การแยกแก สธรรมชาต ป โตรเล ยม ม.6 เคม บทท 12

คร่ึงชีวิตของไอโซโทปกมั มันตรงั สี ไอโซโทปทแี่ ผร่ งั สีไดเ้ นอื่ งจากนิวเคลยี สไมเ่ สถยี ร เรยี กวา่

ไอโซโทปกมั มันตรังสสี าหรับธาตกุ มั มนั ตรงั สเี ป็นธาตุท่ีทุก

ไอโซโทปสามารถแผ่รังสไี ด้รังสีที่เกิดข้นึ เช่น รังสีแอลฟา

รังสบี ตี ารงั สีแกมมา โดยคร่ึงชวี ิตของไอโซโทปกมั มันตรังสี

เป็นระยะเวลาทไ่ี อโซโทปกมั มนั ตรงั สีสลายตัวจนเหลือ

ครง่ึ หนง่ึ ของปรมิ าณเดมิ ซ่งึ เปน็ ค่าคงที่เฉพาะของแต่ละ

ไอโซโทปกมั มนั ตรงั สี

๑๒. สบื ค้นขอ้ มลู และ • สมบัตบิ างประการของธาตแุ ตล่ ะชนดิ ทาให้สามารถนา

ยกตัวอยา่ งการนาธาตมุ าใช้ ธาตุไปใชป้ ระโยชนใ์ นด้านตา่ ง ๆไดอ้ ยา่ งหลากหลาย ทั้งน้ี

ประโยชน์รวมท้งั ผลกระทบต่อ การนาธาตไุ ปใช้ตอ้ งตระหนกั ถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ สิ่งมีชวี ติ

สิ่งมชี ีวิตและสิง่ แวดลอ้ ม และสง่ิ แวดล้อมโดยเฉพาะสารกมั มนั ตรังสซี ่งึ ตอ้ งมกี าร

จัดการอยา่ งเหมาะสม

๑๓. อธบิ ายการเกดิ ไอออนและ • สารเคมีเกดิ จากการยึดเหนย่ี วกนั ดว้ ยพันธะเคมซี ่ึง

การเกิดพนั ธะไอออนกิ โดยใช้ เก่ยี วขอ้ งกบั เวเลนซ์อิเล็กตรอนที่แสดงไดด้ ้วยสัญลกั ษณ์

แผนภาพหรอื สญั ลักษณ์แบบจุด แบบจดุ ของลวิ อิส โดยการเกิดพนั ธะเคมสี ่วนใหญ่เปน็ ไป

ของลิวอิส ตามกฎออกเตต • พันธะไอออนกิ เกิดจากการยึดเหนี่ยว

ระหว่างประจุไฟฟ้าของไอออนบวกกับไอออนลบสว่ นใหญ่

13

ช้ัน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนร้เู พม่ิ เติม

๑๔. เขยี นสูตร และเรยี กชื่อ ไอออนบวกเกดิ จากโลหะเสยี อเิ ลก็ ตรอนและไอออนลบเกดิ

สารประกอบไอออนกิ จากอโลหะรับอเิ ล็กตรอนสารประกอบท่เี กดิ จากพันธะไอออ

นกิ เรียกวา่ สารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิกไม่

อยู่ในรูปโมเลกุล แตเ่ ปน็ โครงผลึกท่ปี ระกอบด้วยไอออน

บวกและไอออนลบจัดเรียงตัวต่อเนื่องกันไปทั้งสามมติ ิ

• สารประกอบไอออนกิ เขยี นแสดงสตู รเคมีโดยให้สัญลักษณ์

ธาตทุ ่ีเป็นไอออนบวกไวข้ ้างหน้าตามด้วยสัญลกั ษณธ์ าตุท่ี

เป็นไอออนลบ โดยมตี วั เลขแสดงอตั ราสว่ นอยา่ งตา่ ของ

จานวนไอออนทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบ

• การเรียกชอ่ื สารประกอบไอออนกิ ทาไดโ้ ดยเรยี กชือ่

ไอออนบวกแล้วตามดว้ ยช่ือไอออนลบสาหรับสารประกอบ

ไอออนกิ ท่เี กิดจากโลหะท่มี ีเลขออกซเิ ดชันได้หลายคา่ ตอ้ ง

ระบุเลขออกซิเดชันของโลหะด้วย

๑๕. คานวณพลังงานท่ีเก่ียวขอ้ ง • ปฏิกริ ยิ าการเกิดสารประกอบไอออนิกจากธาตเุ กี่ยวขอ้ ง

กับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบ กบั ปฏิกิริยาเคมหี ลายขัน้ ตอน มที งั้ ทีเ่ ป็นปฏิกิรยิ าดูด

ไอออนกิ จากวฏั จกั รบอรน์ -ฮา พลังงานและคายพลังงานซง่ึ แสดงได้ดว้ ยวฏั จักรบอร์น-ฮา

เบอร์ เบอร์และพลงั งานของปฏิกริ ิยาการเกดิ สารประกอบไอ

ออนิกเปน็ ผลรวมของพลงั งานทกุ ขัน้ ตอน

๑๖. อธบิ ายสมบตั ิของ • สารประกอบไอออนิกสว่ นใหญม่ ลี กั ษณะเป็นผลกึ ของแขง็

สารประกอบไอออนกิ เปราะ มจี ุดหลอมเหลวและจุดเดือดสงู ละลายนา้ แลว้ แตก

ตวั เป็นไอออนเรียกว่า สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์เมือ่ เป็น

ของแขง็ ไม่นาไฟฟา้ แต่ถา้ ทาใหห้ ลอมเหลวหรอื ละลายใน

นา้ จะนาไฟฟา้ • สารละลายของสารประกอบไอออนิกแสดง

สมบัตคิ วามเป็นกรด–เบส ตา่ งกนั สารละลายของ

สารประกอบคลอไรด์มสี มบัติเป็นกลาง และสารละลายของ

สารประกอบออกไซด์มสี มบัติเปน็ เบส

๑๗. เขยี นสมการไอออนกิ และ • ปฏิกริ ยิ าของสารประกอบไอออนิก สามารถเขียนแสดง

สมการไอออนกิ สุทธิของปฏิกริ ยิ า ดว้ ยสมการไอออนกิ หรอื สมการไอออนกิ สทุ ธโิ ดยท่ีสมการ

ของสารประกอบไอออนิก ไอออนิกแสดงสารต้งั ต้นและผลิตภัณฑ์ทุกชนดิ ที่แตกตัวได้

ในรปู ของไอออนสว่ นสมการไอออนกิ สุทธิแสดงเฉพาะ

14

ช้ัน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรเู้ พิ่มเติม

ไอออนท่ีทาปฏิกิรยิ ากัน และผลิตภณั ฑ์ท่เี กิดขนึ้

๑๘. อธบิ ายการเกิดพันธะโคเว • พันธะโคเวเลนต์เปน็ การยึดเหน่ยี วที่เกดิ ขึน้ ภายในโมเลกุล

เลนต์แบบพนั ธะเด่ยี วพันธะคู่และ จากการใชเ้ วเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกันของธาตุซ่ึงส่วนใหญ่

พนั ธะสาม ดว้ ยโครงสร้างลิวอสิ เปน็ ธาตอุ โลหะ โดยทั่วไปจะเป็นไปตามกฎออกเตต สารท่ี

ยดึ เหนีย่ วกันด้วยพนั ธะโคเวเลนต์

เรยี กว่า สารโคเวเลนตพ์ ันธะโคเวเลนตเ์ กิดได้ทง้ั พันธะเดีย่ ว

พันธะคแู่ ละพนั ธะสาม ซงึ่ สามารถเขยี นแสดงไดด้ ้วย

โครงสรา้ งลิวอิส โดยแสดงอเิ ล็กตรอนครู่ ว่ มพนั ธะด้วยจดุ

หรือเส้น และแสดงอเิ ลก็ ตรอนคโู่ ดดเด่ียวของแตล่ ะอะตอม

ดว้ ยจุด

๑๙.เขียนสตู ร และเรยี กชือ่ สาร • สตู รโมเลกุลของสารโคเวเลนตโ์ ดยท่ัวไปเขยี นแสดงด้วย

