ภ ม ล กษณ ของภ ม ภาคต างๆ ป.5 obec

นโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนแนวทางการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม นโยบายหนึ่ง คือ การปรับลดเวลาเรียนของเด็กให้น้อยลง เป็นการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โดยให้ส านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานพิจารณาปรับลดชั่วโมงเรียนของบางวิชาให้น้อยลง แต่ต้องไม่กระทบเนื้อหาหลักที่เด็ก ๆ ควรเรียนรู้ ครูต้องใช้ความสามารถในการอธิบายและบูรณาการให้ครบถ้วนอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ ก าหนดให้สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้ผู้เรียนอย่างหลากหลาย เพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดวิเคราะห์ ความมีน้ าใจต่อกัน การท างานเป็นทีม กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาศักยภาพและความชอบของตนเอง

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา โรงเรียนหวั งวั วิทยาคาร สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ตารางท่ี 2.13 แสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบ RT ย้อนหลัง 3 ปี (ปกี ารศึกษา 2561-2563) รอ้ ยละผลประเมนิ การอา่ นออกเสียง/ รอ้ ยละผลประเมนิ การอา่ นรู้เรือ่ ง/ ร้อยละผลประเมินรวม 2 ดา้ น ปี ระดบั ระดับ รร. จงั หวดั สพฐ. ประเทศ รร. จงั หวัด สพฐ. ประเทศ รร. จงั หวดั สพฐ. ประเทศ 2561 89.55 68.95 65.70 66.13 80.88 73.84 71.17 71.24 85.22 71.39 68.44 68.69 2562 89.65 69.55 67.49 68.50 80.20 74.02 72.51 72.81 84.92 71.79 70.00 70.66 2563 97.60 75.39 74.13 74.14 91.00 74.73 72.23 71.86 94.30 75.05 73.20 73.02 แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผู้เรยี น(Reading Test: RT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 - 2563 2561 2562 2563 120 100 91 94.3 97.6 85.22 85.22 80.88 80.2 80 89.55 89.65 60 40 20 0 การอ่านออกเสียง การอา่ นเอาเร่ือง รวม 2 ด้าน 2561 89.55 80.88 85.22 2562 89.65 80.2 85.22 2563 97.6 91 94.3 ~ ๔๖ ~

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีของสถานศึกษา โรงเรียนหัวงัววทิ ยาคาร สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากาฬสนิ ธ์ุ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ตารางที่ 2.14 แสดงผลการประเมินการอา่ น การเขียน ปีการศกึ ษา 2563 ระดับช้ันเรียน ปีการศึกษา 2561 ปกี ารศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 การอ่าน การเขยี น การอ่าน การเขียน การอา่ น การเขียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 86.36 81.82 90.91 90.91 83.33 83.33 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 42.86 100.00 90.91 81.82 81.82 81.82 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 95.24 95.24 80.77 69.23 75.00 75.00 77.50 100.00 59.09 72.73 92.31 92.31 100.00 90.00 58.33 83.33 85.71 85.71 94.44 94.44 77.78 83.33 81.82 81.82 แสดงความสามารถด้านการอ่านการเขียน ชนั้ ป.1 - 6 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นหัวงวั วทิ ยาคาร สพป.กาฬสนิ ธุ์ เขต 2 100 92.3192.31 90 83.3383.33 81.8281.82 85.7185.71 81.8281.82 80 75 75 70 60 50 40 30 20 10 0 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 การอา่ น 83.33 81.82 75 92.31 85.71 81.82 การเขยี น 83.33 81.82 75 92.31 85.71 81.82 การอ่าน การเขยี น ~ ๔๗ ~

