เบอร โทรงานเลขาน การก จสาขาน ต ศาสตร ม.ส โขท ยธรรมาธ ราช

..........................................ผูเ้ สนอ (นางศริ พิ รรณ์ แซมะแซ)

เจ้าหนา้ ทีง่ านแผนงานและโครงการ ความเห็นผู้เหน็ ชอบแผน ..............................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื .............................................

(นายประเสริฐ ขอบตุ ร) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

ลงชอ่ื ............................................. (นายนิกร กาญจนสทิ ธิ์)

รองผ้อู ำนวยการสำนักงาน กศน.จงั หวดั พงั งา รกั ษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการสำนกั งาน กศน.จงั หวัดพังงา

ความเหน็ ผู้อนุมตั แิ ผน ..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................

(นายตรัยวค์ ณุ สุขประเสริฐ) ครูชำนาญการพเิ ศษ รกั ษาการในตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งพงั งา

คำนำ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ 2565 ของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอเมืองพังงา จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ประการแรก เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานใช้เป็น แนวทางในการจัดทำกิจกรรมต่างๆ ตามงบประมาณที่กำหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีกรอบในการ ปฏิบัติงานที่ชัดเจน ประการท่ีสอง เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาใช้ในการติดตามควบคุมการปฏิบัติงานของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองพังงา ในการจัดกิจกรรมตา่ งๆใหถ้ ูกต้องสอดคล้อง ตรงตามแผนท่ีกำหนดไว้ และประการสุดท้าย เพ่ือให้ผู้สนใจทราบว่าในปีงบประมาณ 2565 ศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองพังงามีกิจกรรมใดบ้างท่ีจะดำเนนิ การ ซึ่งจะเป็นประโยชนใ์ น การประสาน จึงคาดหวังว่าเอกสารฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เก่ียวข้องตามสมควรและขอขอบคุณผู้มีส่วน จัดทำเอกสารฉบบั นี้

(นายตรัยวค์ ณุ สุขประเสริฐ) ครูชำนาญการพิเศษ รักษาการในตำแหนง่

ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมืองพังงา

สารบญั หนา้

เรอ่ื ง 1 1 การอนุมตั ิแผนปฏบิ ัติการ ประจำปีงบประมาณ 2565 1 คำนำ 4 ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 5 6 1.1 ขอ้ มลู อำเภอ 6 1.1.1 สภาพทางกายภาพ 6 1.1.2 สภาพทางสงั คม – ประชากร 7 1.1.3 สภาพทางเศรษฐกิจ 8 1.1.4 งานประเพณีท้องถ่นิ 19 20 1.2ขอ้ มูลสถานศกึ ษา 21 1.2.1 ประวตั คิ วามเป็นมา 21 1.2.2 อาณาเขตทตี่ ้ังสถานศึกษา 21 1.2.3 ข้อมลู ด้านการบริหาร 22 1.2.4 โครงสรา้ งสถานศึกษา 24 1.2.5 บทบาทหนา้ ที่ กศน.อำเภอ 28 28 ตอนที่ 2 ทศิ ทางการดำเนินงานของสถานศึกษา 31 ปรชั ญา วิสัยทัศน์ เอกลกั ษณ์ อตั ลกั ษณ์ 34 พนั ธกิจ 37 เป้าประสงค์ 41 ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนนิ งาน กศน.อำเภอเมอื งพงั งาปงี บประมาณ 2565 44 47 ตอนท่ี 3 แผนงาน/โครงการ ประจำปงี บประมาณ 2565 50 รายละเอยี ดของแผนงาน/โครงการประจำปีงบประมาณ 2565 53

  1. โครงการสง่ เสรมิ การรหู้ นังสือ 56
  2. โครงการจัดการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 59
  3. โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 62
  4. โครงการประเมินเทียบระดับการศึกษา 65
  5. โครงการพฒั นาหลักสตู รและสื่อการเรยี น
  6. โครงการพฒั นาศูนย์สอบดว้ ยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Exam)
  7. โครงการจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน)
  8. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต
  9. โครงการจัดการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน
  10. โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
  11. โครงการศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
  12. โครงการพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชน
  1. โครงการส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรู้ 70
  2. โครงการส่งเสริมบ้านหนงั สอื ชมุ ชน 74
  3. โครงการพฒั นา กศน. 5 ดีพรีเม่ยี ม 77
  4. โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรแู้ ละภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน 82
  5. โครงการส่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตย 85
  6. โครงการเสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคีเครอื ขา่ ย 88
  7. โครงการการมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา 91
  8. โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาเทคโนโลยีดิจิทัล 94
  9. โครงการบรหิ ารสถานศึกษา 98
  10. โครงการประกันคุณภาพสถานศึกษา 102
  11. โครงการพัฒนาบุคลากร 105
  12. โครงการนิเทศการจัดการศกึ ษา 108
  13. โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ 110
  14. โครงการอนุรกั ษ์พันธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพ 113