โคเวเลนต์ สญั ลักษณข์ องธาตุเรยี งลาดบั ตามค่าอเิ ลก็ โทรเนกาติวติ จี าก

นอ้ ยไปมากโดยมตี ัวเลขแสดงจานวนอะตอมของธาตทุ ี่มี

มากกวา่ ๑ อะตอมในโมเลกุล

• การเรยี กชือ่ สารโคเวเลนตท์ าได้โดยเรยี กชื่อธาตุที่อยู่หนา้

กอ่ น แล้วตามด้วยชื่อธาตุทีอ่ ยู่ถดั มาโดยมีคานาหนา้ ระบุ

จานวนอะตอมของธาตุที่เปน็ องคป์ ระกอบ

๒๐. วเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทียบ • ความยาวพนั ธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ข้นึ กบั

ความยาวพนั ธะและพลังงาน ชนิดของอะตอมคู่รว่ มพันธะและชนิดของพันธะ โดยพนั ธะ

พนั ธะในสารโคเวเลนตร์ วมทั้ง เดี่ยว พันธะค่แู ละพันธะสาม มีความยาวพันธะและพลงั งาน

คานวณพลงั งานท่เี ก่ียวข้องกบั พนั ธะแตกตา่ งกัน นอกจากน้โี มเลกุลโคเวเลนตบ์ างชนดิ มี

ปฏกิ ริ ยิ าของสารโคเวเลนต์จาก คา่ ความยาวพนั ธะและพลังงานพนั ธะแตกต่างจากของ

พลังงานพนั ธะ พนั ธะเด่ยี ว พนั ธะค่แู ละพนั ธะสามซึง่ สารเหล่านส้ี ามารถ

เขียนโครงสรา้ งลวิ อสิ ทเ่ี หมาะสมไดม้ ากกวา่ ๑ โครงสรา้ ง ท่ี

เรยี กวา่ โครงสรา้ งเรโซแนนซ์

• พลงั งานพันธะนามาใช้ในการคานวณพลังงานของ

ปฏกิ ริ ิยา ซง่ึ ไดจ้ ากผลต่างของพลงั งานพนั ธะรวมของสารต้ัง

ต้นกบั ผลิตภัณฑ์

15

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พ่มิ เติม

๒๑. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเว • รูปร่างของโมเลกุลโคเวเลนต์อาจพจิ ารณาโดยใชท้ ฤษฎี

เลนตโ์ ดยใช้ทฤษฎกี ารผลัก การผลักระหว่างคูอ่ เิ ลก็ ตรอนในวงเวเลนซ์ (VSEPR) ซ่ึง

ระหวา่ งคอู่ เิ ล็กตรอนในวงเวเลนซ์ ข้นึ อยกู่ บั จานวนพนั ธะและจานวนอิเล็กตรอนคู่โดดเด่ยี ว

และระบุสภาพขั้วของโมเลกลุ รอบอะตอมกลางโมเลกุลโคเวเลนตม์ ีทัง้ โมเลกุลมขี วั้ และไม่

โคเวเลนต์ มีขว้ั สภาพข้ัวของโมเลกุลโคเวเลนตเ์ ป็นผลรวมปริมาณ

เวกเตอร์สภาพข้วั ของแตล่ ะพันธะตามรูปรา่ งโมเลกุล

๒๒. ระบุชนิดของแรงยดึ เหนยี่ ว • แรงยดึ เหน่ียวระหว่างโมเลกุลซ่ึงอาจเปน็ แรงแผก่ ระจาย

ระหว่างโมเลกลุ โคเวเลนตแ์ ละ ลอนดอน แรงระหวา่ งขวั้ และพันธะไฮโดรเจน

เปรยี บเทียบจดุ หลอมเหลวจุด มีผลตอ่ จุดหลอมเหลวจุดเดอื ด และการละลายน้าของสาร

เดือด และการละลายน้าของสาร นอกจากน้ีสารโคเวเลนต์สว่ นใหญ่ยงั มจี ดุ หลอมเหลวและจดุ

โคเวเลนต์ เดอื ดต่ากวา่ สารประกอบไอออนิกเนอื่ งจากแรงยดึ เหนย่ี ว

ระหว่างโมเลกลุ มคี า่ น้อยกวา่ พันธะไอออนิก • สารโคเว

เลนต์สว่ นใหญม่ ีจุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดต่า และไม่

ละลายในนา้ สาหรบั สารโคเวเลนต์ที่ละลายนา้ มที งั้ แตกตวั

และไม่แตกตวั เปน็ ไอออน สารละลายท่ไี ด้จากสารทีไ่ ม่แตก

ตวั เป็นไอออนจะไม่นาไฟฟ้า เรยี กวา่ สารละลายนอนอเิ ล็ก

โทรไลตส์ ่วนสารละลายทไ่ี ด้จากสารทแี่ ตกตัวเป็นไอออนจะ

นาไฟฟา้ เรยี กวา่ สารละลายอิเลก็ โทรไลตส์ ารละลายของ

สารประกอบคลอไรดแ์ ละออกไซด์จะมสี มบตั เิ ป็นกรด

๒๓. สบื ค้นขอ้ มูล และอธบิ าย • สารโคเวเลนตบ์ างชนดิ ทีม่ ีโครงสรา้ งโมเลกุลขนาดใหญ่

สมบตั ิของสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ ง และมพี นั ธะโคเวเลนตต์ ่อเนอ่ื งเปน็ โครงร่างตาขา่ ย จะมีจุด

ตาข่ายชนดิ ต่าง ๆ หลอมเหลวและจุดเดือดสงู สารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาข่ายที่

มีธาตอุ งคป์ ระกอบเหมือนกัน แตม่ อี ัญรูปตา่ งกนั จะมสี มบัติ

ตา่ งกนั เช่น เพชร แกรไฟต์

๒๔. อธิบายการเกิดพันธะโลหะ • พนั ธะโลหะเกดิ จากเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนของทุกอะตอมของ

และสมบตั ขิ องโลหะ โลหะเคล่ือนทอี่ ยา่ งอิสระไปท่วั ทง้ั โลหะ และเกดิ แรงยึด

เหนย่ี วกบั โปรตอนในนิวเคลยี สทุกทิศทาง • โลหะสว่ นใหญ่

เปน็ ของแข็ง มีผิวมันวาว สามารถตีเป็นแผน่ หรือดงึ เป็นเส้น

ได้นาความรอ้ นและนาไฟฟ้าได้ดีมจี ดุ หลอมเหลวและจุด

เดอื ดสงู

16

ช้ัน ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ

๒๕. เปรยี บเทยี บสมบัติบาง • สารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะมสี มบัติ

ประการของสารประกอบไอออ เฉพาะตวั บางประการทแ่ี ตกต่างกัน เชน่ จดุ เดือด จุด

นิก สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะ หลอมเหลว การละลายนา้ การนาไฟฟา้ จงึ สามารถนามาใช้

สบื ค้นข้อมูลและนาเสนอตวั อย่าง ประโยชน์ในด้านต่าง ๆได้ตามความเหมาะสม

การใชป้ ระโยชน์ของสารประกอบ

ไอออนิก สารโคเวเลนต์และโลหะ

ได้อย่างเหมาะสม

8. คาอธิบายรายวชิ า ว31221 เคมี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 บอกและอธบิ ายขอ้ ปฏบิ ตั เิ บอ้ื งตน้ และปฏบิ ตั ติ นท่แี สดงถึงความตระหนักในการทา