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปขี องสถานศกึ ษา โรงเรยี นหวั งวั วทิ ยาคาร สงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ตารางที่ 2.15 แสดงผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (National Test: NT) ปีการศกึ ษา 2563 ระดับ/รายวชิ า ด้านภาษาไทย ด้านการคานวณ รวม 2 ด้าน ค่าเฉลย่ี ระดับโรงเรยี น 38.50 41.00 39.75 คา่ เฉลี่ยระดบั จงั หวัด 44.83 38.63 41.73 คา่ เฉล่ยี ระดับสังกัด สพฐ. 47.76 41.30 44.53 คา่ เฉลีย่ ระดับประเทศ 40.47 47.46 43.93 แผนภูมิแสดงค่าเฉ ล่ียคะแนน ผลการสอบระดับชาติ ป .3 ( NT ) ดา้ นภาษาไทย ดา้ นคณติ ศาสตร์ รวม 2 ด้าน 38.5 41 39.75 44.83 38.63 41.73 47.76 41.3 44.53 40.47 47.46 43.93 ร ะ ดั บ โ ร ง เ รี ย น ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ร ะ ดั บ สั ง กั ด ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ ตารางท่ี 2.16 แสดงการเปรียบเทยี บคะแนนทดสอบความสามารถพื้นฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (National Test: NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศกึ ษา 2561 - 2563 ปีการศกึ ษา / วิชา ด้านภาษา ดา้ นคานวณ รวม 2 ดา้ น (Literacy) (Numeracy) 2561 45.04 57.14 51.09 2562 43.83 39.00 41.41 2563 38.50 41.00 39.75 ผลต่าง ปี 62/63 - 5.33 2.00 - 1.66 แ ผ นภูมิเป รียบ เทียบ คะแ นนเฉลี่ยผ ลก าร ท ด สอ บ ระดับ ช าติ ( NT) ชั้ น ป .3 ปี 2 561 - 2 563 ดา้ นภาษาไทย ดา้ นคณิตศาสร์ รวม 2 ด้าน 45.04 57.14 51.09 43.83 39 41.41 38.5 41 39.75 2561 2562 2563 ~ ๔๘ ~

2.57 แ ผ นภูมิเป รียบ เทียบ ผ ลก าร สอ บ O - NET ปี 2 561 - 2 563 ชั้ นป ร ะถมศึก ษ าปีท่ี 6 2561 2562 2563 44.82 48.2 50.25 33.21 24.29 27.78 38.71 37.13 40.57 35.18 29.82 31.11 37.98 34.86 37.43 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ เฉล่ียปี 63 2561 44.82 33.21 38.71 35.18 37.98 2562 48.2 24.29 37.13 29.82 34.86 2563 50.25 27.78 40.57 31.11 37.43 ~ ๔๙ ~

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา โรงเรยี นหวั งัววทิ ยาคาร สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสินธ์ุ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ด้านประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา ความตอ้ งการ - บุคลากรมีความตระหนกั ในหน้าท่ี ๑.ระบบการจัดเก็บข้อมูล - บุคลากรบางสว่ นขาดความรู้ทาง - ครูผรู้ ับผดิ ชอบระบบสารสนเทศ สารสนเทศ เทคโนโลยี - ความเอาใจใส่ของครูประจาชั้น - วัสดอุ ุปกรณ์ท่ีใช้ตกแต่ง - จัดเก็บไม่เป็นระบบ - ครูผู้รับผิดชอบกากับดูแล - วทิ ยากรให้ความรเู้ ร่ืองจราจร ๒.ห้องเรียนไม่ได้มาตรฐาน - ขาดความเอาใจใส่ - ขาดวัสดอุ ุปกรณ์ในการตกแตง่ ๓.ระบบการจราจรในโรงเรียน - ขาดวนิ ยั เร่ืองการจราจร ๑๓. แนวทางการพฒั นา โรงเรียนหวั งัววิทยาคาร ได้ยึดหลักการปฏริ ูปการศึกษาทศวรรษท่ี ๒ เป้าหมาย ๓ เป้าหมาย ๔ กรอบแนวทาง ดงั นี้ เป้าหมาย ๓ เป้าหมาย ได้แก่ ๑. พฒั นาคุณภาพมาตรฐานการศกึ ษาและการเรยี นรู้ของคนไทย ๒. เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้อย่างทวั่ ถงึ มีคุณภาพ ๓. ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและการจัดการศึกษา กรอบแนวทาง ๔ กรอบ ได้แก่ ๑. พฒั นาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ๒. พฒั นาครยู คุ ใหม่ ๓. พฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาและแหล่งเรียนรยู้ ุคใหม่ ๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 โรงเรยี นจะตอ้ งมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เป็นไปตามแผนพฒั นาคณุ ภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔ เปา้ หมายการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตามแผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔ เป้าหมาย ปี ๒๕๖๑ ปี๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓ ปี ๒๕๖๔ ผลสัมฤทธ์ิเฉลยี่ รวม เพ่ิมร้อยละ ๑ เพ่มิ ร้อยละ ๑ เพม่ิ รอ้ ยละ ๑ เพม่ิ ร้อยละ ๑ ในส่วนทข่ี าด ในสว่ นท่ขี าด ในสว่ นที่ขาด ในส่วนทข่ี าด นร.ไดร้ ะดับ ๓ ขึน้ ไป เพม่ิ รอ้ ยละ ๕ เพิม่ รอ้ ยละ ๕ เพ่ิมร้อยละ ๕ เพิ่มร้อยละ ๕ ในส่วนทีข่ าด ในสว่ นท่ขี าด ในส่วนทข่ี าด ในสว่ นท่ขี าด ผลสอบ NT เพ่มิ ร้อยละ ๕ เพิม่ ร้อยละ ๕ เพม่ิ รอ้ ยละ ๕ เพิ่มร้อยละ ๕ ในส่วนที่ขาด ในส่วนที่ขาด ในสว่ นทีข่ าด ในส่วนทข่ี าด ผลสอบ O-Net เพมิ่ ร้อยละ ๕ เพม่ิ ร้อยละ ๕ เพม่ิ ร้อยละ ๕ เพม่ิ ร้อยละ ๕ ในสว่ นที่ขาด ในส่วนทข่ี าด ในส่วนที่ขาด ในสว่ นทีข่ าด ~ ๕๐ ~

