Corolla ม เส ยงด งแกร กๆ พอข บไปเส ยงก หาย

เพอื่ รณรงค์ในเรอ่ื งนี้ ได้พฒั นาส่ือตา่ งๆ เป็นหลายภาษาตามทค่ี นในเขตป่าตน้ นาี้ ใช้สือสารกันรวมทั้ง

จักรยานยนต์ โทรทัศน์ และเคร่อื งฉายาติทัศน์ขนาดย่อมเพอี่ สะดวกและคล่องตวั ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน'์ 1ทกี รม

ปา่ ไม้

จากปี 2540 เปน็ ต้นมา ไดร้ ่วมงานกบั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ และกองทนุ ชุมชนรักปาเพีอสนับสนุนพินท!ุ

สภาพปา่ รักษาป่าดน้ นำ สรา้ งแนวกันไฟป่า โดยไม่ใหแปลกแยกไปจ่ ากวถิ ีชวิต และความเชอดงเดมของคนตนนา ในบรเิ วณพืน้ ทป่ี าอนรุ กั ษล์ ุ่มนาี้ ปิงตอนบนและล่มนี้าแม่วาง ซ่ึงครอบคลมุ พ้นื ทป่ี ากวา่ 1 แสน 2 หม่ืนไร ตลอดจน

รณรงคท์ างวิชาการ กิจกรรมดา้ นศิลปะและวฒั นธรรมในชมุ ชนเมอง เพอเชอื มโยงความผกู พนั และการมส่วนรว่ ม ในการปกปอ้ งรกั ษา "ดน้ ชวี ติ ” เอาไว้ด้วยความเข้าใจ และดว้ ยวิธีการทเี่ ปน็ มิตรตอ่ ท้งั ธรรมชาติและตอ่ ทุก ๆ คนที่เกี่ยวข้อง

หนังสอื “ตน้ ไม้เมอื งเหนอื '' เปน็ อีกกจิ กรรมหน่งึ ในโครงการ "ต้นน้าี ต้นชวี ติ " จัดพิมพข์ ้นึ ทังภาษาไทย

และภาษาองั กฤษ โดยรวบรวมผลงานจากความรกั และจติ ใจของคนเขยี น ไชมอนด์ การด์ เนอร์ พนิ ดา สิทธสิ นุ ทร และวไิ ลวรรณ อนุสารสนุ ทร ท่ีทำงานค้นควา้ มานานนบั ปีดว้ ยทนุ สนบั สนุนในการจัดเตรยี มตน้ นบบั จากธนาคารโลก เราปรารถนาทจี ะใหห้ นงั สอื เลม่ นเื ปน็ สะพานสืบทอดความรู ความรกั และความหวงแทนพรรณไมยนตนทมอยู

ในพ้ืนที่ปาทางภาคเหนือของไทย ดง้ ทา่ นพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตํโต) ไดเ้ ตอื นสติไวว้ ่า “คนในรุน่ น้ี ได้ใชท้ รัพยากรธรรมชาตไิ ปอยา่ ง

สนิ้ เปลอื ง และไม่เป็นมติ รตอ่ สภาพแวดลอ้ ม จงึ จำเปน็ ทค่ี นรุ่นนี้จก้ ตอ้ งร้จู ักเปล่ยี นแปลงแกไขตนเองตั้งแตบ่ ัดนี้

พร้อม ๆ ไปกบั ให้ความรูค้ วามเข้าใจทเ่ี ป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อมแก่คนรุ่นใหม"่ ตน้ นาี้ ให้กำเนิดปา่ น้าี และชวี ติ ความพยายามของทุก ๆ ฝา่ ย ในการปกปอ้ งรักษาไว้อยา่ งจรงิ จังเท่าน้น

จึงจะเป็นหลกั ประกนั เบืองตน้ ในการสง่ ผ่านมรดกทางธรรมชาตทิ ีสำคญั เท่าทจี ะพอมีเหลีออยู่นใื หก้ ับคนรุน่ ต่อๆ ไป