ปฏบิ ตั ิการเคมเี พื่อให้มีความปลอดภยั ทัง้ ตอ่ ตนเอง ผู้อ่ืนและสงิ่ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมื่อ เกิดอบุ ตั ิเหตุ เลือก และใชอ้ ปุ กรณ์หรือเครอ่ื งมอื ในการทาปฏิบัติการ และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ได้อยา่ ง เหมาะสม นาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขยี นรายงานการทดลอง ระบหุ น่วยวัดปริมาณตา่ ง ๆ ของสาร และเปลีย่ นหนว่ ยวัดใหเ้ ป็นหน่วยในระบบเอสไอดว้ ยการใชแ้ ฟกเตอรเ์ ปลี่ยนหนว่ ย สบื ค้น ข้อมลู สมมตฐิ าน การทดลอง หรือผลการทดลองท่เี ป็นประจกั ษ์พยานในการเสนอแบบจาลองอะตอม ของนักวิทยาศาสตรแ์ ละอธบิ ายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม เขยี นสญั ลกั ษณ์นวิ เคลียรข์ องธาตุ และระบุจานวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอนของอะตอมจากสัญลักษณน์ วิ เคลียร์รวมทง้ั บอก ความหมายของไอโซโทป อธิบาย และเขยี นการจัดเรยี งอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลักและระดับ พลงั งานยอ่ ยเมอื่ ทราบเลขอะตอมของธาตุ ระบุหมูค่ าบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ของธาตุ เรพรเี ซนเททีฟและธาตุแทรนซชิ ันในตารางธาตุ วิเคราะหแ์ ละบอกแนวโนม้ สมบัตขิ องธาตุเรพรีเซนเท ทฟี ตามหม่แู ละตามคาบ บอกสมบตั ิของธาตุโลหะแทรนซิชนั และเปรียบเทยี บสมบตั ิกบั ธาตุโลหะใน กลมุ่ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ อธบิ ายสมบตั ิและคานวณครง่ึ ชวี ิตของไอโซโทปกัมมันตรงั สี สบื คน้ ข้อมลู และยกตวั อยา่ งการนาธาตมุ าใชป้ ระโยชน์รวมทงั้ ผลกระทบต่อส่งิ มชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม อธบิ ายการ เกดิ ไอออนและการเกดิ พันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรอื สญั ลักษณแ์ บบจดุ ของ ลวิ อสิ เขยี นสตู ร และเรยี กชอ่ื สารประกอบไอออนกิ คานวณพลงั งานท่ีเกย่ี วข้องกับปฏกิ ิรยิ าการเกดิ สารประกอบไอ ออนกิ จากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ อธบิ ายสมบตั ิของสารประกอบไอออนกิ เขียนสมการไอออนกิ และ สมการไอออนกิ สุทธิของปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบไอออนกิ อธบิ ายการเกิดพันธะโคเวเลนต์แบบ พนั ธะเด่ยี วพันธะคู่และพนั ธะสาม ดว้ ยโครงสรา้ งลิวอสิ เขียนสูตร และเรยี กชอ่ื สารโคเวเลนต์ วเิ คราะห์และเปรยี บเทียบความยาวพันธะและพลงั งานพนั ธะในสารโคเวเลนตร์ วมท้งั คานวณพลังงาน ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับปฏกิ ริ ิยาของสารโคเวเลนตจ์ ากพลังงานพนั ธะ คาดคะเนรปู ร่างโมเลกลุ โคเวเลนต์โดยใช้ ทฤษฎกี ารผลกั ระหวา่ งคู่อเิ ล็กตรอนในวงเวเลนซ์และระบุสภาพข้วั ของโมเลกุลโคเวเลนต์ ระบชุ นิด

17

ของแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนตแ์ ละเปรยี บเทียบจดุ หลอมเหลวจดุ เดอื ด และการละลาย น้าของสารโคเวเลนต์ สบื ค้นขอ้ มูล และอธบิ ายสมบตั ขิ องสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาขา่ ยชนิดต่าง ๆ อธิบายการเกิดพนั ธะโลหะและสมบตั ิของโลหะ เปรียบเทยี บสมบตั บิ างประการของสารประกอบ ไอออนกิ สารโคเวเลนต์และโลหะ สบื ค้นขอ้ มูลและนาเสนอตวั อย่างการใช้ประโยชนข์ อสารประกอบ ไอออนกิ สารโคเวเลนตแ์ ละโลหะ ได้อย่างเหมาะสม

โดยใช้การสบื เสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสือ่ สารสงิ่ ที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ การแกป้ ัญหา การนาความรู้ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม

บทท่ี 2 อะตอมและตารางธาตุ

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

1. สบื ค้นขอ้ มูลและอธิบายแนวคิด  แบบจาลองสร้างขนึ้ จากขอ้ มลู ทเี่ ป็นผลการทดลอง สามารถ

ในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม เปลี่ยนแปลงไดต้ ามผลการทดลองทพี่ บใหม่

และเปรียบเทยี บแบบจาลอง  แนวคดิ เกย่ี วกับแบบจาลองอะตอมของ

อะตอม ดอลตนั ทอมสัน รทั เทอรฟ์ อรด์ โบร์ และแบบกลุ่มหมอกมี

ความแตกต่างกัน

2. สบื ค้นข้อมูล ทดลอง และ  อะตอมประกอบดว้ ยอนภุ าคทส่ี าคัญ คือ อิเล็กตรอน

อธิบายสมบัติของอนภุ าคมลู ฐาน โปรตอน และนวิ ตรอน อนภุ าคทง้ั 3 ชนิดน้ีเรยี กวา่ อนภุ าคมูล

ของอะตอม และแปลความหมาย ฐานของอะตอม

สัญลกั ษณน์ ิวเคลยี รข์ องธาตุ  สญั ลักษณ์ของธาตุท่ีเขยี นโดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ

จานวนอนภุ าคมลู ฐานของอะตอมเรียกวา่ สัญลักษณน์ วิ เคลียร์

3. สบื ค้นข้อมลู และอธิบาย  อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอนและนิวตรอนอย่รู วมกนั ใน

เกี่ยวกบั อเิ ล็กตรอนในอะตอมทอี่ ยู่ นวิ เคลียส มีอิเลก็ ตรอนเคลอื่ นที่อยรู่ อบ ๆ และอยู่ในระดับ

ในระดบั พลังงานต่าง ๆ กัน พลังงานต่างกนั

 อเิ ล็กตรอนทอ่ี ยู่ในระดบั พลังงานยอ่ ยจะเคล่ือนท่อี ยู่รอบ

นวิ เคลียสในรปู แบบทีแ่ ตกตา่ งกัน เรยี กบรเิ วณท่ีสามารถพบ

อิเลก็ ตรอนเคล่ือนท่อี ยู่นีว้ า่ ออรบ์ ทิ ัล แตล่ ะออร์บิทัลจะแทน

ด้วยกลมุ่ หมอกที่มรี ปู รา่ งแตกต่างกนั

 การบรรจุอิเล็กตรอนในออรบ์ ิทลั ถ้าทกุ ออร์บทิ ลั ทรี่ ะดับ

พลังงานเดียวกันมีอเิ ล็กตรอนอยู่เตม็ เรียกว่า การบรรจุเตม็

18

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

แต่ถา้ อเิ ลก็ ตรอนมีอย่เู พยี งคร่งึ เดยี วเรยี กวา่ การบรรจคุ รง่ึ ถา้

อะตอมมีหลายอเิ ล็กตรอน การบรรจอุ เิ ลก็ ตรอนจะตอ้ งบรรจุลง

ในออรบ์ ิทัลต่าง ๆ ตามลาดับระดบั พลังงานจากตา่ ไปสงู

4. อธิบายแนวคดิ และวิวัฒนาการ  ต้งั แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน นักวิทยาศาสตรไ์ ด้จดั กลมุ่ ธาตทุ ่ีพบ

ของการสร้างตารางธาตตุ ้ังแต่อดตี ออกเป็นหมวดหมู่โดยใชส้ มบตั ิของธาตุในด้านตา่ ง ๆ เปน็ เกณฑ์

จนถงึ ปจั จบุ ัน  ตารางธาตใุ นปจั จบุ ันปรับปรงุ มาจากตารางธาตุของเมนเดเล

เยฟ โดยมกี ารจดั เรยี งธาตุตามเลขอะตอมจากนอ้ ยไปมาก

 ธาตุในตารางธาตุจะถกู แบง่ ตามแนวตง้ั ออกเป็นหมู่ได้ 18 หมู่

และแบง่ ตามแนวนอนออกเปน็ คาบได้ 7 คาบ

5. สืบค้นขอ้ มูลและอธบิ าย  ขนาดอะตอมของธาตใุ นหมเู่ ดียวกันจะมแี นวโนม้ ใหญข่ น้ึ เมอื่

แนวโน้มสมบตั ิของธาตุตามหมู่และ เลขอะตอมเพิ่มขึน้ แตธ่ าตใุ นคาบเดยี วกัน ขนาดอะตอมมี

ตามคาบในด้านขนาดอะตอม รศั มี แนวโน้มลดลงเมื่อเลขอะตอมเพม่ิ ขนึ้

ไอออน พลังงานการแตกตัวเป็น  รศั มีไอออนของธาตหุ มู่ IA–VIIA มแี นวโนม้ เพิ่มขน้ึ จากบนลง

ไอออน สภาพไฟฟา้ ลบ สมั พรรค ล่าง โดยรศั มีไอออนบวกจะมคี า่ นอ้ ยกว่ารัศมีอะตอม แตร่ ศั มี

ภาพอิเลก็ ตรอน จดุ หลอมเหลว ไอออนลบจะมีค่ามากกวา่ รัศมอี ะตอม

และจุดเดือด และเลขออกซเิ ดชนั  พลงั งานการแตกตวั เปน็ ไอออนลาดับที่ 1 ของธาตุในหมู่