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (งานฐานทรัพยากรทอ้ งถ่นิ ) 118

  1. โครงการสถานศึกษาสขี าว 122
  2. โครงการจัดและสง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวติ เพื่อคงพัฒนาทางกาย 126 จิตและสมองของผูส้ ูงอายุ 128
  3. โครงการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตสำหรับผู้พิการ
  4. โครงการอาสาสมัคร กศน. ภาคผนวก ประกาศนโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน กศน.อำเภอเมืองพังงา ปงี บประมาณ 2565 คำสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนปฏบิ ัติการและรายงานผลการดำเนนิ งานปี 2565 คณะผูจ้ ัดทำ

ตอนที่ 1

ขอ้ มลู พ้ืนฐาน

1.1 ข้อมลู อำเภอ

1.1.1 สภาพทางกายภาพ ขนาดพนื้ ที่ อำเภอเมืองพังงามพี น้ื ทีท่ ้งั หมด 549.5 ตารางกโิ ลเมตร เป็นอนั ดับที่ 4 ของ

จังหวดั พงั งา ทีต่ ง้ั และอาณาเขตติดต่อ

อำเภอเมืองพังงามีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองขา้ งเคยี งต่อไปนี้ ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับอำเภอกะปง จังหวัดพงั งา และอำเภอพนม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อำเภออา่ วลึก จงั หวัดกระบี่ และอำเภอเกาะยาวทางอา่ วพงั งา ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับอำเภอทบั ปุด จงั หวดั พังงา ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับอำเภอตะกวั่ ทุ่งและอำเภอทา้ ยเหมอื งจงั หวดั พังงา

ลักษณะภูมิประเทศ สภาพภูมิศาสตร์ของอำเภอเมืองพังงา เป็นภูเขาสลับซับซ้อนทอดเป็นแนวยาวจากทิศเหนือไปทิศใต้

มีพื้นที่ป่าไม้ เปน็ ปา่ ไม้ประเภทไม้ผลัดใบ มีชนดิ ป่าท่ีสำคญั ได้แก่ป่าดิบเขา ป่าดิบช้ืน และป่าชายเลน สำหรับ บริเวณท่ีเป็นที่ราบจะลาดลงจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก ลงสู่ทะเลอันดามัน ตามชายฝั่งทะเลจะมีป่า ชายเลนเกือบตลอดพ้นื ที่ มเี กาะอย่ใู นทะเลอนั ดามัน เช่น เกาะไม้ไผ่ เกาะหมากน้อย

ลกั ษณะภมู ิอากาศ

ลักษณะอากาศทั่วไปเน่ืองจากอำเภอเมืองพังงาอยู่ใกล้ทะเลอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี มีค่าคงท่ีไม่ เปลี่ยนแปลงมากนัก และมีฝนตกชุกในฤดูฝนเพราะอยู่ทางด้านรับลม จึงได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ซ่ึงพัดผ่านมหาสมุทรอินเดียอย่างเต็มท่ีส่วนฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัด เพราะอยไู่ กลจากอิทธพิ ลของ

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปีงบประมาณ 2565 หน้า 1

อากาศหนาวพอสมควรและบางครัง้ อาจมีฝนตกได้เนอื่ งจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พดั ผ่านอา่ วไทยพา เอาฝนมาตกแตม่ ีปริมาณน้อย

ฤดูกาล ฤดูกาลของอำเภอเมืองพังงาพจิ ารณาตามลักษณะของลมฟ้าอากาศของประเทศไทยออกได้ เปน็ 3 ฤดู คอื

ฤดูร้อนเริ่มต้ังแต่เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายนระยะน้ีเป็นช่วงว่างของฤดูมรสุม จะมีลมจากทิศ ตะวันออกเฉยี งใต้พัดปกคลมุ ทำให้มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไป เดือนท่มี อี ากาศรอ้ นทส่ี ุดคอื มีนาคม

