Cpfr ค ออะไร อธ บายความหมาย ม หล กการอย างไร

นวตั กรรมการจดั การธุรกจิ บทท่ี 1 บริบททางการจดั การ เป็นความจาเป็นที่ต้องเข้าใจถึงบริบททางการจัดการ ตั้งแต่พัฒนาการของแนวคิดและ ทฤษฎีการจัดการ ซึ่งเป็นการอธิบายลาดับข้ันการพัฒนาทฤษฎีการจัดการในแต่ละยุค มีท้ังแนวคิดทฤษฎี ดั้งเดิม แนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมศาสตร์ แนวคิดทฤษฎีสมัยใหม่ และแนวคิดในยุคปัจจุบัน รวมท้ัง กระบวนการจัดการ และวิถีแหง่ การจัดการสู่ธุรกิจ อยา่ งไรกต็ าม การศึกษาด้านการจัดการจะเป็นพ้ืนฐาน ต่อการศึกษาในด้านธุรกิจอย่างมาก ซึ่งผู้ศึกษาจาเป็นต้องเข้าใจความหมายและกระบวนการจัดการเพ่ือ เปน็ แนวทางการศกึ ษานวัตกรรมของการจดั การธรุ กิจตอ่ ไป ความหมายและความสาคญั ของการจัดการ มีผู้ให้ความหมายและความสาคัญของการจัดการไว้หลากหลาย ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา เช่น ทฤษฎีการจัดการของ Peter Drucker (Peter F Drucker, 1909-2005) ซ่ึงเป็นนักคิดที่บุกเบิกแนวคิดด้าน การบริหารจัดการขององค์กรธุรกิจสมัยใหม่ โดยมีแนวคิดเร่ืองการบริหารจัดการองค์กรท่ีแตกต่างอย่างมาก จากนักคิดด้านการบริหารรุ่นใหมๆ่ ท่ีการนาเสนอแนวคิดการบริหารธรุ กิจ จะมีหลักวิชาการรองรับและมีวธิ คี ิด ท่ีเป็นระบบแบบแผน แต่แนวคิดท่ีเป็นจุดเด่นของ Peter Drucker คือ ความพยายามท่ีจะเข้าใจความ ซับซ้อนต่างๆของสังคม และใช้แนวคิดท่ีได้มาจากประสบการณ์ด้านการปฏิบัติ ทฤษฎีการบริหารจัดการโดย เน้นการวางแผน (Planning) การจัดองค์การ (Organizing) การนา (Leading) การควบคุม (Controlling) รวมท้ังมีผู้ให้ความหมายท่ีสอดคล้องว่า การจัดการ หมายถึง การดาเนินงานของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ร่วมกันปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้โดยอาศัยปัจจัยทั้งหลายได้แก่คนเงินวัสดุส่ิงของ ซ่ึงนับว่าเป็น อุปกรณ์สาคัญในการดาเนินการของการจัดการนั้นๆ รวมถึงกระบวนการจัดหน่วยงานและการใช้ทรัพยากร ต่างๆให้การทางานบรรลุเป้าหมายร่วมกัน รวมท้ังเป็นกระบวนการท่ีทาให้เป้าหมายขององค์กรประสบ ความสาเรจ็ (Bartol & Martin,1991:6; Bovee & Others,1993 :5; Holt,1993 : 3; Ricky W.Griffin ,1999:4) ดังน้ันการจัดการ (Management) จึงหมายถึง ชุดของหน้าที่ต่าง ๆ (A Set of Functions) ที่กาหนดทิศทาง ในการใช้ทรัพยากรท้ังหลายอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กรการใช้ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) หมายถึงการใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาดและคุ้มค่า(Cost– effective) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right Decision) และมีการปฏิบัติการสาเร็จตามแผนท่ีกาหนดไว้ ดังน้ันผลสาเร็จของการจัดการจึงจาเป็นต้องมีทั้ง ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลควบคู่กัน หรืออีกแนวหนึ่งอาจกล่าวได้ว่า การจดั การหมายถึง กระบวนการของ การมงุ่ ไปสูเ่ ป้าหมายขององค์กรจากการทางานรว่ มกัน โดยใช้บคุ คลและทรัพยากรอน่ื ๆ ทั้งนี้ การจัดการ (Management) ยังเป็นส่วนสาคัญของกระบวนการที่ทาให้งานหรือการทา กิจกรรมต่างๆสาเร็จลงได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลด้วยคนและทรัพยากรท่ีมีอยู่ขององค์กร Robbins and DeCenzo (2004) ได้ให้ความหมายและองค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการ ได้แก่ กระบวนการ (Process) ในความหมายของการจัดการ หมายถงึ หนา้ ที่ต่างๆด้านการจดั การ ได้แก่การวางแผน 1