เดียวกัน จะมคี า่ ลดลงเม่ือเลขอะตอมเพม่ิ ขน้ึ แต่ธาตใุ นคาบ

เดียวกนั จะมีค่าเพ่มิ ขน้ึ เมอื่ เลขอะตอมเพ่ิมขึ้น

 สภาพไฟฟา้ ลบของธาตุในหมเู่ ดยี วกันจะมคี า่ ลดลงเม่ือเลข

อะตอมเพมิ่ ขน้ึ แตธ่ าตใุ นคาบเดียวกนั จะมีค่าเพ่ิมขึน้ เมื่อเลข

อะตอมเพ่ิมขึ้น

 คา่ สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอนของธาตใุ นหมู่ IA IIA และ VIIA

จะมแี นวโน้มในการรับอเิ ลก็ ตรอนไดย้ ากจากบนลงลา่ ง สว่ นธาตุ

ในคาบเดียวกนั ในหมู่ IA–IIIA จะมีแนวโน้มรับอเิ ล็กตรอนได้ยาก

แตธ่ าตใุ นหมู่ IVA– VIIA จะมแี นวโน้มในการรับอิเลก็ ตรอนได้

งา่ ย

 จุดหลอมเหลวและจดุ เดือดของธาตตุ ามหมแู่ ละตามคาบของ

ธาตุหมู่ IA–IVA จะสูง แต่ธาตใุ นหมู่ VA–VIIIA จะตา่

 ธาตุหมู่ IA–IIIA จะมีเลขออกซิเดชันเพยี งคา่ เดียว สว่ นธาตุใน

หมู่ IVA–VIIA จะมเี ลขออกซชิ ันไดห้ ลายค่า

19

บทที่ 3 พันธะเคมี สาระการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้  พนั ธะโคเวเลนซเ์ กดิ ข้ึนจากแรงยึดเหน่ียวระหว่างอะตอมที่ มกี ารใชเ้ วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกันซึ่งเปน็ ไปตามกฎออกเตต 1. สืบคน้ ข้อมูล สังเกต และสรุป  สารโคเวเลนซ์ทป่ี ระกอบดว้ ยธาตุตา่ งชนิดกนั จะมีสูตร เก่ยี วกับการเกิดพนั ธะโคเวเลนซ์ โมเลกุล การเรียกชอื่ และรูปรา่ งโมเลกุลท่ีแตกตา่ งกนั  เม่อื สารโคเวเลนซเ์ กดิ การสร้างพนั ธะเคมีหรอื สลายพันธะ 2. สืบคน้ ขอ้ มูลและสรปุ เกี่ยวกบั เคมีจะมพี ลงั งานเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งซง่ึ อาจเปน็ การดูดพลงั งาน สมบัติของสารโคเวเลนซ์ หรอื คายพลงั งาน  สภาพขวั้ ของสารโคเวเลนซเ์ ป็นการแสดงอานาจทางไฟฟา้ 3. สบื คน้ ข้อมลู สังเกต และสรปุ รวมของสภาพขั้วของพันธะในสารโคเวเลนซ์ เกยี่ วกับการเกิดพนั ธะไอออน  จุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดของสารโคเวเลนซม์ ีความ เกย่ี วขอ้ งกับแรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งโมเลกลุ ถา้ แรงยึดเหน่ยี ว 4. สบื ค้นข้อมูล และสรุปเกยี่ วกับ ระหวา่ งโมเลกุลมีความแขง็ แรงสงู จุดหลอมเหลวและจดุ สมบัตขิ องสารประกอบไอออน เดอื ดจะสูง  พันธะไอออนเกิดจากแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งไอออนบวก 5. สบื ค้นขอ้ มูล และสรุปเกย่ี วกบั การ และไอออนลบซ่งึ เปน็ แรงดึงดดู ไฟฟ้าสถติ เกิดพันธะโลหะ และสมบตั ขิ องโลหะ  สารประกอบไอออนทีป่ ระกอบด้วยไอออนต่างชนิดกันจะ มสี ูตรสารประกอบไอออนและการเรยี กช่อื ทแ่ี ตกต่างกนั  การเปลี่ยนแปลงพลงั งานในการเกดิ สารประกอบไออนมี ทั้งขัน้ ตอนทด่ี ูดพลังงานและคายพลงั งาน  การละลายของสารประกอบไอออนมพี ลังงานเข้ามา เกี่ยวขอ้ งซงึ่ อาจเปน็ การดูดพลังงานหรอื คายพลังงาน  การเกดิ ปฏิกริ ิยาระหว่างสารประกอบไอออนสามารถ เขียนแสดงไอออนท่เี กิดปฏิกิรยิ าเคมีไดด้ ้วย สมการไอออน สุทธิ  พันธะโลหะเกิดขนึ้ จากแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งโลหะทีใ่ ช้ อิเล็กตรอนอิสระร่วมกนั ซึ่งเป็นไปตามกฎออกเตต  สมบัตขิ องโลหะเป็นผลจากอเิ ลก็ ตรอนอิสระท่ีเคลือ่ นทไี่ ด้ ตลอดทัว่ ท้งั กอ้ นโลหะ

20

บทท่ี 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้

1. อธบิ ายสมบตั ิของธาตุและ  สารประกอบออกไซด์และคลอไรดข์ องโลหะมจี ดุ

สารประกอบของธาตตุ ามคาบ และ หลอมเหลวและจุดเดอื ดสงู เม่อื ละลายนา้ ได้สารละลายคลอ

ทดลองการเกิดปฏิกริ ยิ าของธาตุและ ไรดม์ สี มบัติเป็นกลาง และสารละลายออกไซดม์ ีสมบตั เิ ปน็

สารประกอบของธาตุตามหมู่ รวมทั้ง เบส

เขียนสมการแสดงปฏิกิรยิ าทเี่ กดิ ขึ้น  สารประกอบออกไซด์และคลอไรด์ของอโลหะมจี ดุ เดือด

และจุดหลอมเหลวต่า เม่อื ละลายน้าไดส้ ารละลายคลอไรด์

และออกไซดท์ ่ีมีสมบัติเป็นกรด

 ธาตหุ มู่ IA เกดิ ปฏิกริ ิยาเคมีกบั นา้ ได้ดกี ว่าธาตหุ มู่ IIA

ความสามารถในการละลายน้าของสารประกอบของธาตหุ มู่

IA และหมู่ IIA แตกตา่ งกัน

2. อธิบายสมบัตแิ ละตาแหน่งของธาตุ  ธาตุไฮโดรเจนมสี มบัติบางประการคลา้ ยธาตหุ มู่ IA และมี

ไฮโดรเจนและธาตุกึง่ โลหะในตาราง สมบัติบางประการคล้ายธาตุหมู่ VIIA จึงไม่จดั เขา้ หมใู่ ดใน

ธาตุ ตารางธาตุ

 ธาตทุ ่ีมสี มบตั เิ ปน็ ทง้ั โลหะและอโลหะ เรียกว่า ธาตกุ งึ่

โลหะ

3. อธบิ ายสมบตั ขิ องธาตุแทรนซชิ ัน  ธาตแุ ทรนซชิ ันเปน็ โลหะทม่ี สี มบัติคลา้ ยกันตามคาบซง่ึ

และทดลองการเกดิ สขี องสารประกอบ แตกตา่ งจากธาตุหมู่ IA และหมู่ IIA

ของธาตแุ ทรนซิชนั รวมท้งั  ธาตุแทรนซชิ นั มีเลขออกซเิ ดชันได้หลายค่า เกิด

สารประกอบเชงิ ซ้อนของธาตุ สารประกอบได้หลายชนิด มีสีแตกตา่ งกนั

แทรนซิชัน  ธาตุแทรนซชิ ันเกดิ เป็นสารประกอบเชงิ ซอ้ นได้ โดยมี

อะตอมของธาตแุ ทรนซิชันท่เี ปน็ อะตอมกลาง และมโี มเลกลุ

หรือไอออนมาล้อมรอบ

4. อธิบายสมบัติของธาตกุ มั มันตรงั สี  ธาตุกัมมนั ตรังสมี ีนวิ เคลยี สทไี่ มเ่ สถยี ร เกิดการสลายตวั ให้

การเกิดปฏิกริ ิยาฟิชชันและฟิวชนั อนุภาคและรงั สีตา่ ง ๆ เช่น แอลฟา บีตา และแกมมา

และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์  ระยะเวลาทีน่ ิวเคลียสของไอโซโทปกัมมันตรงั สีสลายตวั