ฤดฝู นเริ่มตัง้ แต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตลุ าคมซงึ่ เป็นฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุม ประเทศไทยและมีรอ่ งความกดอากาศตำ่ ปกคลุมภาคใต้เป็นระยะ ๆ อกี ด้วย จึงทำใหม้ ฝี นตกมากตลอดฤดแู ละ เดอื นกนั ยายนจะมีฝนตกมากทีส่ ุด

ฤดูหนาวเร่ิมต้ังแตก่ ลางเดือนพฤศจิกายนถงึ กลางเดอื นมกราคมซงึ่ เป็นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จะมลี มเย็นและแห้งจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่าน ทำให้มีอากาศเย็นท่ัวไปแต่เนื่องจากจงั หวัดพังงาอยู่ ใกล้ทะเลอุณหภูมิจะลดลงเพียงเล็กน้อยอากาศจึงไม่สู้หนาวเย็นมากนักและตามชายฝั่งมีฝนตกท่ัวไปแต่มี ปรมิ าณไมม่ าก

อุณหภูมิอำเภอเมืองพังงาอยใู่ กล้ทะเล ฤดูรอ้ นจงึ ไม่ร้อนมาก ส่วนฤดูหนาวไม่ถึงกับหนาวจัดอุณหภูมิ

เฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27.84 ซ.อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย 33.60 ซ. อุณหภูมิต่ำสุดเฉล่ีย 22.08 ซ. เดือนที่มี อากาศร้อนอบอ้าวท่สี ุดคอื เดอื นมีนาคม

ลกั ษณะการแบ่งเขตการปกครอง การปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ท้องที่อำเภอเมอื งพังงาประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ 8 แห่ง ได้แก่

1. เทศบาลเมอื งพงั งา ครอบคลมุ พน้ื ที่ตำบลท้ายชา้ ง 2. เทศบาลตำบลบางเตย ครอบคลมุ พน้ื ที่ตำบลบางเตย 3. องค์การบริหารสว่ นตำบลนบปรงิ ครอบคลมุ พน้ื ทตี่ ำบลนบปรงิ และตำบลสองแพรก 4. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลถ้ำนำ้ ผุด ครอบคลมุ พน้ื ทต่ี ำบลถ้ำนำ้ ผดุ 5. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลตากแดด ครอบคลมุ พนื้ ทต่ี ำบลตากแดด 6. องค์การบริหารส่วนตำบลท่งุ คาโงก ครอบคลมุ พ้ืนทตี่ ำบลทุ่งคาโงก 7. องค์การบริหารสว่ นตำบลเกาะปนั หยี ครอบคลุมพนื้ ทตี่ ำบลเกาะปันหยี 8. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลปา่ กอ ครอบคลุมพื้นทต่ี ำบลปา่ กอ การปกครองส่วนภูมิภาค อำเภอเมืองพังงาแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 ตำบล 42 หมู่บ้าน 9 ชุมชน ไดแ้ ก่ 1. ทา้ ยช้าง 9 ชมุ ชน 2. นบปรงิ 8 หมู่บา้ น 3. ถ้ำนำ้ ผุด 4 หมบู่ า้ น 4. บางเตย 9 หมู่บา้ น 5. ตากแดด 4 หม่บู ้าน 6. สองแพรก 3 หมู่บ้าน 7. ทุ่งคาโงก 5 หมู่บ้าน 8. เกาะปันหยี 4 หมบู่ า้ น 9. ปา่ กอ 5 หม่บู ้าน

แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปีงบประมาณ 2565 หนา้ 2

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรปา่ ไม้ ทรพั ยากรป่าไม้ของพื้นท่ีอำเภอเมอื งพังงาจำแนกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ได้ดังน้ี -ป่าบกพ้ืนที่สว่ นใหญ่เป็นป่าดงดิบ ประกอบด้วย ป่าดิบชื้น ป่าดบิ เขาและป่าไผ่ที่มีสภาพป่า

แนน่ ทึบมเี รือนยอดชิดกันสภาพปา่ คอ่ นขา้ งสมบูรณ์ประกอบด้วยพนั ธุ์ไม้มีค่านานาชนิด -ปา่ ชายเลน อำเภอเมืองพังงามพี น้ื ท่ปี ่าชายเลนมากท่ีสุด เมอื่ เปรียบเทยี บกับอำเภออน่ื ๆ ทรัพยากรน้ำ -แหลง่ น้ำตามธรรมชาตเิ ป็นแหลง่ นำ้ ดิบเพอื่ อุปโภค บริโภค และการเกษตรท่ีสำคัญของ