มูลนธิ โิ ตโยต้าประเทศไทย มนี าคม 2543

VI

มูลนิธ(ิ ติ(ยติ ำประเทศิเทย (Toyota Thailand Foundation - TTF)

ก่อตั้งขึ้นในเดอื นตุลาคม พ.ศ. 2535 ในโอกาสท่ี บริพIั โตโยตา มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ดำเนนิ งานมาครบรอบ 30 ปี ด้วยเงินทุนจดทะเบยี น เริมแรก 30 ลา้ นบาท ซงึ่ มลู นิธฯิ ได้นำเงนิ ดอกผล มาดำเนนิ กิจกรรมภายใตว้ ัตถุประสงคเ์ พ่อื สง่ เสริมการศึกษา พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ มรวมทงั้ กิจกรรมสาธารณประโยชน์อื่นๆ โดยร่วมมอื กบั ผ้ทู รงคณุ วุฒิ จากหนว่ ยราชการ องค์กรพัฒนาเอกชน และองคก์ รสาธารณกศุ ลต่าง ๆ

ในป้จจุบัน มลู นธิ ฯิ มีทนุ จดทะเบยี นท้งั สิน้ 250 ล้านบาท โดยกจิ กรรมต่างๆ ของมลู นธิ ฯิ ได้ ดำเนินไปอยา่ งราบรื่น และขยายขอบเขตอย่างกวา้ งขวาง ภายใต้ความตระหนักว่า ชุมชนและสังคมทเ่ี ข้มแขง็ ย่อมอยู่บนรากฐานที่มน่ั คงของการศึกษาและคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี ซึง่ จำเปน็ ต้องดำเนนิ ควบคไู่ ปพร้อมกบั การพัฒนาในด้านอ่นื ๆ ด้งนั้น ตลอดระยะเวลาท่ีผา่ นมา มลู นธิ โิ ตโยต้าประเทศไทย จึงยังคงม่งุ มัน่ ทีจ่ ะเป็น ส่วนหนึ่งในกระบวนการกอ่ สรา้ งสงั คมทด่ี ี เขม้ แข็ง และสนั ติ เพือ่ ให้สังคมไทยเปน็ สังคมทเ่ี จริญรงุ่ เรอื ง อย่างแทจ้ ริง

vii

กจิ กรรมของมลู นิธิฯ พ.ศ. 2536 - 2542

โครงการตอ่ เนอ่ื ง

♦ สนบั สนูนโครงการตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ♦ โครงการทอ้ งเรียนมาตรฐาน เด็กชนั้ กอ่ นวยั เรยี น ♦ โครงการหนงั สอื มือสอง ♦ โครงการหนังสือหอ้ งสมดุ โรงเรยี นชน้ั ประถม ♦ โครงการรางวลั มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย

(TOYOTA THAILAND FOUNDATION AWARD-TTF AWARD ) ♦ โครงการต้นนํา้ - ตน้ ชวี ิต ♦ โครงการกองทุนหมนุ เวยี นนกั เรียนพยาบาลในเขต 8 จงั หวดั ภาคเหนือ ♦ โครงการอาหารกลางวนั ''หนูรกั ผักสืเขียว’' เพ่อี พัฒนาการจดั อาหารกลางวันใน

โรงเรยี นอยา่ งย่งั ยนื และแก่ไขปญั หาการขาดสารอาหารท่จี ำเป็นตอ่ พฒั นาการของเด็ก วัยเรยี น ♦ ก่อต้งั และสนับสนนู ทุนศูนยว์ ิจยั สงิ่ แวดล้อม ณ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

โครงการและกิจกรรมพเิ ศษรว่ มกบั องคก์ รตา่ งๆ

♦ โครงการพอ่ แม่อปุ ถมั ภ์ มูลนธิ ิหมอเสม พร้งิ พวงแกว้ ♦ โครงการบา้ นตะวันใหม่ มลู นิธิปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด ♦ โครงการสง่ เสริมทางเสอื ก แรงงานคนื ถนิ่ มลู นิธเิ พอ่ี การพฒั นาเด็ก ♦ ทนุ การศกึ ษาและฟิกอาชพี สำหรับผ้ตู อ้ งขัง กรมราชฑณั ฑ์ ♦ ทนุ การศกึ ษา ''คนจนเมือง'' มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ♦ ทุนการศกึ ษาวศิ วกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยนี านาชาติสิรนิ ธร ♦ ทุนการศึกษาปริญญาโท วศิ วกรรมศาสตรก์ ารขนส่งและการจราจร

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

viii

กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ

เนอื่ งในโอกาสพระราชพธิ มี หามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 ครอบครัว โตโยต้า ซึ่งประกอบดว้ ย มูลนิธโิ ตโยต้าประเทศไทย บรษิ ทั โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกดั ชมรม ตวั แทนจำหนา่ ยโตโยตา้ ชมรมความรว่ มมอื โตโยตา้ (ผ้ผู ลติ ช้ินสว่ น) และโตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชนั่ ประเทศญีป่ ุ่น รว่ มกันดำเนนิ กจิ กรรมเฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภายไตโครงการตาม รอยพระราชปณิธาน จำนวน 7 กิจกรรม ประกอบดว้ ย

1. กอ่ ตัง้ บรษิ ัท ข้าวรชั มงคล จำกดั โรงสขี ้าวชุมชนอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ ณ นิคม อุตสาหกรรมเกตเวย์ซิตี้ จังหวดั ฉะเชิงเทรา

2. นอ้ มเกล้าฯถวายขา้ วสาร 600 ดน้ มลู ค่า 9 ล้านบาท เพอ่ื พระราชทานแก่โครงการ อาหาร กลางวัน กองทุนพฒั นาเด็กและเยาวชนในถน่ิ ทุรกันดาร ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมาร

3. รณรงคร์ ับบริจาคหนงั สอื จากประชาชนทั่วประเทศในโครงการหนังสือมือสอง 4. หนังสือเฉลิมพระเกียรติ คำพอ่ สอน ประมวลพระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสเกยี่ วกบั

เด็กและเยาวชน 5. หนังสอื เฉลมิ พระเกียรติ คมํ ึอปฏบิ ัตงิ านเพี่อการฟัฒนาอาหารเด็กในโ-รงเรียน และชมุ ชน:

ประสบการณ์อากโครงการ "หนูรกั ผกั สีเขียว" 6. หนังสอื เฉลิมพระเกียรติ From Japan to Arabia: Ayutthaya's Maritime Relations with

Asia และจดั สัมมนาวชิ าการนานาชาตทิ างประวัติศาสตร์ เรือ่ ง “อยุธยากบั เอเชยี ” 7. คอนเสริ ต์ การกุศล โตโยต้า คลาสสคิ ส์ โดยวงดรุ ิยางค์ เวียนนา ฟอลค์ ส์ โอแปร์ จากเมอื ง

เวยี นนา ประเทศออสเตรีย

IX

รายนามคณะกรรมการมลู นธิ ิโตโยตา้ ประเทศไทย

ประธานมูลนิธิ พล.ต.อ. เภา สารสนิ รองประธาน,มูลนธิ ิ Mr. Yoshiaki Muramatsu กรรมการ ดร. เสนาะ อูนากลู ดร. พสิ ิฎฐ ภัคเกษม กรรมการและเทรญั ญิก ดร. เจตน์ สุจริตกลุ กรรมการและเลขานกุ าร ดร. ชาญวทิ ย์ เกษตรคริ ิ ศ.ดร. เทียนฉาย กริ ะนันทน์ อธกิ ารบดีจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

รศ.ดร. นริศ ชัยสูตร นายเฉลา อธิการบดมี หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โฆสติ สกลุ ประธานชมรมตัวแทนจำหน่ายโตโยต้า

Mr. Yoshinori Omori ประธานชมรมความร่วมมอื โตโยตา้

นายประมนต์ สธุ ีวงศ์ นายนนิ นาท ไชยธีรภิญโญ Mr. Masaki นายเอกชยั Nakatsugawa รัตนชัยวงศ์

รายนามคณะกรรมการบริหาร มูลนธิ โิ ตโยต้าประเทศไทย

นายประมนต์ สธุ วี งศ์ ประธานคณะกรรมการ บริษัท โตโยตา มอเตอร์ ประเทศไทย จำกดั Mr. Yoshiaki Muramatsu Mr. Masaki Nakatsugawa ประธานบรษิ ัทฯ นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกรรมการบรหิ าร นายเอกชัย รตั นชยั วงศ์ รองประธานกรรมการบริหาร นายมิง่ ขวญั แสงสวุ รรณ กรรมการ จนั ทร์วเิ มลีอง กรรมการ นายสุทธิ คริ ิรัตนม์ านะวงศ์ กรรมการสมทบ นายณรงค์ชัย ผอู้ ำนวยการ ฝา่ ยประชาสมั พันธ์ และกิจกรรมสงั คม เลขานกุ ารคณะกรรมการบรหิ าร

โครงการจัดพมิ พค์ บไฟ มูลนิธเิ พี่อการศึกษาประชาธปิ ไตยและการพัฒนา คณะกรรมการ ศาสตราจารยเ์ สนห่ ์ จามริก ประธาน ทปี่ รกึ ษา ศาสตราจารย์ระพี สาครกิ กรรมการ ผูอ้ ำนวยการโครงการ จดั พิมพค์ บไฟนานาชาติ อาจารย์สุลกั ษณ์ ศิวรักษ์ กรรมการ คณะทำงานฝา่ ยจดั การ/ บรรณาธกิ าร ดร. ชยั วัฒน์ คปุ ระตกุล กรรมการ

ดร. ชัยวฒั น์ สถาอานนั ท์ กรรมการ

ธนพรรณ สทิ ธสิ ุนทร กรรมการ

ดร. สมบัติ จันทรวงศ์ พระศรปี รยิ ตั โิ มลี ประชา หุตานวุ ตั ร

ไอแวน แคทส์ ดอนนา แอนเดอร์ตนั

ดร. ชยั วัตน์ สถาอานนั ท์ ธนพรรณ สทิ ธิสุนทร สุณีย์ วงศโ์ วศยวรรณ

Xi

คำนำโครงการจัดพิมพค์ บไฟ

คงมีวธิ ีแบง่ หนงั สอื ออกเป็นสองส่วนหลายวธิ ี เชน่ กระบวนการผลติ กับกระบวนการเขียนหนงั สือ ฝา่ ย ผผู้ ลิตกับฝ่ายผอู้ ่าน หรอื ราคากับคณุ ภาพของหนงั สือ แตว่ ธิ แี บ่งหนงั สือท่ีสำคญั อกี วธิ หี น่งึ คือแบง่ ระหว่างปกกับ เนอ้ื ใน

ผู้ผลิตหนังสอื แทบทุกรายคงเห็นว่า ปกหนังสอื สำคัญ แตท่ ่ีจริงปกหนงั สอื สำคัญอย่างไร? ส่วนใหญส่ ำนกึ แรกท่ผี คู้ นสัมผัสหนงั สือนอกจากการอา่ นบทวิจารณ์ เรือ่ งย่อ หรอื ฟงั เขาเอ่ยถงึ มาแลว้ คงเปน็ ปก ปกท่งี ดงามแปลกตานอกจากจะทรงคุณค่าในตวั เองแลว้ ยงั ดึงดูดเชิญชวนผคู้ นให้เขา้ หาหนงั สอื หยบิ มา พนิ จิ พิศอา่ นในร้าน และท่ีสุดช้อื หาไปอ่านเป็นของตน ปกหนงั สือเล่มท่ีท่านถืออย่ใู นมอื ขณะน้ืเป็นผลงานของจติ รกรสำคัญ ภาพปกละเอียดงดงามและรบั กับ เน้อื เร่ืองว่าด้วยพนั ธพุ ฤกษ์แหง่ ดินแดนภาคเหนือของสยาม แตท่ ง้ั ปกทัง้ หนังสือน้ดี ำรงอยใู นบริบททางสังคมชนดิ หน่ึง ภายในบรบิ ทสงั คมไทยปัจจุบนั ความขดั แย้งนานาชนิดปรากฏแพร่กระจายใหเ้ ห็นท่วั ไปโดยเฉพาะท่ี เกยี่ วพนั ลึกล้าํ ในเรอ่ื งความสัมพันธร์ ะหวา่ งมนษุ ยก์ ับธรรมชาติ คำถามวา่ มนษุ ย์อยู่และ “ควรอย’ู่ ' กับธรรมชาติในลักษณ์ใด เป็นฐานทางความคดิ แหง่ ความขดั แย้งท่ี สะท้อนให้เหน็ ในรปู ของการจัดการกับธรรมชาตอิ ย่างปาและน้ีา ในสภาพที่ทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปล่ียนแปลงผุกรอ่ น เพราะภยั จากทศิ ทางการพัฒนาประเทศที่เห็นวตั ถุเป็นประธานจนหมดความอาทรตอ่ ธรรมชาตมิ านานปี บางฝา่ ยเห็นวา่ ธรรมชาตศิ กั ดสี้ ทิ ธีไ้ ม่ควรแปดเปอี นดว้ ยมือมนุษย์ ดงั นั้นมนษุ ยจ์ งึ ควรอยู่ใหไ้ กลจาก ดนิ แดนป่าเขา เก็บรักษาไวใ้ หเ้ ปน็ แหง่ นื้าหล่อเลยี้ งแผ่นดิน ในขณะท่ีอีกบางฝา่ ยเห็นวา่ มนษุ ยบ์ างหมูบ่ างเหล่าอยู่ รว่ มกบั ธรรมชาติชนิดทีแ่ ยกกันไม่ออก ธรรมชาตหิ ล่อเลยี้ งชีวิตและมนษุ ยเ์ หล่านั้นแมืใช้ประโยชนจ์ ากปาเขา แตก่ ็เคารพ มิไดท้ ำลายให้สน้ิ สูญไปเหมือนอุตสาหกรรมบางชนิด เพราะมนษุ ย์กเ็ ป็นส่วนหนึง่ ของธรรมชาตเิ ช่นกนั โจทย์ทางความคิดเก่ียวกบั ระบบนเิ วศในต้นคริสตศ์ ตวรรษใหม่นมื้ ิไดร้ าบเรยี บง่ายใด เหมอื นจะถามว่า คนอยูก่ ับปาไดห้ รอื ไม่ เพราะในขณะทป่ี าเสิอ่ มลงดว้ ยฤทธข้ี องผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ และทศิ ทางการพัฒนา ของรัฐ คนเองแม้อยูก่ ับปามานานนัก แต่คนกเ็ ปลีย่ นไปดว้ ย “คบไฟ,' มิได้พยายามจะใหค้ ำตอบในเรื่องนี้ แต่พยายามทำหนา้ ทีจ่ ดุ ไฟทางปญั ญาเพื่อขบั ไลแ่ มลงรา้ ย และความมืด "คบไฟ” หวงั ว่าเมื่อสวา่ งข้ึนคนคงเหน็ โลกไดห้ ลากมมุ หลายด้านข้นึ เมอ่ื ปลอดจากภัยแมลงคนคง พนิ ิจพจิ ารณาปญั หาสิ่งแวดล้อมกับมนษุ ย์ได้อย่างตรติ รองยิง่ ข้ึน และคงค้นหาวธิ ีอยูด่ ้วยกันกบั โลกและผคู้ นที่ หลากหลายแตกตา่ งดว้ ยปญั ญาและอาทรได้ดขี นึ้

ดร. ชัยวัฒน์ สถาอานน้ ท์ กรรมการโครงการจดั พมิ พค์ บไฟ

พฤษภาคม 2543

xii

คำนำ

ขา้ พเจ้าขอขอบคุณ โครงการจดั พมิ พ์คบไฟ มูลนธิ เิ พื่อการศกึ ษาประชาธปิ ไตยและการพัฒนา ที่ได้ กรณุ าใหเ้ กยี รตแิ กข่ า้ พเจ้าเปน็ ผเู้ ขียนคำนำให้กับหนังสือเรื่อง ต้นไม้เมอื งเหนือ ะ คมู่ อื ศึกษาพรรณไมย้ ืนตน้ ในปา่ ภาคเหนือประเทศไทย จดั ทำโดย ไชมอน การด์ เนอร์ พินดา สทิ ธสิ นุ ทร และวิไลวรรณ อนุสารสุนทร

จากความรูส้ กึ ของคนท่ัวไป เม่อื นกึ ถงึ ต้นไม้ ดอกไม้ หลายคนมักมีแนวโนม้ ม่งุ มาทขี่ า้ พเจ้า ในกรณี นก้ี ็เชน่ กัน ทกุ สงิ ทกุ อยา่ งมองเห็นไดส้ องด้านอย่างเปน็ ธรรมชาติ แมม้ องทเี่ ร่ืองราวเกีย่ วกับต้นไม้ ย่อมไมค่ วร มองข้ามข้อมลู ทเ่ี กีย่ วกบั ธรรมชาติของคน ซงึ่ ควรจะเข้าใจธรรมชาตขิ องสิง่ ใดกต็ ามทีต่ นสนใจเกย่ี วขอ้ ง หาก นำเอาหลักความจริงซึง่ ชไั้ ว้อยา่ งชัดเจนวา่ ทุกสิงมีเหตมุ ผี ลอยทู่ คี่ น

ด้งนั้นในกรณีท่ไี ดร้ บั การขอร้องให้เขยี นคำนำของหนังสือซง่ึ เก่ยี วกับตน้ ไมเ้ พื่อการศึกษา ชวน ใหค้ ดิ ว่าคงไมเ่ พียงถือกรอบกำหนดไวแ้ ค่พรรณไม้เมืองเหนือเทา่ นัน้ หากสามารถขุดค้นความจริงได้ถงึ รากฐาน กค็ งจะทราบเจตนาของข้าพเจ้าไดว้ า่ เป้าหมายในการเขียนนมี้ งุ่ ไปยังคนและควรมองสองด้านรว่ มกนั กลา่ วคือ ท้งั ผู้มีส่วนรว่ มในการจัดทำและผทู้ สี่ นใจศึกษาหาความรู้ จากผลงานซงึ่ ปรากฏอยู่ในหนังสือเล่มน้ี

ข้าพเจ้าไดพ้ ิจารณาถงึ เจตนารมณ์ของผทู้ รี่ ่วมกนั จัดทำหนงั สอื เร่อื งนี้ และพยายามหาเหตผุ ลเชอ่ื มโยง ถึงผอู้ ่านเพอื่ หวงั ศึกษาหาความรู้ หากทง้ั สองด้านเข้าใจธรรมชาตขิ องสง่ิ ซ่งึ ปรากฏอยูใ่ นหนงั สือเลม่ นีอ้ ยา่ ง ถงึ แกน่ แล้ว กน็ า่ จะไดร้ ับประโยชนท์ ั้งสองฝ่าย

นอกจากนนั้ ทากไมม่ องอยา่ งยดึ ตดิ อยู่แต่ขอ้ มลู ท่เี กี่ยวกับพรรณไม้ชนิดต่างๆ ซ่ึงมกี ารจำแนก แยกแยะออกมาเปน็ หมวดเป็นหมู่ ย่งิ มกี ารกำหนดกรอบไวเ้ ฉพาะพรรณไมย้ นื ตน้ อกี ทง้ั ของภาคเหนือด้วย ยอ่ ม เข้าใจไดแ้ จม่ แจง้ วา่ สิง่ เหลา่ นเ้ี กิดจากความต้องการของคน คณะผจู้ ัดทำก็คงจะตอ้ งการให้ข้อมูลทปี่ รากฏออกมา ในหนงั สอื เพือ่ ส่ือถึงผ้อู ่าน ส่วนผสู้ นใจหาความรู้จากหนังสอื กค็ งตอ้ งการทจ่ี ะได้รบั ความรูเ้ ป็นสงิ่ ตอบสนอง

ดังนัน้ หากมองทีภ่ าพรวม กน็ า่ จะเห็นไดส้ องประการด้วยกนั กล่าวคือ ประการแรกขอ้ มูลความรู้ ภายในหนงั สอื เลม่ นค้ี วรจะทำหน้าทเี่ ปน็ สอื่ ธรรมชาติทีส่ านความเขา้ ใจระหว่างคณะผจู้ ัดทำกบั ผู้อา่ นให้เกดิ ประโยชนร์ ่วมกัน และใครข่ อเนน้ ความสำคัญว่า คนมีรากฐานจติ ใจเปน็ ส่งิ กำหนดทศิ ทางการปฏิบตั ิ ในอนั ที่ จะนำไปสูก่ ารสร้างสรรคห์ รอื ทำลายก็ได้

ดง้ นนั้ ส่ือสมั พันธ์จากหนงั สอื เล่มนี้ นา่ จะมุ่งไปที่ความสัมพนั ธท์ างจิตใจระหว่างคนซงึ่ มีโอกาสใช้ ขอ้ มูลในหนงั สือเป็นส่ือสรา้ งความเข้าใจเปน็ อนั ดับแรก ทง้ั น้แี ละทั้งน้ัน เพอื่ จะไดช้ ว่ ยใหม้ ีการกำหนดทิศทาง มุ่งไปสปู่ ระโยชนส์ ุขรว่ มกนั ซ่ึงสิ่งน้ีจะเกดิ ไดจ้ ำเปน็ ต้องมคี วามจริงใจและความมีใจกวา้ งเข้าหากัน

ถา้ คณะผูจ้ ัดทำมคี วามจริงใจทีจ่ ะให้แก่สงั คมอยา่ งแทจ้ ริงแล้ว ขา้ พเจ้าเชือ่ มัน่ วา่ ผูท้ สี่ นใจอา่ นหนังสอื เล่มนี้น่าจะเป็นกลมุ่ บคุ คลทม่ี คี วามจรงิ ใจสอดคล้องกนั ที่เข้ามาพบกนั อยา่ งเป็นธรรมชาติ ทง้ั นแี้ ละท้งั นนั้ เนือ่ งจากธรรมชาตขิ องมนุษย์ ผทู้ ม่ี รี ากฐานความรสู้ ึกนกึ คิดสอดคล้องกัน ยอ่ มมวี ถิ ที างซึ่งนำมาพบกันและเกดิ ความผูกพันซึง่ กันและกนั เปน็ สัจธรรม

อนั ดับทสี่ อง นอกจากมุ่งความสำคญั ทีค่ นแลว้ หากหวนกลบั มาพิจารณาขอ้ มลู เกี่ยวกบั ต้นไม้ซึง่ หนงั สือเล่มนไี้ ด้เนน้ เปา้ หมายไปยงั ตน้ ไม้เมืองเหนือ แต่ขา้ พเจา้ กเ็ ชอ่ื ว่า หากเข้าใจไดถ้ ึงแกน่ แท้มากเพียงใด

xiii

กรอบซง่ึ กำหนดไว้ว่าเป็นตน้ ไม้เมืองเหนอื ก็คงจะถูกละลายหายไป ช่วยใหม้ ีโอกาสนำความร้มู าใช้ไดก้ ับ พรรณไมจ้ ากทุกภาค และยงั สามารถสานความคดิ เลยไปถงึ ทุกทอ้ งถิ่นในโลก

ในเมือ่ ชว่ งหลังๆ เรามักกลา่ วถึงประเด็นของโลกาภิวฒั น์ ซึ่งหากมองถงึ สจั ธรรมของคนดว้ ยความ เข้าใจอย่างแท้จริงแล้ว กน็ า่ จะรวู้ ่า โลกาภวิ ฒั นใ์ นดา้ นจติ ใจ ซ่ึงหมายถึงคุณธรรมและจรยิ ธรรมย่อม เกิดข้ึนจากโลกทีไ่ ม่มีเปลือกนอก ซึง่ โลกใบนีท้ กุ คนสามารถค้นพบความจริงไดจ้ ากรากฐานจติ ใจตนเองอยา่ ง

อิสระ

การใชห้ นังสอื ซึ่งพิมพอ์ อกเผยแพร่ความรูใ้ ห้เกิดประโยชนอ์ ยา่ งแท้จริง ก่อนอ่ืนควรเข้าใจว่าเน้อื หา

สาระในหนังสอื คือผลสำเร็จรปู ซึง่ ได้รบั การคดิ และทำขึน้ โดยมนุษย์

หนังสือเผยแพรค่ วามร้จู งึ เป็นสงิ่ ซง่ึ มนษุ ยป์ ระดิษฐข์ ้นึ โดยพยายามเลียนแบบธรรมชาตใิ ห้มากที่สุด

แต่มนุษย์ย่อมมีกิเลส ดงั น้นั เนอื้ หาสาระในหนังสือจึงถูกแฝงไวด้ ว้ ยเงือ่ นไขท่ีเกิดจากกเิ ลสมนษุ ย์ ยง่ิ มีกิเลส

หนา ส่ิงทอี่ ยู่ในหนงั สอื ย่อมหา่ งจากความจริงมากขน้ึ

ดง้ นน้ั แมอ้ าจพบวา่ ภายในเน้ือหาสาระของหนังสือเล่มนืม้ ีการจดั จำแนกพรรณไม้ออกเป็นหมวด

เป็นหมู่ แตช่ ่วงหลงั ๆ กเ็ ริม่ มีความขัดแย้งเกดิ ขึน้ ระหวา่ งผู้ซึ่งถูกเรียกวา่ นักวชิ าการเองไมว่ ่ามนษุ ยจ์ ะพยายาม

กำหนดระบบและกฎเกณฑอ์ ย่างละเอยี ด รวมทงั้ ใหม้ ีการอ้างอิงหลกั ฐาน แต่ถ้าเขา้ ใจความจรงิ ย่อมเหน็ ไดว้ า่

มนุษยเ์ องน่นั แหละทพี่ ยายามสร้างเงอ่ื นไขเพ่ือหวงั ใหค้ นอ่นื เชือ่ สิ่งซ่งึ ตนทำไว้

ถา้ เราเข้าใจไดอ้ ยา่ งลกึ ชึ้งกน็ ่าจะพบความจรงิ วา่ การจัดหมวดจัดหมู่ของพรรณไม้น้นั เกิดจากความคดิ

ของมนุษยท์ ง้ั สิ้น แตธ่ รรมชาตทิ แี่ ทจ้ ริงน้ันไม่มกี ารแบง่ แยกขอบเขต หากมีการสานถงึ กนั เปน็ เน้อื เดยี วอยา่ ง

มีเหตุมผี ล มนษุ ย์ตา่ งหากท่ียดึ ติดอยกู่ บั สิ่งสมมตุ จิ ึงทำให้เกดิ ภาวะปดิ กน้ั ความเขา้ ใจ ซงึ่ ควรจะมุ่งลกึ ลงไป