จนเหลอื ครงึ่ หนง่ึ ของปรมิ าณเดิม เรยี กวา่ คร่ึงชีวิต

 ปฏกิ ริ ิยานิวเคลียสของธาตหุ นกั แตกออกเป็นไอโซโทปของ

ธาตทุ เี่ บากวา่ เรียกวา่ ปฏิกริ ิยา ฟชิ ชัน

 ปฏกิ ริ ยิ าทนี่ วิ เคลยี สของไอโซโทปท่มี ีมวลต่ารวมตวั กนั เกิด

21

ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เป็นไอโซโทปใหม่ท่ีมมี วลมากกวา่ เดมิ เรียกวา่ ปฏิกิรยิ าฟวิ ชัน 5. อธบิ ายและทดลองสมบตั ิของธาตุ  สารกมั มันตรงั สีสามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นด้านตา่ ง ๆ เพอ่ื หาตาแหนง่ ในตารางธาตุ ได้มากมาย เช่น ด้านการแพทย์ เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม การตรวจหาอายุวัตถโุ บราณ 6. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธิบายเกย่ี วกับ  การจดั ธาตตุ า่ ง ๆ ไวใ้ นตารางธาตอุ าศัยสมบตั ิท่คี ล้ายกนั ธาตแุ ละสารประกอบของธาตุทีม่ ีผล และแตกต่างกันเป็นเกณฑ์ ถา้ ทราบสมบตั ิของธาตจุ ะทานาย ต่อสิ่งมีชีวติ และส่ิงแวดล้อม ตาแหน่งของธาตุในตารางธาตไุ ด้ และถ้าทราบตาแหนง่ ของ ธาตกุ ส็ ามารถทานายสมบัติของธาตไุ ด้  ธาตุและสารประกอบของธาตุพบไดใ้ นสิ่งมชี วี ิตและ สิง่ แวดลอ้ ม ธาตแุ ละสารประกอบเหลา่ นม้ี ีทั้งประโยชน์และ โทษต่อส่ิงมชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

22

11. โครงสร้างการแบง่ เวลารายช่ัวโมงในการจดั การเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรู้/ เรื่อง จานวน แผนการจัดการเรยี นรู้ ชวั่ โมง

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ความปลอดภยั และทกั ษะในการปฏิบัติการเคมี 12 2 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความปลอดภยั ในการทางานกบั สารเคมี 2 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 อุบตั ิเหตจุ ากสารเคมี 3 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การวัดปริมาณสาร 25 1 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 หนว่ ยวัด 1 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 อะตอมและตารางธาตุ 2 2 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 แบบจาลองอะตอมของดอลตนั และทอมสนั 2 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 แบบจาลองอะตอมของรัทเทอรฟ์ อรด์ 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 8 แบบจาลองอะตอมของโบว์ 2 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 สเปกตรมั ของธาตุ 23 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 10 แบบจาลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก 2 2 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 11 การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอม 2 2 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 12 วิวฒั นาการของตารางธาตุ 2

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 13 สมบัตขิ องธาตุ 1 (ขนาดอะตอม รศั มไี อออน พลงั งาน การแตกตัวเปน็ ไอออน)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 สมบัติของธาตุ 2 (สภาพไฟฟา้ ลบ สมั พรรคภาพ อิเลก็ ตรอน)

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 15 สมบตั ขิ องธาตุ 3 (จุดหลอมเหลวและจุดเดอื ด เลขออกซเิ ดชนั )

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 พันธะเคมี

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 16 การเกดิ พันธะและชนดิ ของพนั ธะโคเวเลนต์

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 17 การเขยี นสูตรและการเรยี กชือ่ สารประกอบโคเวเลนต์

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 18 กฎออกเตตความยาวพนั ธะและพลงั งานพนั ธะ

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 19 รูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 20 สภาพขวั้ ของโมเลกุลโคเวเลนต์

23

หน่วยการเรยี นรู้/ เรอื่ ง จานวน แผนการจดั การเรียนรู้ ชั่วโมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 21 แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งโมเลกุลโคเวเลนต์ 2 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 22 การเกดิ พนั ธะไอออนิก 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 23 การเขียนสตู รและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนกิ 2 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 24 พลงั งานกับการเกดิ สารประกอบไอออนิก 2 1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 25 สมบัตขิ องสารประกอบไอออนิก 60

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 26 ปฏกิ ิริยาของสารประกอบไอออนกิ

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 27 พันธะโลหะ

รวม

12. การจัดการเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 รายวชิ า ว31221 เคมี 1 เรื่อง พันธะเคมี แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ า ว31221 เคมี 1 เรอื่ ง พันธะเคมี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้

การสบื เสาะหาความรู้ 5 ข้ัน กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ผูส้ อนได้ใช้วิธกี ารออกแบบหน่วย การเรยี นรู้แบบยอ้ นกลับ (Backward Design) หลกั การสาคญั ของการออกแบบหน่วยการเรียนรูต้ าม แนวทาง Backward Design จะเนน้ ความสาคญั ไปทเ่ี ปา้ หมายการเรยี นรู้และการบรรลผุ ลตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ทก่ี าหนด โดยผเู้ รียนตอ้ งเกิดความเขา้ ใจท่ีติดตวั อยา่ งยง่ั ยนื (Enduring Understanding) ซ่ึงครผู ู้สอนจะต้องมีความสามารถในการออกแบบตามลาดับขั้นการเรยี นรทู้ จี่ ะ พฒั นาผู้เรยี นไปสู่จุดหมายที่พงึ ประสงคไ์ ด้อย่างแท้จรงิ

12.1 หนว่ ยการเรียนรู้ การออกแบบหนว่ ยการเรยี นรูเ้ ป็นข้นั ตอนสาคญั ของการจัดทาหลักสูตรองิ มาตรฐาน โดย

อาศัยการออกแบบการเรยี นรูแ้ บบยอ้ นกลบั ตามแนว Backward Design นาหลกั สตู รแกนกลางของ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ มาตรฐานการเรยี นรู้ของแตล่ ะช่วงชน้ั และตวั ชวี้ ดั ของแตล่ ะชัน้ ปมี า ทาการวเิ คราะห์ แลว้ จดั ทาเป็นหนว่ ยการเรียนรู้ ในหน่วยการเรยี นรหู้ นง่ึ จะประกอบไปด้วย

1. เน้อื หาสาระ วเิ คราะห์จากมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวดั จากหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

2. รายละเอียดของการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน การออกแบบการเรยี นรแู้ บบ ยอ้ นกลบั ตามแนว Backward Design ในหนว่ ยการเรียนรูม้ ีมาตรฐานเปน็ เป้าหมายของการพัฒนา ผเู้ รียน มกี ารกาหนดแกน่ เรอื่ ง (Theme) กาหนดงานใหผ้ ู้เรยี นได้ปฏิบัติ มีการวัดและประเมนิ ผลว่า

24

ผูเ้ รียนมคี วามสามารถถงึ ระดับท่ีกาหนดไว้ในมาตรฐานหรือไม่ โดยมีรอ่ งรอย ช้ินงาน การวดั และ ประเมนิ ผลท่ชี ัดเจน

12.2 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรูน้ ับว่าเปน็ หวั ใจสาคญั ของการจดั กระบวนการเรียนรู้ (Learning Process)

เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ แสวงหาความรู้ สรา้ งความเข้าใจ รวมไปถงึ สามารถสร้างองค์ความร้แู ละ พฒั นาตนเองใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถตามทม่ี ุ่งหวังในหลักสตู ร

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เรื่อง พนั ธะเคมี ผ้สู อนไดพ้ ฒั นากจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) ประกอบดว้ ย

1. ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนาเข้าสบู่ ทเรียนหรือเรอ่ื งทสี่ นใจ ซ่งึ อาจ เกิดข้ึนเองจากความสงสัย หรืออาจเริ่มจากความสนใจของตัวนกั เรียนเอง หรอื เกดิ จากการอภิปราย ในกลมุ่ เรอื่ งทนี่ ่าสนใจอาจมาจากเหตุการณ์ที่กาลงั เกดิ ข้นึ อยใู่ นช่วงเวลาน้ัน หรือเป็นเร่ือง ท่ีเช่อื มโยง กับความรู้เดมิ ท่เี พ่ิงเรยี นรมู้ าแล้ว เป็นตัวกระต้นุ ใหน้ ักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเดน็ ท่จี ะศกึ ษาใน กรณที ีย่ ังไม่มปี ระเด็นใดนา่ สนใจ ครูอาจใหศ้ กึ ษาจากสอื่ ต่างๆ หรือเปน็ ผ้กู ระต้นุ ดว้ ยการเสนอ ประเด็นขึ้นมาก่อน แต่ไม่ควรบังคบั ใหน้ กั เรยี นยอมรบั ประเดน็ หรอื คาถามทีค่ รูกาลังสนใจเป็นเร่อื งที่ จะใช้ศกึ ษา เม่ือมีคาถามท่ีน่าสนใจ และนักเรยี นสว่ นใหญย่ อมรับใหเ้ ปน็ ประเด็น ที่ต้องการศึกษาจึง ร่วมกนั กาหนดขอบเขตและแจกแจงรายละเอยี ดของเร่อื งท่จี ะศึกษาใหม้ ีความชดั เจนยง่ิ ข้ึน อาจ รวมทั้งการรวบรวมความร้ปู ระสบการณเ์ ดิม หรอื ความร้จู ากแหล่งตา่ งๆ ที่จะ ช่วยให้นาไปสคู่ วาม เขา้ ใจเร่อื ง หรอื ประเดน็ ที่จะศึกษามากข้นึ และมีแนวทางท่ใี ช้ในการสารวจตรวจสอบอยา่ ง หลากหลาย

2. ข้ันสารวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทาความเข้าใจในประเดน็ หรอื คาถามทสี่ นใจจะ ศึกษาอยา่ งถอ่ งแทแ้ ลว้ ก็มกี ารวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ต้ังสมมติฐาน กาหนด ทางเลือกทีเ่ ปน็ ไปได้ ลงมือปฏบิ ัตเิ พ่อื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ข้อสนเทศ หรอื ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ วธิ ีการ ตรวจสอบอาจทาไดห้ ลายวธิ ี เช่น ทาการทดลอง ทากจิ กรรมภาคสนาม การใชค้ อมพิวเตอรเ์ พอ่ื ช่วย สรา้ งสถานการณ์จาลอง (Simulation) การศกึ ษาหาข้อมลู จากเอกสารอา้ งองิ หรือจากแหล่งข้อมูล ตา่ งๆ เพื่อให้ไดม้ าซึง่ ข้อมูลอยา่ งเพยี งพอทจ่ี ะใชใ้ นข้นั ตอ่ ไป

3. ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation) เมื่อไดข้ อ้ มลู อย่างเพียงพอจากการสารวจ ตรวจสอบแลว้ จงึ นาขอ้ มูล ขอ้ สนเทศท่ีได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนาเสนอผลทไ่ี ดใ้ นรปู ต่างๆ เช่น บรรยายสรปุ สร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรือวาดรูป สร้างตาราง ฯลฯ การคน้ พบ ในขนั้ นอ้ี าจเป็นไปได้หลายทาง เช่น สนบั สนนุ สมมติฐานทตี่ งั้ ไวโ้ ตแ้ ย้งกับสมมตฐิ านท่ตี ้ังไว้ หรือไม่ เก่ยี วขอ้ งกับประเด็นท่ไี ดก้ าหนดไว้ แต่ผลทไ่ี ดจ้ ะอยู่ในรปู ใดกส็ ามารถสร้างความรแู้ ละชว่ ยใหเ้ กิดการ เรียนรู้ได้

25

4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) เปน็ การนาความร้ทู ี่สร้างขนึ้ ไปเช่ือมโยงกบั ความร้เู ดมิ หรอื แนวคิดที่ไดค้ ้นคว้าเพมิ่ เติมหรอื นาแบบจาลองหรือข้อสรุปทไี่ ด้ไปใช้อธบิ ายสถานการณ์หรือ เหตุการณ์อื่น ถ้าใชอ้ ธบิ ายเรอ่ื งต่างๆ ไดม้ ากแ็ สดงว่าข้อจากดั นอ้ ย ซ่ึงก็จะชว่ ยใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั เรื่อง ตา่ งๆ และทาใหเ้ กิดความรกู้ วา้ งขวางข้นึ

5. ข้นั ประเมิน (Evaluation) เปน็ การประเมนิ การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการตา่ งๆ ว่านกั เรยี นมี ความรอู้ ะไรบา้ ง อย่างไรและมากนอ้ ยเพยี งใด จากขั้นน้จี ะนาไปสกู่ ารนาความรู้ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในเรื่อง อ่ืนๆ การนาความร้หู รอื แบบจาลองไปใชอ้ ธิบายหรือประยกุ ต์ใช้กับเหตกุ ารณ์หรือเรอ่ื งอื่นๆ จะนาไปสู่ ข้อโตแ้ ย้งหรือข้อจากัดซึง่ กอ่ ใหเ้ ปน็ ประเดน็ หรอื คาถาม หรอื ปัญหาทีจ่ ะต้องสารวจตรวจสอบต่อไป ทาใหเ้ กดิ เปน็ กระบวนการทต่ี อ่ เนือ่ งกนั ไปเร่อื ยๆ จงึ เรียกวา่ Inquiry Cycle กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้จึงชว่ ยใหน้ ักเรียนเกิดการเรยี นรทู้ ้งั เนือ้ หาหลกั และหลักการ ทฤษฎี ตลอดจนการลงมอื ปฏบิ ัติ เพื่อใหไ้ ดค้ วามรูซ้ งึ่ จะเปน็ พน้ื ฐานในการเรยี นรูต้ อ่ ไป

12.3 สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ สือ่ การเรยี นรทู้ ีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 เร่ือง

พันธะเคมี ผสู้ อนใหค้ วามสาคัญต่อการใชส้ ือ่ ทห่ี ลากหลายและสอดคล้องต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้

12.4 บนั ทึกหลงั การสอน หลงั จากทคี่ รผู ู้สอนได้จัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรียนร้แู ลว้ ครผู ู้สอนมกี าร

บนั ทกึ หลงั จากการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้นนั้ เพอื่ มาสรุปผลจากการใชแ้ ผน โดยการบนั ทึกผลจาก การใช้ ปัญหา อุปสรรค แนวทางการแกไ้ ข เพ่ือประเมนิ การใช้แผนว่าแผนทใ่ี ชป้ ระสบผลสาเรจ็ ผูเ้ รยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน มคี ุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ หรือแผนท่ใี ชย้ งั มปี ัญหาอุปสรรคทีค่ วร ปรบั ปรุงแก้ไข จะได้หาแนวทางการปรบั ปรุงและนาไปสู่การวจิ ัยในช้นั เรียนเพื่อแก้ปัญหาและพฒั นา ผเู้ รยี นตอ่ ไป

ตอนท่ี 2 หน่วยการเรยี นรู้

27

ผงั มโนทัศน์เปา้ หมายการเรยี นรู้ และขอบขา่ ยภาระงาน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3

เรอ่ื ง พันธะเคมี กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4

ความรู้ 1. การเกดิ พันธะเคมีชนดิ ต่าง ๆ 2. การเขยี นสูตรและการเรยี กชอื่ สารโคเวเลนซแ์ ละสารประกอบไอออน 3. การเปลีย่ นแปลงพลงั งานในการเกดิ สารโคเวเลนซแ์ ละสารประกอบไอออน 4. รปู ร่างโมเลกลุ และโครงสร้างของสารโคเวเลนซ์ สารประกอบไอออน และโลหะ 5. สมบัตพิ ืน้ ฐานของสารโคเวเลนซ์ สารประกอบไอออน และโลหะ

ทกั ษะ/กระบวนการ พันธะเคมี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. การสังเกต 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. การสบื ค้นข้อมูล 2. มุ่งมัน่ ในการทางาน 3. การอภิปราย 3. มเี จตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 4. การนาความรไู้ ปใช้ 4. เห็นคณุ คา่ ของการนาความรู้

ในชวี ติ ประจาวัน ไปใช้ประโยชน์ใชีวติ ประจาวัน

ภาระงาน/ช้ินงาน

ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้...