อำเภอเมอื งพังงาในปัจจบุ ันไดแ้ ก่คลองพงั งา มีความยาวประมาณ 45 กิโลเมตร ต้นกำเนิดมาจากเทือกเขา กระทะคว่ำ ในเขตอำเภอกะปง ไหลผ่านอำเภอเมืองทต่ี ำบลทุง่ คาโงก ตำบลนบปรงิ ตำบลถ้ำน้ำผุดและไหล ลงสอู่ า่ วพังงา ท่บี ้านทา้ ยชา้ ง เดมิ คลองสายน้ีเป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญ เคยมเี รือสำเภาแลน่ เข้ามาติดต่อ ซือ้ ขายถงึ ตวั เมืองพังงา แต่ปจั จบุ ันลำน้ำมลี กั ษณะต้ืนเขินและสภาพนำ้ ค่อนข้างขุ่นตลอดปี

โครงสรา้ งพืน้ ฐาน

-การคมนาคมขนสง่ ทางบกการคมนาคมขนส่งในตวั เมอื งพังงาและรอบนอกมีความคล่องตัวสงู เนื่องจากเป็นอำเภอเลก็ ๆ ถนนหนทางมีเพียงพอสำหรับการจราจร ไม่มีสภาพการจราจรท่ีแออัดเช่นเมืองใหญ่อื่นๆ มีถนนสายหลัก 3 สาย ได้แก่ ถนนเพชรเกษม เป็นถนนผ่านตัวเมือง จากทิศใต้จดทิศเหนือ ผิวจราจรเป็นแอสฟัลท์คอนกรีต ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร ถนนเทศบาลบำรุง เป็นถนนสายเลี่ยงเมือง จากทิศตะวันอกเฉียงใต้จดทิศ เหนอื ผิวจราจรแบบคอนกรีตเสริมเหล็กและบางส่วนเป็นแอสฟัลท์คอนกรตี ระยะทาง 3.479 กโิ ลเมตร ถนน มนตรี ผิวจราจรเป็นแบบลาดยาง ระยะทางประมาณ 3.30 กิโลเมตร และยังมีถนนสายย่อยอีกจำนวน 93 สาย ความยาวประมาณ 24.306 กิโลเมตร แยกเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน 78 สาย และถนนแอส ฟลั ท์ลาดยาง จำนวน 14 สาย

-ทางน้ำ การคมนาคมทางน้ำในอำเภอเมืองพังงาส่วนใหญ่เป็นการเดินทางในระยะส้ัน ระหว่างเกาะต่าง ๆ เช่นอำเภอเกาะยาวกับตัวจังหวัด หรือเพ่ือการท่องเที่ยว เช่น การเดินทางไปเกาะปันหยี หรือแหลง่ ท่องเท่ียวอื่น โดยมีท่าเรอื สำหรับการขนส่งและทา่ เทียบเรอื เพือ่ การทอ่ งเท่ยี ว ได้แก่ ท่าเรอื พังงาเบย์

ระบบสาธารณปู โภค -ไฟฟ้าปัจจุบนั ราษฎรในพ้ืนที่อำเภอเมอื งพังงามีสถานะมไี ฟฟา้ ใช้ 40 หม่บู ้าน ยงั ไม่มีใช้ 2 หม่บู า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ 3 เกาะไม้ไผ่ และ หมู่ 4 เกาะหมากนอ้ ย ต.เกาะปันหยี -ประปาการใชน้ ำ้ ประปาในพ้ืนท่ีอำเภอเมืองพังงามีท้งั จากประปาส่วนภมู ภิ าค ประปา ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประปาหมู่บ้าน ตามโครงการต่าง ๆ สำหรับแหล่ง น้ำจากประปาภูมิภาคในอำเภอเมืองพังงา มี 1 แห่ง คือ การประปาภูมิภาคพังงา มีแหล่งผลิตน้ำบนเน้ือที่ ประมาณ 70 ไร่ ต้ังอยู่หมูท่ ่ี 4 ตำบลนบปรงิ โดยใช้แหล่งน้ำจาก คลองพังงา น้ำตกโตน และขมุ เหมืองสนิ ทอง ทำการผลิตและจ่ายน้ำให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพังงา และพื้นที่รอบนอก เช่น ตำบลนบปริง ตำบล เกาะปันหยี และตำบลตากแดด มผี ูใ้ ชน้ ้ำจากแหลง่ ผลิตน้จี ำนวน 4,478 ครัวเรอื น