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปขี องสถานศกึ ษา โรงเรียนหัวงวั วิทยาคาร สงั กดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสินธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 สว่ นท่ี ๒ ทิศทางการพัฒนาสถานศกึ ษา ~ ๕๑ ~

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปขี องสถานศึกษา โรงเรยี นหวั งวั วิทยาคาร สังกดั สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสินธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ส่วนที่ ๒ ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๑.วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ ของ สพฐ. “การศึกษาขน้ั พื้นฐานของประเทศไทย มคี ุณภาพและมาตรฐานระดับสากล บนพื้นฐานของความเปน็ ไทย” พันธกิจ(Mission) ๑. สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอยา่ งทว่ั ถงึ และมคี ุณภาพ ๒. สง่ เสริมให้ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมจริยธรรม มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลกั สตู รและ ค่านิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ๓. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการท่เี น้นการมีส่วนรว่ ม การบรู ณาการการจัดการศึกษา และเสริมสรา้ ง ความรับผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการศกึ ษา เปา้ หมาย(Goals) ๑. ผเู้ รียนระดับกอ่ นประถมศึกษา และระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานทกุ คน มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย มีคณุ ภาพและทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ๒. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รบั โอกาสในการศึกษาข้ันพืน้ ฐานอย่างท่ัวถงึ มคี ุณภาพ และ เสมอภาค ๓. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะตรงตามสายงาน และมวี ัฒนธรรมการทางานที่มงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ ๔. สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ และสถานศึกษา มปี ระสิทธิภาพ และเปน็ กลไกขับเคล่อื นการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สู่คุณภาพระดบั มาตรฐานสากล ๕. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเน้นการทางานแบบบรู ณาการ มีเครือข่ายการบรหิ าร จัดการ บริหารแบบมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา กระจายอานาจและ ความรบั ผดิ ชอบสู่ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา และสถานศึกษา ๖. พนื้ ทพ่ี ิเศษ ได้รบั การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและพฒั นารปู แบบการจดั การศกึ ษาที่เหมาะสมตาม บริบทของพื้นท่ี ๗. หน่วยงานทกุ ระดบั พัฒนาสอื่ เทคโนโลยี และระบบข้อมลู สารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจัดการศกึ ษา อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๘. หน่วยงานทุกระดับ มีงานวิจยั ทส่ี ามารถนาผลไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ ~ ๕๒ ~

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปขี องสถานศึกษา โรงเรยี นหวั งัววิทยาคาร สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธ์ุ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต ๒ ได้นากรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) จดุ เน้นเชิงนโยบายรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร นโยบายสานกั งาน คณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ และบริบทตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง มาเชือ่ มโยงกบั อานาจหน้าทข่ี อง สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาฬสินธ์ุ เขต ๒ และกาหนดเป็นกรอบแนวทางใน การจดั ทา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 ของสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา กาฬสนิ ธ์ุ เขต ๒ โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ๒. ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๘๐) เป็นยทุ ธศาสตรช์ าติฉบบั แรกของประเทศไทยตาม รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย ซง่ึ จะต้องนาไปส่กู ารปฏิบตั ิเพ่ือใหป้ ระเทศไทยบรรลวุ สิ ัยทัศน์ “ประเทศ ไทยมคี วามมน่ั คง มัง่ คัง่ ย่ังยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่อื ความสขุ ของคนไทยทุกคน ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ ๖ ด้าน ๑.ดา้ นความมน่ั คง (๑) การรกั ษาความสงบภายในประเทศ (๒) การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาทมี่ ีผลกระทบต่อความม่นั คง (๓) การพัฒนาศกั ยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภยั คกุ คามทีก่ ระทบตอ่ ความม่ันคง ของชาติ (๔) การบรู ณาการความร่วมมอื ดา้ นความมัน่ คงกับอาเซยี นและนานาชาติรวมถงึ องคก์ ร ภาครฐั และทม่ี ใิ ช่ ภาครัฐ (๕) การพัฒนากลไกการบริหารจดั การความม่ันคงแบบองคร์ วม ๒.ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (๑) การเกษตรสร้างมูลค่า (๒) อตุ สาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต (๓) สรา้ งความหลากหลายดา้ นการทอ่ งเท่ียว (๔) โครงสร้างพืน้ ฐาน เชอื่ มไทย เช่ือมโลก (๕) พฒั นาเศรษฐกจิ บนพนื้ ฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ ๓.ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ (๑) การปรับเปลยี่ นคา่ นยิ มและวฒั นธรรม (๒) การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต (๓) ปฏิรปู กระบวนการเรียนรทู้ ่ีตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ (๔) การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนษุ ย์ท่หี ลากหลาย (๕) การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะที่ดี (๖) การสรา้ งสภาพแวดล้อมที่เออื้ ตอ่ การพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (๗) การเสริมสร้างศักยภาพการกฬี าในการสร้างคุณคา่ ทางสงั คมและพฒั นาประเทศ ๔.ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคม (๑) การลดความเหลอื่ มล้า สรา้ งความเปน็ ธรรมในทุกมติ ิ (๒) การกระจายศูนยก์ ลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยี (๓) มกี ารเสริมสร้างพลังทางสงั คม ~ ๕๓ ~

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปขี องสถานศกึ ษา โรงเรยี นหัวงัววทิ ยาคาร สังกดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษากาฬสนิ ธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 (๔) การเพิม่ ขีดความสามารถของชมุ ชนทอ้ งถ่ินในการพัฒนา การพ่งึ ตนเองและการ จัดการตนเอง ๕.ดา้ นการสร้างการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม (๑) สร้างการเติบโตอยา่ งยั่งยนื บนสงั คมเศรษฐกิจสีเขยี ว (๒) สร้างการเตบิ โตอย่างยั่งยนื บนสังคมเศรษฐกจิ ภาคทะเล (๓) สร้างการเติบโตอยา่ งยัง่ ยนื บนสังคมทีเ่ ป็นมติ รตอ่ สภาพภูมอิ ากาศ (๔) พฒั นาพน้ื ท่ีเมือง ชนบท เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเนน้ ความเปน็ เมืองทเ่ี ตบิ โต อยา่ งต่อเนอ่ื ง (๕) พฒั นาความม่ันคงนา้ พลงั งาน และเกษตรที่เปน็ มิตรตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม (๖) ยกระดบั กระบวนทัศน์เพ่ือกาหนดอนาคตประเทศ ๖.ดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ (๑) ภาครฐั ที่ยึดประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลาง ตอบสนองความต้องการ และใหบ้ รกิ ารอยา่ ง สะดวก รวดเร็วโปร่งใส (๒) ภาครัฐบริหารงานแบบบรู ณาการโดยมียุทธศาสตรช์ าตเิ ป็นเป้าหมายและเชอ่ื มโยง การพัฒนา ในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทกุ พ้นื ท่ี (๓) ภาครฐั มีขนาดเลก็ ลง เหมาะสมกับภารกิจ สง่ เสริมให้ประชาชนและทกุ ภาคสว่ น มีสว่ นร่วม ในการพัฒนาประเทศ (๔) ภาครฐั มคี วามทนั สมัย (๕) บุคลากรภาครัฐเป็นคนดแี ละเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม มจี ติ สานึก มคี วามสามารถสูง ม่งุ มัน่ และเปน็ มอื อาชีพ (๖) ภาครฐั มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ (๗) กฎหมายมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมกับบรบิ ทต่าง ๆ และมีเท่าทจี่ าเปน็ (๘) กระบวนการยุตธิ รรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัตติ ่อประชาชนโดยเสมอภาค ๓.แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙ แนวคิดการจดั การศกึ ษา แนวคิดการจดั การศึกษา (Conceptual Design) ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย หลกั การ จดั การศึกษาเพอื่ ปวงชน (Education for At) หลักการจัดการศกึ ษาเพื่อความเทา่ เทียมและท่วั ถงึ (Inclusive Education) หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (Sufficiency Economy) และหลกั การมีสว่ น รว่ มของทุก ภาคสว่ นของสงั คม (AI for Education) อกี ทั้งยึดตามเปา้ หมายการพัฒนาท่ีย่งั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs ๒๐๓๐) ประเด็นภายในประ (Local Issues) โดยนายทุ ธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเปน็ กรอบความคดิ สาคัญในการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ ประกอบด้วย ๖ ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพ่อื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ มเี ป้าหมายดงั น้ี ๑.๑ คนทุกช่วงวัยมคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยึดม่ันการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ๑.๒ คนทกุ ช่วงวัยในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพน้ื ที่พเิ ศษไดร้ ับ การศกึ ษาและเรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ ~ ๕๔ ~

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปขี องสถานศึกษา โรงเรียนหัวงวั วิทยาคาร สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษากาฬสนิ ธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ๑.๓ คนทุกชว่ งวัยได้รับการศกึ ษา การดูแลและป้องกนั จากภยั คุกคามในชวี ติ รปู แบบ ใหม่ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๒ การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัยและนวัตกรรมเพ่อื สรา้ งขดี ความสามารใน การ แข่งขนั ของประเทศ มเี ปา้ หมายดงั น้ี ๒.๑ กาลังคนมที กั ษะทีส่ าคัญจาเปน็ และมสี มรรถนะตรงตามความตอ้ งการของตลาดงาน และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ ๒.๒ สถาบนั การศกึ ษาและหนว่ ยที่จัดการศกึ ษาผลติ บัณฑิตท่ีมคี วามเช่ียวชาญและเป็นเลิศ เฉพาะด้าน ๒.๓ การวจิ ัยและพฒั นาเพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้ และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและมูลค่าเพ่มิ ทางเศรษฐกจิ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ มีเป้าหมายดังน้ี ๓.๑ ผ้เู รียนมีทกั ษะและคณุ ลักษณะพน้ื ฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะท่ี จาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ๓.๒ คนทุกช่วงวยั มที ักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศกึ ษา และ มาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตไดต้ ามศักยภาพ ๓.๓ สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั สูตร อย่างมคี ุณภาพและมาตรฐาน ๓.๔ แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรยี น นวตั กรรม และส่ือการเรยี นรูม้ คี ุณภาพและมาตรฐานและ ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ได้โดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานที่ ๓.๕ ระบบและกลไกการวดั การติดตาม และประเมนิ ผลมีประสิทธิภาพ ๓.๖ ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ได้มาตรฐานระดบั สากล ๓.๗ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้รบั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศกึ ษา มีเปา้ หมายดงั นี้ ๔.๑ ผเู้ รียนทกุ คนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ ๔.๒ การเพิม่ โอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอื่ การศึกษาสาหรบั คนทุกชว่ งวัย ๔.๓ ระบบขอ้ มูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศกึ ษาท่ีครอบคลุม ถูกต้องเปน็ ปัจจุบนั เพ่ือการวางแผนการบริหารจัดการศกึ ษา การติดตามประเมิน และรายงานผล ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งเสรมิ คุณภาพชีวติ ที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม มเี ป้าหมาย ดงั น้ี ๕.๑ คนทุกชว่ งวัย มีจติ สานกึ รกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิดตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติ ๕.๒ หลกั สตู ร แหลง่ เรียนรู้ และสือ่ การเรยี นร้ทู ี่สง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม คุณธรรม จรยิ ธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบัติ ๕.๓ การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาองค์ความรแู้ ละนวตั กรรมดา้ นการสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ ร กบั ส่งิ แวดล้อม ~ ๕๕ ~

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีของสถานศกึ ษา โรงเรียนหวั งัววิทยาคาร สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสนิ ธ์ุ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ าร จดั การศกึ ษา มีเป้าหมาย ดงั นี้ ๖.๑ โครงสรา้ ง บทบาท และระบบการบรหิ ารจดั การการศึกษามคี วามคลอ่ งตวั ชดั เจน และ สามารถตรวจสอบได้ ๖.๒ ระบบการบรหิ ารจดั การศึกษามปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลส่งผลต่อคณุ ภาพและ มาตรฐานการศกึ ษา ๖.๓ ทกุ ภาคส่วนของสังคมมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษาทตี่ อบสนองความต้องการของ ประชาชนและพ้นื ท่ี ๖.๔ กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษารองรับลกั ษณะที่ แตกต่างกันของผเู้ รยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลงั แรงงานของประเทศ ๖.๕ ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษามีความ เปน็ ธรรม สร้างขวัญกาลงั ใจ และส่งเสริมให้ปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างเตม็ ตามศักยภาพ นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕6๕ ตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๔๐) และแผนปฏริ ปู ประเทศ ด้าน การศกึ ษากาหนดใหม้ กี ารพัฒนาเดก็ ตงั้ แต่ระดับปฐมวยั ให้มสี มรรถนะและคุณลักษณะที่ดี สมวยั ทกุ ด้าน โดยการ ปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรทู้ ่ตี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ตระหนักถงึ พหุปญั ญา ของมนุษย์ท่ี หลากหลาย มีเป้าหมายให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวยั ได้รับการศกึ ษาท่มี คี ุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะ ที่จาเปน็ ของโลก อนาคต สามารถแกป้ ญั หา ปรบั ตัว สือ่ สาร และทางานร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้อย่างมีประสทิ ธิผล มีวินัย มีนสิ ัยใฝ่เรียนรู้ อย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวติ รวมทงั้ เป็นพลเมืองทร่ี ู้สิทธแิ ละหนา้ ที่ มีความรับผดิ ชอบ และมจี ิตสาธารณะ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มุ่งมนั่ ในการพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ให้เป็น “การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานวิถีใหม่ วถิ ีคุณภาพ” มงุ่ เน้นความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา สง่ เสรมิ โอกาส ทางการศึกษาท่ี มคี ุณภาพอยา่ งเท่าเทยี ม และบรหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ กาหนดนโยบาย สานกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ดังนี้ ๑. ดา้ นความปลอดภัย พัฒนาระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภัยให้กบั ผูเ้ รียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และ สถานศึกษา จากภยั พิบตั ิและภัยคกุ คามทุกรปู แบบ รวมถึงการจดั สภาพแวดล้อมทเ่ี อือ้ ต่อการมสี ขุ ภาวะท่ีดี สามารถปรับตวั ต่อโรคอุบัติใหมแ่ ละโรคอบุ ัตํซิ ้า ๒. ดา้ นโอกาส ๒.