1. การเกิดพนั ธะและชนิดของพันธะโคเวเลนต์ 8. การเขียนสูตรและการเรียกช่อื สารประกอบ

2. การเขียนสตู รและการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ ไอออนกิ

3. กฎออกเตตความยาวพนั ธะและพลงั งานพันธะ 9. พลังงานกบั การเกดิ สารประกอบไอออนิก

4. รูปรา่ งโมเลกลุ โคเวเลนต์ 10. สมบตั ขิ องสารประกอบไอออนิก

5. สภาพขว้ั ของโมเลกลุ โคเวเลนต์ 11. ปฏกิ ริ ยิ าของสารประกอบไอออนิก 6. แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งโมเลกกลุ าโครเวอเลอนกตแ์ บ1บ2.หนว่ ยการพเนั รธียะโนลหะ

7. การเกิดพันธะไอออนิก หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่ือง พนั ธะเคมี

28

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรยี น 23 ชัว่ โมง

ขน้ั ท่ี 1 ผลลัพธป์ ลายทางทต่ี อ้ งการให้เกดิ ขึ้นกับนกั เรียน

ผลการเรยี นรู้

1. สบื ค้นขอ้ มูล สงั เกต และสรปุ เก่ียวกบั การเกดิ พนั ธะโคเวเลนซ์

2. สบื คน้ ขอ้ มลู และสรปุ เกยี่ วกบั สมบตั ิของสารโคเวเลนซ์

3. สบื ค้นข้อมูล สงั เกต และสรปุ เกยี่ วกบั การเกดิ พนั ธะไอออน

4. สบื ค้นขอ้ มูล และสรปุ เกีย่ วกบั สมบัตขิ องสารประกอบไอออน

5. สบื ค้นขอ้ มูล และสรุปเกยี่ วกับการเกิดพนั ธะโลหะ และสมบัตขิ องโลหะ

ความเขา้ ใจท่ีคงทนของนกั เรียน คาถามสาคญั ทีท่ าใหเ้ กิดความเข้าใจท่ี

นกั เรยี นจะเข้าใจว่า คงทน

1. พันธะโคเวเลนซ์เกดิ การใชเ้ วเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1. ธาตอุ โลหะยึดเหนย่ี วกันด้วยพนั ธะโค

ของธาตทุ ีส่ รา้ งพนั ธะโคเวเลนซก์ นั เวเลนซเ์ พราะเหตใุ ด

2. สารโคเวเลนซม์ ีความสมั พันธร์ ะหว่างความยาวพันธะ 2. ความยาวพันธะและพลังงานพนั ธะของ

กบั พลังงานพันธะแบบแปรผกผัน สารโคเวเลนซม์ คี วามสัมพนั ธ์กนั ใน

3. พลงั งานของปฏิกิรยิ าของสารโคเวเลนซเ์ ปน็ พลังงาน ลักษณะใด

รวมของการสลายพนั ธะเคมีของสารเร่ิมตน้ และการ 3. การคานวณพลงั งานในการเกดิ ปฏิกริ ยิ า

สร้างพันธะเคมีของผลติ ภัณฑ์ เคมขี องสารโคเวเลนซต์ ้องทราบค่าใดบา้ ง

4. รปู รา่ งโมเลกุลของสารโคเวเลนซข์ น้ึ อยู่กบั การจัดตวั 4. สารโคเวเลนซแ์ ตล่ ะชนิดมีรูปรา่ ง

ของอะตอมในโมเลกลุ แตกต่างกันเพราะเหตใุ ด

5. สภาพขั้วของสารโคเวเลนซ์เกิดจากอะตอมท่มี คี า่ 5. โมเลกลุ ของสารโคเวเลนซจ์ ะแสดง

สภาพไฟฟา้ ลบต่างกนั สรา้ งพันธะโคเวเลนซก์ นั สภาพขัว้ เม่อื ใด

6. สมบตั ิพ้ืนฐานของสารโคเวเลนซ์ขน้ึ อยกู่ ับชนิดของ 6. จุดหลอมเหลวและจุดเดอื ดท่แี ตกตา่ ง

แรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งโมเลกลุ กนั ของสารโคเวเลนซแ์ ตล่ ะชนดิ เปน็ เพราะ

7. พันธะไอออนเป็นพันธะท่ียดึ เหนย่ี วระหวา่ งไอออน เหตุใด

บวกและไอออนลบ 7. แรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโซเดยี มและคลอ

8. วฏั จักรบอร์น-ฮาเบอร์ (Born-Haber cycle) ใช้ ไรดม์ ีลกั ษณะใด

อธิบายขน้ั ตอนในการเกิดสารประกอบไอออน 8. การเกิดสารประกอบไอออนมีขัน้ ตอน

9. สมบตั ิพนื้ ฐานของสารประกอบไอออนขึ้นอยกู่ บั ความ ในการเปลี่ยนแปลงพลังงานอยา่ งไร

แข็งแรงของแรงยึดเหน่ยี วระหว่างไอออนบวกและ 9. ถา้ ตอ้ งการใหโ้ ซเดยี มคลอไรดน์ าไฟฟ้า

ความเขา้ ใจท่คี งทนของนักเรยี น คาถามสาคัญท่ที าให้เกดิ ความเข้าใจท่ี

นกั เรยี นจะเขา้ ใจวา่ (ตอ่ ) คงทน (ตอ่ )

29

ไอออนลบ จะตอ้ งทาอย่างไร

10. สารละลายของสารประกอบไอออนจะเกิดปฏิกิริยา 10. ถา้ ผสมโซเดยี มคาร์บอเนตกับ

เคมีเม่อื ไอออนบวกและไอออนลบคู่ใหม่สร้างแรงยดึ แคลเซียมไฮดรอกไซดจ์ ะเกดิ การ

เหน่ยี วระหว่างกัน เปลยี่ นแปลงลักษณะใด

11. พันธะโลหะเปน็ แรงยึดเหน่ยี วระหว่างไอออนบวกของ 11. แรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งธาตุโลหะมี

อะตอมกบั อเิ ลก็ ตรอนเคล่อื นท่ีอย่างอสิ ระ ลักษณะใด

12. สมบตั ิพน้ื ฐานของโลหะเป็นผลมาจากการเคลอ่ื นที่ 12. อุปกรณ์เก่ยี วกับเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ มกั ใช้

อยา่ งอิสระของอเิ ล็กตรอน โลหะเปน็ สว่ นประกอบเพราะเหตใุ ด

30

ความรขู้ องนกั เรียนทีน่ าไปสู่ความเขา้ ใจที่คงทน ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรียนที่

นกั เรยี นจะรู้ว่า นาไปสู่ความเข้าใจทีค่ งทน นกั เรียนจะ

1. คาสาคัญ ได้แก่ กฎออกเตต ความยาวพนั ธะ สามารถ...

พลังงานพันธะ พันธะโคเวเลนซ์แบบมขี ัว้ 1. สบื ค้นข้อมูลการเกิดพนั ธะโคเวเลนซ์

พันธะโคเวเลนซ์แบบไมม่ ขี ว้ั แรงแวนเดอร์วาลส์ พนั ธะ 2. ฝกึ เขียนชื่อสารโคเวเลนซ์

ไฮโดรเจน สูตรเอมพิริคัล พลังงานโครงร่างผลกึ และ 3. สืบคน้ ขอ้ มลู พลังงานพันธะ

พลังงานไฮเดรชนั 4. สืบคน้ ข้อมลู เรโซแนนซ์

2. อะตอมของธาตอุ โลหะยดึ เหน่ียวกันด้วยพนั ธะโค 5. สงั เกตการจดั ตัวของลกู โปง่ กบั รูปร่าง

เวเลนซเ์ พราะมีคา่ พลังงานการแตกตัวเปน็ ไอออนต่า จึง โมเลกุลของสารโคเวเลนซ์

สูญเสยี เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอนไดย้ าก อะตอมจงึ ใชเ้ วเลนซ์ 6. สบื ค้นขอ้ มูลสภาพข้วั ของสารโคเวเลนซ์

อิเล็กตรอนรว่ มกัน 7. สืบค้นขอ้ มลู แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ ง

3. ระยะหา่ งระหวา่ งอะตอมทส่ี ร้างพนั ธะโคเวเลนซก์ นั โมเลกุลของสารโคเวเลนซ์

จะอยู่ในตาแหนง่ ที่แรงผลกั และแรงดงึ ดูดระหวา่ ง 8. สืบคน้ ข้อมลู การเกดิ พนั ธะไอออน

อะตอมมีคา่ สมดลุ 9. สืบค้นข้อมูลการเขยี นสูตรและการ

4. การใช้เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนร่วมกันระหว่างอะตอมของ เรยี กชื่อสารประกอบไอออน

สารโคเวเลนซเ์ ป็นไปตามกฎออกเตต 10. สบื คน้ ข้อมูลพลงั งานกับการเกิด

5. อเิ ลก็ ตรอนคู่ร่วมพันธะเป็นเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนท่ี สารประกอบไอออน