นวตั กรรมการจดั การธุรกจิ การจัดองค์การ การโน้มนาองค์การและการควบคุม ประสิทธิภาพ ( Efficiency) และประสิทธิผล (Effectiveness) เป็นเรื่องเก่ียวกับลักษณะการจัดการ การควบคุมการทางานอย่างถูกวิธี โดยเปรียบเทียบกับ ปัจจัยนาเข้า (Input) คือ ทรัพยากรขององค์กร คือ คน เงิน วัตถุดิบ อุปกรณ์เคร่ืองจักรและทุนทรัพยากร เหล่านี้มีจากัด เป็นต้น ทุนในการดาเนินงานขององค์กรกับผลผลิต (Outputs) ถ้าหากทางานได้ผลผลิต มากกว่าโดยใช้ปัจจัยนาเข้าน้อยหรือเท่ากัน แสดงว่าทางานได้มีประสิทธิภาพมากกว่า ดังนั้น การจัดการท่ีดี ต้องทาให้ใช้ทรัพยากรน้อยท่ีสุดและให้เกิดผลผลิตมากที่สุดส่วนประสิทธิผล (Effectiveness) คือ การทาได้ ตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลน้ัน ต้อง อาศัยความเข้าใจในสาขาวิชาอ่ืนที่เก่ียวข้องเพ่ือให้เข้าใจพ้ืนฐานเก่ียวกับพฤติกรรมของมนุษย์ ความได้เปรียบ ในการแข่งขัน การตลาดการผลิต การบัญชี การเงิน การค้าเสรี ความขัดแย้ง การใช้อานาจและความสัมพันธ์ ของมนุษย์ในสังคม (กัญญามน อินหว่าง, 2558) ทั้งนี้ Stephen Robbins and Mary Coulter (2007) การ จัดการ หมายถึง ส่ิงที่ผู้จัดการหรือผู้บริหารต้องปฏิบัติ ซ่ึงเก่ียวข้องกับการประสานงานและการดูแลงานและ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้งานและกิจกรรมสาเร็จลุล่วงไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ Bartol and Martin (1991) ได้กล่าวว่า การจัดการ หมายถึง เป็นการจัดการกระบวนการในการดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ องค์การ ประกอบด้วยการวางแผน การจัดการองค์การ การชี้นา และการควบคุมองค์การ ในส่วนของ Rue L and Byar (2002) และ สาคร สุขศรีวงศ์ (2560) แสดงใหเ้ ห็นว่า การจัดการ คือ การจัดการรูปแบบของงานที่ เก่ียวข้องกับการประสานทรัพยากรต่างๆขององค์กร ได้แก่ ท่ีดิน แรงงานและทุน เพ่ือให้สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ขององคก์ าร จากข้อมูลข้างต้นสรุปได้ว่า การจัดการสามารถแบ่งประเภทของความหมายได้หลาย ประเภท คือ ประเภทของบุคคล กลมุ่ บคุ คล องคก์ ร กลุ่มองคก์ ร รวมทั้งทรัพยากรดาเนินงาน กระบวนการ และผลลัพธ์ท่ีได้จากการจัดการ โดยพบว่า การจัดการสามารถทาให้กลุ่มบุคคลในองค์กรเข้ามาทางาน ร่วมกันเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันกับองค์กร การจัดการเป็นกระบวนการของการวางแผน การจัด องค์การ การกระตุ้น และการควบคุม ให้บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน โดยใช้ทรัพยากรบุคคลและอ่ื นๆ นอกจากนี้ยังเป็นกระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ การสั่งการ และการควบคุม ความ พยายามของสมาชิกในองค์การ และการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีองค์การกาหนดไว้ ท้งั น้ี ยังพบว่า การจัดการทรพั ยากร ประกอบด้วย การใช้งาน และการจัดวางทรัพยากรบคุ คล ทรัพยากร การเงิน ทรพั ยากรเทคโนโลยี และทรพั ยากรธรรมชาติ ซ่งึ จะช่วยการบริหารใหอ้ งค์กรตา่ งๆเจรญิ รุ่งเรอื ง ทง้ั น้ีจากลกั ษณะทางกายภาพขององค์การท่ีมีการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะสภาพแวดล้อม ภายนอกท่ีมีผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค่านิยม การเมือง และเทคโนโลยี การส่ือสาร ทาให้ความหมายของการจัดการท่ีใช้หลักการในการนาทาง หรือในส่วนของการจัดการธุรกิจ การจัดการ งาน และการจดั การคนจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง รวมทัง้ ต้องร่วมกันหาคาตอบตอ่ ไปท้ังจากความรู้ของกลุ่ม นกั วิจัย นกั วชิ าการ และประสบการณ์ตรงของผู้มปี ระสบการณ์ในการบริหารจดั การต่อไป กระบวนการจัดการ ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร ถื อ เ ป็ น หั ว ใ จ ส า คั ญ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ที่ ผู้ บ ริ ห า ร ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ใ ห้ ความสาคัญ กระบวนการจัดการมีกิจกรรมสนับสนุนหลัก 4 ประการ ได้แก่ 1) การวางแผน เป็นกิจกรรม อนั ดับแรกที่สาคัญของผู้บรหิ ารท่ีจะตอ้ งมีการตัดสินใจ ตอ้ งเตรียมการไว้ล่วงหน้า เชน่ มีการกาหนดเป้าหมาย ในการดาเนินธรุ กจิ เช่นผลิตภัณฑใ์ หม่ ดังน้นั ผู้บรหิ ารจึงต้องมีการวางแผนทีร่ อบคอบ 2) การจัดองคก์ าร เป็น 2

นวตั กรรมการจดั การธรุ กจิ Toktas-Palut, Peral., Baylav, Ecem., Teoman, Seyhan., and Altunbey, Mustafa.( 2 0 1 4 ) . “The Impact of Barriers and benefits of E-Procurement on its Adoption Decision: an Empirical Analysis.” Int. J. Production Economics. 158 (2014): 77-90. Tsenga, Ming-Lang., Wub, Kuo-Jui., and Nguyen, Thi, Thoa. (2011). “Information Technology in Supply Chain Management: a Case Study.” Procedia - Social and Behavioral Sciences. 25 (2011): 257-272. Urciuoli, Luca., Hintsa, Juha., and, Ahokas, Juha. (2013). “Drivers and Barriers Affecting Usage of ECustoms- a Global Survey with Customs Administrations Using Multivariate Analysis Techniques.” Government Information Quarterly. 30 (2013): 473-485. Vlachos, Ilias, P., Bourlakisb, Michael., and Karalis, Vassilis. ( 2 0 0 8 ) . “Manufacturer-Retailer Collaboration in the Supply Chain: Emperical Evidence from the Greek Food Sector.” International Journal of Logistics: Research and Applications. 1 1 ( August 2008): 267-277. Vlachos, Ilias, P. (2014). “A Hierarchical Model of the Impact of RFID Practices on Retail Supply Chain Performance.” Expert Systems with Applications. 41 (2014): 5-15. Wang, Eric, T.G., Shih, Sheng-Pao., Jiang, James J. Klein, Gary. (2008). “The Consistency Among Facilitating Factors and ERP Implementation Success: a Holistic View of Fit.” The Journal of Systems and Software 81 (2008): 16093-1621. Waseso, S. (2 0 1 3 ) . The influence of perceived service quality, mooring factor, and relationship quality on customer satisfaction and loyalty. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 81, 306-310. Wheelen, Thomas L.; & Hunger J. David. (2004). Strategic Management Business Policy. 9 th ed. New York: Pearson Prentice Hall. Wheelen, T. L. & Hunger, J. D. (2006). Strategic Management and Business Policy. (10th ed). New Jersey : Pearson Prentice Hall. World Business Council Sustainability Development (WBCSD). (2 0 0 0 ) . Eco-efficiency: Creatingmore value with less impact. London:WBCSE and E&Y Direct. Wright, P. M., & McMahan, G. C. (1992). Theoretical perspectives for strategic human resource management. Journal of Management. Yukl, G. (2006). Leadership in Organizations (6th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education. 211