Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv

MITSUBISHI Circuit Protector

เบรกเกอร์ป้องกันวงจรควบคุม 2P 1-M 2A รุ่น CP30-BA

เบรกเกอร์ป้องกันวงจรควบคุม ใช้ป้องกัน

  • ป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร ไฟรั่ว ไฟช็อต
  • ป้องกันวงจรควบคุมในตู้คอนโทรล
  • ติดตั้งบนราง Din Rail ได้

***รายละเอียดเบรกเกอร์ป้องกันวงจรควบคุม MITSUBISHI

Frame (A) 30 Type CP30-BA Number of poles 1 2 3 Rated Voltage (V) AC 250 DC 65 AC 250 DC 125 AC 250 AC-DC common use Rated Impulse Voltage Uimp (kV) 2.5 Rated Current (A) 0.1, 0.25, 0.3, 0.5, 1, 2, 3, 5, 7, 10, 15, 20, 30 Short Circuit Rating (A) AC 125V - 240V 2500 250V - DC 60V 2500 - - 120V - 2500 - Operating Characteristics Instantaneous type (l), Medium speed type (M), Slow type (S) Tripping System Instantaneous type (l) : magnetic only Other type (M,MD,S) : hydraulic magnetic

Specification

Brand MITSUBISHI Part Number CP30-BA Product Circuit Protector Poles description 2P Rated current 2A

Dimension

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv

****ซื้อสินค้ามั่นใจ ได้ของ 100 %****

****ต้องการ ใบเสนอราคา

กรุณา โทร เข้าออฟฟิศได้ค่ะ ทางพนักงาน ยินดีทำงานเอกสารในนาม บริษัท สยามการไฟฟ้า-เครื่องเย็น จำกัด

ขอบคุณมากค่ะ

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv

3. High Voltage Circuit Breakers เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง จะติดตั้งในการส่งกำลังไฟฟ้าที่ต้องมีการป้องกันและควบคุมโดยเซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง งานส่งกำลังจะมีขนาดแรงดันไฟ 72.5 kV หรือสูงกว่า ตัวอย่างเช่น Solenoid Circuit Breaker เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟสูงจะทำงานด้วยขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีรีเลย์ตรวจจับกระแสไฟที่ทำงานผ่านหม้อแปลงกระแสไฟฟ้าอีกที ในส่วนของชุดรีเลย์ป้องกันที่ซับซ้อนนั้น ช่วยป้องกันอุปกรณ์จากโหลดเกินหรือไฟรั่วลงดินได้

เบรกเกอร์เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่ในการตัดวงจรไฟฟ้าแบบอัตโนมัติเมื่อเกิดความผิดปกติในระบบ เพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับสายไฟ โหลด Load (เช่น มอเตอร์, Generator หรือ อุปกรณ์ไฟฟ้า)

1 เบรกเกอร์สามารถแบ่งตามขนาดเป็น 3 ประเภท

1.1 MCB : Miniature Circuit Breaker (เบรกเกอร์ลูกย่อย) มีค่ากระแสน้อยกว่าหรือเท่ากับ 100 A ส่วนใหญ่ใช้ภายในบ้านพักอาศัย ติดตั้งภายในตู้ Consumer หรือ ตู้ Load Center

1.2 MCCB : Moulded Case Circuit Breaker(โมลเคสเซอร์กิตเบรกเกอร์) มีค่ากระแสน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1600 A

1.3 ACB : Air Circuit Breaker(แอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์) มีค่ากระแสน้อยกว่าหรือเท่ากับ 6300 A

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่ 1 : ประเภทของเบรกเกอร์ทั้ง 3 ประเภทตามขนาด

2 หลักการทำงานของเบรกเกอร์ แบ่งออกเป็น 2 แบบ Thermomagnetic และ Electronic

2.1.Thermomagnetic เบรกเกอร์แบบ Thermomagnetic ใช้หลักการทำงานทางความร้อน โดยการแปลงกระแสไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่2 : ภายในของเบรกเกอร์ Thermomagnetic

2.1.1 เบรกเกอร์แบบ Thermomanetic มีฟังกชั่นการป้องกัน 2 แบบ

  1. การป้องกันกระแสโหลดเกิน (Overload) หรือที่เรียกว่า Function L ใช้หลักการป้องกันแบบ Bimetal
  2. การป้องกันกระแสลัดวงจร (Short Circuit) หรือที่เรียกว่า Function I ใช้หลักการป้องกันแบบ Electromagnetic coil

2.1.2 เบรกเกอร์แบบThermomagnetic มีให้เลือก 3 แบบ TMF, TMD และ TMA

  1. เบรกเกอร์รุ่น TMF ไม่สามารถปรับตั้งค่ากระแสที่ใช้งานได้
  2. เบรกเกอร์รุ่น TMD สามารถปรับตั้งค่ากระแสโหลดเกิน(Overload L)ได้ตั้งแต่ 0.7-1 เท่า
  3. เบรกเกอร์รุ่น TMA สามารถปรัปตั้งค่าได้ทั้งกระแสโหลดเกิน(Overload L)และกระแสลัดวงจร(Short Circuit I)