อะตอมในสารโคเวเลนซใ์ ชร้ ว่ มกนั เปน็ คู่ 11. สงั เกตการละลายของสารประกอบ

6. พนั ธะโคเวเลนซแ์ บบโคออรด์ ิเนตเปน็ พนั ธะท่เี กดิ จาก ไอออนในนา้

การใช้เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนของธาตใุ ดธาตุหนึง่ ในการสร้าง 12. สงั เกตการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมขี อง

พนั ธะโคเวเลนซ์ สารประกอบไอออน

7. สตู รโมเลกลุ ของสารโคเวเลนซ์จะแสดงจานวนอะตอม 13. สบื ค้นขอ้ มูลแบบจาลองและพลงั งาน

แต่ละชนิดท่ีอยู่ภายในโมเลกลุ ท่ีใช้ในการสลายพนั ธะต่าง ๆ

8. การเรยี กชอื่ สารโคเวเลนซ์ต้องระบุจานวนอะตอมที่

สร้างพนั ธะโคเวเลนซด์ ้วยภาษากรีก

9. พันธะเด่ยี วจะมคี วามยาวพนั ธะมากกว่าพันธะคแู่ ละ

พันธะสาม ตามลาดบั

10. พันธะเด่ยี วจะมีความแขง็ แรงของพันธะน้อยกว่า

พันธะคูแ่ ละพันธะสามตามลาดับ

31

ความรขู้ องนักเรียนท่ีนาไปสู่ความเข้าใจท่ีคงทน นักเรียนจะรู้ว่า (ต่อ) 11. การเปลย่ี นแปลงของพลังงานของปฏกิ ริ ยิ าเคมีของ สารโคเวเลนซ์ประกอบด้วยการดดู พลงั งานเพ่ือทาลาย พันธะเคมีของสารเริ่มต้นและการคายพลงั งานเพ่ือสร้าง พันธะเคมีของผลติ ภณั ฑ์ 12. เรโซแนนซเ์ ปน็ ปรากฏการณ์ท่สี ารโคเวเลนซม์ ีคู่ อิเล็กตรอนเคลื่อนทีร่ ะหว่างอะตอมภายในโมเลกุลเพอ่ื ทาใหอ้ ะตอมสรา้ งพันธะโคเวเลนซ์ได้ 13. อะตอมภายในโมเลกลุ จะจดั ตัวใหอ้ ยู่ในตาแหนง่ ที่ เหมาะสมและห่างกนั ท่สี ุดเพอื่ ใหโ้ มเลกลุ มพี ลงั งานต่า และมีเสถยี รภาพมากทีส่ ุด 14. เมอื่ อะตอมที่มคี ่าสภาพไฟฟา้ ลบตา่ งกันสร้างพนั ธะ โคเวเลนซก์ ันอะตอมจะเกิดการแสดงอานาจไฟฟา้ ขนึ้ เรียกพนั ธะนว้ี า่ พนั ธะโคเวเลนซ์แบบมขี ้ัว 15. สารโคเวเลนซจ์ ะแสดงสภาพข้วั เมอ่ื ทิศทางข้ัวของ พันธะไม่เกดิ การหักลา้ งกนั หมด 16. แกส๊ เฉอ่ื ยและโมเลกุลไมม่ ขี ัว้ มีจุดหลอมเหลวและ จดุ เดอื ดต่าเนอ่ื งจากโมเลกลุ ยดึ เหนยี่ วกันดว้ ยแรง ลอนดอนท่มี ีคา่ ตา่ มาก 17. โมเลกุลมีขว้ั มีจุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดสูงกว่าแกส๊ เฉอื่ ยและโมเลกลุ ไม่มขี ั้วเพราะโมเลกลุ ยึดเหนี่ยวกันดว้ ย แรงแวนเดอร์วาลส์ 18. พันธะไฮโดรเจนเปน็ พันธะท่มี คี วามแขง็ แรงมาก เกิดในโมเลกุลมขี ั้วทไี่ ฮโดรเจนสรา้ งพนั ธะโคเวเลนซก์ บั ธาตทุ ีม่ คี ่าสภาพไฟฟา้ ลบสงู ไดแ้ ก่ F, O และ N 19. สารโคเวเลนซ์ทมี่ โี ครงสร้างแบบโครงผลกึ รา่ งตาข่าย จะมจี ุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูงมาก และมคี วาม แข็งแรง

20. การรับและใหเ้ วเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนในการเกดิ พนั ธะ ไอออนเปน็ ไปตามกฎออกเตต เกดิ เป็นแรงยึดเหนี่ยว

32

ระหวา่ งไอออนบวกและไอออนลบซงึ่ เปน็ แรงดงึ ดงึ ดูด ความรูข้ องนักเรยี นท่ีนาไปสคู่ วามเข้าใจทีค่ งทน นกั เรียนจะรวู้ า่ (ตอ่ ) ไฟฟา้ สถิต 21. ไอออนบวกและไออนลบจะสร้างแรงยดึ เหนยี่ ว ตอ่ ไปเรื่อย ๆ จนกลายเปน็ ผลกึ ขนาดใหญ่ทาให้ไม่ สามารถแยกออกเป็นโมเลกลุ ได้ สารประกอบไอออนจงึ ใช้สูตรเอมพริ ิคัลเป็นสูตรโมเลกุลแทน 22. การเรียกชอ่ื สารประกอบไอออนจะระบตุ วั เลขประจุ เมอ่ื ไอออนบวกเป็นธาตุแทรนซชิ ัน 23. พลงั งานท่ีเกี่ยวขอ้ งในการเกดิ สารประกอบ ไอออน ได้แก่ พลงั งานการระเหิด พลงั งานการแตกตวั เป็นไอออน พลังงานการสลายพันธะ สัมพรรคภาพ อิเล็กตรอน และพลังงานโครงร่างผลกึ 24. สารประกอบไอออนจะนาไฟฟา้ ไดเ้ มือ่ เปน็ ของเหลว หรือเปน็ สารละลายเน่ืองจากไอออนบวกและไอออนลบ แยกออกจากกนั ทาใหไ้ อออนทงั้ 2 ชนิด เคลอื่ นท่เี ป็น อิสระ 25. สารประกอบไอออนสามารถละลายน้าไดเ้ พราะน้า ออกแรงดึงดูดใหไ้ อออนบวกและไอออนลบแยกออกจาก กัน จากนนั้ นา้ จะเขา้ ไปล้อมไอออนทัง้ 2 ชนดิ น้ไี วแ้ ทน 26. สารประกอบไอออนทไ่ี ม่ละลายในน้าเพราะพลังงาน แลตทิซมคี ่าสูงกวา่ พลงั งานไฮเดรชนั มาก 27. เม่ือผสมสารละลายของสารประกอบไอออน 2 ชนดิ เข้าดว้ ยกนั ปฏกิ ริ ิยาเคมีจะเกดิ ขึน้ เม่อื ไอออนบวกและ ไอออนลบเกดิ การรวมตัวกนั และเกดิ เปน็ ตะกอนขนึ้ 28. สมการไอออนสทุ ธเิ ป็นสมการเคมีท่แี สดงเฉพาะ ชนิดของไอออนทีท่ าปฏกิ ริ ยิ ากัน

29. ธาตโุ ลหะมคี า่ พลงั งานการแตกตวั เปน็ ไอออนตา่ จึง สญู เสียอเิ ลก็ ตรอนได้งา่ ย อิเลก็ ตรอนที่เคลอ่ื นตัวอย่าง อิสระน้ที าให้ธาตโุ ลหะท่สี รา้ งพนั ธะโลหะกนั เสมือนมี

33

เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนครบ 8 ตัวตามกฎออกเตตตลอดเวลา 30. อิเลก็ ตรอนทเี่ คลื่อนตวั อยา่ งอสิ ระทาใหอ้ ะตอมถา่ ย ความร้ขู องนักเรยี นท่นี าไปสคู่ วามเขา้ ใจทค่ี งทน นกั เรียนจะรู้ว่า (ตอ่ ) โอนความร้อนและประจุไฟฟ้าไดท้ ่ัวทั้งกอ้ นโลหะ และ ทาใหพ้ ันธะโลหะมีความแข็งแรงมาก จดุ หลอมเหลวและ จุดเดือดจึงมคี ่าสงู มาก

34

ขัน้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรยี นร้ซู งึ่ เปน็ หลักฐานทแ่ี สดงว่านกั เรยี นมผี ลการเรยี นรู้

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด