคั คเี ภทคาฉันท.์ สืบคน้ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๖, http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-post_3427.html?m=1 Unknow. (๒๕๕๔). สามคั คเี ภทคาฉันท์ ชิต บรุ ทตั (เร่ืองย่อ) . สืบคน้ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖, https://www.baanjomyut.com/library_3/extension-3/harmonious/index.html