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่ 3 : รูปตัวอย่างของเบรกเกอร์ Thermomagnetic รุ่นที่เป็น TMF ไม่สามารถปรับตั้งค่ากระแสที่ใช้งานได้
Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่ 4 : รูปตัวอย่างของเบรกเกอร์Thermomagnetic รุ่นที่เป็น TMD สามารถปรับตั้งค่ากระแสโหลดเกิน(Overload L)ได้ตั้งแต่ 0.7-1 เท่า
Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่ 5 : รูปตัวอย่างของเบรกเกอร์Thermomagnetic รุ่นที่เป็น TMA สามารถปรับตั้งค่าได้ทั้งกระแสโหลดเกิน(Overload L)และกระแสลัดวงจร(Short Circuit I)

2.2.Electronic เบรกเกอร์แบบ Electronic ใช้การวัดค่ากระแสใช้งานจริงด้วย CT และส่งค่าที่วัดได้ไปทำการคำนวนด้วยระบบ Microcontroller

2.2.1 เบรกเกอร์แบบ Electronic มีฟังกชั่นการป้องกันให้เลือกทั้งหมด 4 แบบ

  1. ฟังก์ชัน L การป้องกันกระแสโลดเกิน Overload
  2. ฟังก์ชัน S การป้องกันกระแสลัดวงจรแบบหน่วงเวลา Short circuit with delay time
  3. ฟังก์ชัน I การป้องกันกระแสลัดวงจรแบบทันทีทันใด Instantaneous Trip
  4. ฟังก์ชัน G ground fault

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่6 : ฟังกชั่นของเบรกเกอร์ Electronic

ข้อเปรียบเทียบระหว่างเบรกเกอร์แบบ Thermomagnetic และ เบรกเกอร์แบบ Electronic

3.1 ข้อดีข้อเสีย ของเบรกเกอร์แบบ Thermomagnetic

3.1.1ข้อดี

  1. เบรกเกอร์ Thermomagnetic สามารถใช้งานได้ทั้งระบบไฟแบบ AC และ DC
  2. เบรกเกอร์ Thermomagnetic มีราคาถูกว่าเบรกเกอร์ Electronic

3.1.2 ข้อเสีย

  1. เนื่องจากเป็นเบรกเกอร์ที่ต้องเปลี่ยนกระแสไฟฟ้าเป็นความร้อน อุณภูมิภายนอกจึงส่งผลกระทบต่อความแม่นยำในการวัดค่ากระแสของเบรกเกอร์

3.2 ข้อดีข้อเสีย ของเบรกเกอร์แบบ Electronic

3.1.1ข้อดี

  1. เบรกเกอร์แบบ Electronic สามารถวัดค่ากระแสได้แม่นยำ
  2. เบรกเกอร์แบบ Electronic มีความสามารถในการตั้งค่าเวลาและกระแสทำงานได้
  3. เบรกเกอร์แบบ Electronic บางรุ่นสามารถเรียกดูประวัติการทริปของเบรกเกอร์ได้

3.1.2 ข้อเสีย

  1. เบรกเกอร์แบบ Electronic สามารถใช้ได้กับระบบไฟฟ้า AC เท่านั้น
  2. เบรกเกอร์ Electronic มีราคาแพงกว่า เบรกเกอร์ Thermomagnetic

Circuit protector เบรกเกอร ป องก นวงจรควบค ม 8nv
รูปที่7 : ตารางเปรียบเทียบระหว่างเบรกเกอร์แบบ Thermomagnetic และ เบรกเกอร์แบบ Electronic

สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าของเบรกเกอร์

สัญลักษณ์ทางไฟฟ้าของเบรกเกอร์คือข้อมูลจำเพาะของเบรกเกอร์แต่ละตัว ที่ผู้ใช้ต้องกำหนดค่าต่างๆให้เหมาะกับสภาพการใช้งาน

Circuit protector ทําหน้าที่อะไร

เบรกเกอร์ป้องกันวงจรควบคุม ใช้ป้องกัน ป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร ไฟรั่ว ไฟช็อต ป้องกันวงจรควบคุมในตู้คอนโทรล ติดตั้งบนราง Din Rail ได้

HV Circuit Breaker คืออะไร

3. High Voltage Circuit Breakers เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง จะติดตั้งในการส่งกำลังไฟฟ้าที่ต้องมีการป้องกันและควบคุมโดยเซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง งานส่งกำลังจะมีขนาดแรงดันไฟ 72.5 kV หรือสูงกว่า ตัวอย่างเช่น Solenoid Circuit Breaker เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันไฟสูงจะทำงานด้วยขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีรีเลย์ตรวจจับ ...

ACB กับ MCCB ต่างกันอย่างไร

ACB มีความแข็งแรง ทนกระแสลัดวงจรได้สูง มีค่า Icw (Rated Short-Time Withstand Current) หรือค่าที่อุปกรณ์จะทนค่ากระแสลัดวงจรได้โดยที่อุปกรณ์ไม่เสียหายได้นาน 1s (วินาที) ในขณะที่ MCCB จะทนกระแสลัดวงจรได้เพียง 10-20 ms (มิลลิวินาที)

RCCB Type A กับ B ต่างกันอย่างไร

5.1 อุปกรณ์ตัดไฟรั่ว RCD TYPE B คือ สามารถตัดไฟรั่ว AC ที่ ≤ 30 mA. และ DC ที่ <6 mA. 5.2 อุปกรณ์ตัดไฟรั่ว RCD TYPE A คือ สามารถตัดไฟรั่ว AC ที่ ≤30 mA. และมีฟังช์ชั่นการตรวจจับ การรั่วไหลของ DC ที่ <6 mA.