๑ สนับสนุน ให้เดก็ ปฐมวยั ได้เขา้ เรียนทุกคน มีพฒั นาการทด่ี ี ท้งั ทางร่างกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา ให้สมกับวัย ๒.๒ ดาเนนิ การ ให้เด็กและเยาวชนได้รบั การศึกษาจนจบการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน อย่างมคี ณุ ภาพ ตาม มาตรฐาน วางรากฐานการศกึ ษาเพือ่ อาชพี สามารถวเิ คราะหต์ นเองเพือ่ การศึกษาต่อ และประกอบอาชพี ตรง ~ ๕๖ ~

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีของสถานศึกษา โรงเรยี นหัวงวั วิทยาคาร สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษากาฬสินธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ตามศกั ยภาพและความถนัดของตนเอง รวมท้งั ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรยี นที่มคี วามสามารถพิเศษ สู่ความเปน็ เลศิ เพอื่ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ ๒.๓ พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลือเดก็ และเยาวชนที่อยูใ่ นการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หอ้ อก จากระบบการศึกษา รวมทัง้ ช่วยเหลอื เด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคนั ให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยา่ งเทา่ เทยี มกัน ๒.๔ สง่ เสรมิ ให้เดก็ พิการและผู้ดอ้ ยโอกาส ใหไ้ ดร้ ับโอกาสทางการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ มีทักษะในการ ดาเนนิ ชีวติ มพี ืน้ ฐานในการประกอบอาชีพ พง่ึ ตนเองไดอ้ ย่างมีศกั ดศิ์ รคี วามเป็นมนุษย์ ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓. ดา้ นคณุ ภาพ ๓.๑ ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ มีทักษะการเรยี นรแู้ ละทักษะที่จาเปน็ ของโลกใน ศตวรรษที่ ๒๑ อย่างครบถว้ น เปน็ คนดี มีวนิ ยั มีความรักในสถาบนั หลักของชาติ ยึดมน่ั การปกครอง ใน ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มที ัศนคติทถี่ กู ต้องต่อบา้ นเมือง ๓.๒ พัฒนาผเู้ รยี นให้มีสมรรถนะและทกั ษะดา้ นการอ่าน คณติ ศาสตร์ การคดิ ขน้ั สูง นวตั กรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจทิ ัล และภาษาต่างประเทศ เพอ่ื เพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขัน และการ เลือก ศกึ ษาต่อเพ่ือการมีงานทา ๓.๓ ปรบั หลักสูตรเป็นหลักสตู รฐานสมรรถนะ ทเ่ี น้นการพฒั นาสมรรถนะหลกั ทจ่ี าเป็น ในแต่ละระดบั จัดกระบวนการเรยี นรู้แบบลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง รวมท้งั ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ร้างสมดุลทกุ ดา้ น ส่งเสริมการ จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลผ้เู รยี นทุกระดบั ๓.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหเ้ ป็นครยู ุคใหม่ มีศักยภาพในการจัดการเรยี นการสอน ตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะ มที ักษะในการปฏบิ ัติหน้าท่ไี ดด้ ี มีความรู้ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทลั มีการพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รวมทัง้ มีจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู ๔. ด้านประสิทธิภาพ ๔.๑ พฒั นาระบบบริหารจัดการโดยใช้พนื้ ทีเ่ ป็นฐาน มนี วัตกรรมเปน็ กลไกหลักในการขบั เคลือ่ น บน ฐานข้อมูลสารสนเทศท่ีถกู ต้อง ทันสมัย และการมีสว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน ๔.๒ พฒั นาโรงเรียนมธั ยมดีสมี่ มุ เมอื ง โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน โรงเรียนขนาดเล็ก และโรงเรียนท่ี สามารถดารงอยู่ได้อย่างมคี ณุ ภาพ (Stand Alone) ให้มคี ณุ ภาพอย่างยง่ั ยืน สอดคลอ้ งกับบรบิ ท ของพ้นื ท่ี ๔.๓ บริหารจดั การโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา ท่มี ีจานวนนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษา ปที ี่ ๑ - ๓ น้อยกวา่ ๒๐ คน ใหไ้ ดร้ บั การศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ สอดคล้องกบั นโยบายโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน ๔.๔ สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพในสถานศึกษาทีม่ วี ตั ถุประสงค์เฉพาะ และสถานศกึ ษา ท่ตี ั้ง ในพืน้ ที่ลกั ษณะพิเศษ ๔.๕ สนบั สนุนพื้นทีน่ วตั กรรมการศกึ ษาใหเ้ ป็นตน้ แบบการพัฒนานวตั กรรมการศึกษา และการเพิม่ ความคล่องตวั ในการบรหิ ารและการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน ๔.๖ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ~ ๕๗ ~

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปขี องสถานศึกษา โรงเรยี นหัวงัววทิ ยาคาร สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต ๒ พ.ศ. ๒๕๖4 ชอ่ื โครงการ : พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สตู รอาเซยี นและหลกั สูตรทอ้ งถนิ่ แผนงานฝา่ ย : บริหารงานวิชาการ ตอบสนองกลยทุ ธ์ท่ี ๔ : ครูเก่ง : นักเรียนดี กลยทุ ธ์ที่ ๔ : กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา สอดคล้องกบั มาตรฐานท่ี ๒ : ดาเนนิ งานพฒั นาวชิ าการท่ีเน้นคณุ ภาพผูเ้ รียนรอบดา้ นตามหลักสูตร ตัวชีว้ ดั ท่ี 2.3 สถานศึกษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย : โครงการตอ่ เนือ่ ง ลักษณะงาน/โครงการ : นายอภิรกั ษ์ ชารรี กั ษ์ นางพุทธวรรณ พชิ ัยเชิด และคณะครู ผรู้ บั ผิดชอบ : ตลอดปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ . หลกั การและเหตผุ ล ตาม มาตรา ๔ พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ในพระราชบญั ญัติน้ี บัญญัติไว้วา่ \"การศึกษา\" หมายความวา่ กระบวนการเรียนรู้เพอื่ ความเจรญิ งอกงามของบคุ คลและสงั คมโดยการถ่ายทอดความรู้ การ ฝกึ การอบรม การสบื สานทางวฒั นธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความกา้ วหนา้ ทางวิชาการ การสร้างองคค์ วามรู้อันเกิด จากการจดั สภาพแวดลอ้ ม สังคมการเรยี นรแู้ ละปจั จยั เกอื้ หนุนให้บุคคลเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต” และใน มาตรา ๒๘ หลกั สูตรการศึกษาระดบั ต่าง ๆ รวมทัง้ หลกั สตู รการศึกษาสาหรบั บคุ คลตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรค สาม และวรรคสี่ ตอ้ งมลี กั ษณะหลากหลาย ทั้งนี้ ให้จดั ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับโดยมุ่งพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของ บุคคลให้เหมาะสมแกว่ ยั และศกั ยภาพ สาระของหลักสูตร ท้ังทีเ่ ป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมงุ่ พฒั นาคนใหม้ คี วามสมดุล ทัง้ ด้าน ความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดงี าม และความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ดงั น้นั เพอื่ เป็นการส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ งเต็มศกั ยภาพ เปน็ มนษุ ย์ทีส่ มบูรณต์ ามเจตนารมณข์ องหลกั สตู รฯทาง โรงเรียนจึงได้จดั ทาโครงการน้ขี ้ึน ๒. วัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้สถานศึกษามีหลกั สูตรที่เหมาะสม เพื่อให้สถานศึกษามีหลักสตู รทีม่ ีสาระการเรยี นรู้เป็นมาตรฐาน สอดคล้องกับหลกั สตู รแกนกลางและครอบคลมุ ความ ตอ้ งการของผู้เรยี น ชุมชน และสงั คม ๓. เปา้ หมาย ๓.๑ เชิงปริมาณ 1) สถานศึกษามีหลกั สูตรสถานศึกษาท้ังระดบั ปฐมวยั และระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานเชอ่ื มโยงกบั ชวี ิตจรงิ และทอ้ งถนิ่ และเป็นแบบอย่างได้ 2) สถานศกึ ษาจัดการศกึ ษาท่ีเน้นผเู้ รยี นทุกกลมุ่ เป้าหมายอย่างรอบดา้ นตามศักยภาพและประเภท ของความพกิ าร ~ ๙๕ ~