การคมนาคมติดตอ่ สอื่ สาร อำเภอเมืองพังงามีที่ทำการไปรษณี ย์ จำน วน 1 แห่ง สถานีวิทยุ ได้แก่ สถานี วิทยุกระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย สถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท.พงั งา สถานีวทิ ยพุ ิงงาเรดโิ อ หนงั สือพมิ พท์ ้องถิน่ ปักษ์ ใตท้ ูเดย์ และมีการให้บริการด้านโทรศพั ท์จาก บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) บริษัท ทีทีแอนดี (สาขาพงั งา) และผ้ใู ห้บรกิ ารเครือข่ายโทรศัพทม์ อื ถอื เอกชนในระบบ GSM DTAC TRUE

แผนปฏิบัติการ กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 3

หนว่ ยงานในชมุ ชน - โรงพยาบาล มจี ำนวน 1 แห่ง ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลพงั งา - สถานีตำรวจ มีจำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สถานตี ำรวจภธู รเมืองพงั งา - ธนาคาร มจี ำนวน 10 แห่ง ไดแ้ ก่ ธนาคารกรงุ ไทย จำกัด ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์ ธนาคารออมสิน ธนาคารทหาร ไทย ธนาคารไทยพาณชิ ย์ ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารอิสลาม 1.1.2 สภาพทางสังคม – ประชากร

สภาพทางสงั คม สภาพทางสังคมในอำเภอเมืองพังงาเป็นสังคมเกษตรกรรม เพราะอาชีพหลักของคนพังงา คือ การเกษตร ความเป็นอยู่เป็นแบบเรียบง่าย ไม่นิยมความฟุ้งเฟ้อ สถานบริการ หรือสถานบันเทิงมีน้อย ประชากรชอบทำอาหารทานกันเองทบ่ี า้ น หรอื สงั สรรค์กนั ในกล่มุ ญาติพนี่ ้อง ไม่นิยมเท่ยี วนอกบ้าน เนือ่ งจาก อาชพี เกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักและไม่นิยมเป็นลูกจ้างของคนอื่น เจ้าของกิจการ หรอื เจ้าของสวนทม่ี ีพ้ืนที่ มาก ๆ ต้องใช้แรงงานจากตา่ งชาติ เชน่ พมา่ ลาว ทำให้เกดิ ปัญหาตามมาในเร่ืองของการเกิดอาชญากรรม

จำนวนครวั เรือนและประชากร ประชากรของอำเภอเมืองพังงา ณ เดือนพฤศจิกายน 2564 มีจำนวน 41,557 คน เป็นเพศชาย 20,442 คน เพศหญิง 21,135 คน และจำนวนบ้าน 18,423 หลังคาเรือน แยกเป็นตำบลตา่ งๆ ดงั น้ี

ตำบล จำนวน เนอ้ื ที่ จำนวนประชากร จำนวน หม่บู า้ น/ชุมชน (ตร.กม) ชาย หญงิ รวม ครวั เรือน

1.ทา้ ยชา้ ง 9 6.75 4,935 5,185 10,120 5,972 2,460 2.นบปริง 8 51 3,037 3,251 6,288 2,630 2,135 3.ถำ้ นำ้ ผุด 4 12 2,285 2,391 4,676 1,628 306 4.บางเตย 9 108 3,483 3,485 6,968 1,131 1,220 5.ตากแดด 4 56 1,587 1,609 3,196 941 18,423 6.สองแพรก 3 183.75 370 349 719

7.ทุ่งคาโงก 5 71 1,390 1,430 2,820

8.เกาะปันหยี 4 18 2,067 2,097 4,164

9.ปา่ กอ 5 43 1,288 1,338 2,626

รวม 54 549.5 20,442 21,135 41,557

ทมี่ า:สำนักบรหิ ารทะเบียน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย

รวบรวมโดย:สำนักสถติ ิพยากรณ์ สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ

ศาสนา หน้า 4 แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565

ชาวพุทธในอำเภอเมืองพังงานิยมไปวัดหรือพุทธศาสนสถาน เพื่อไปทำบุญหรือประกอบพิธีกรรม ในวันสำคญั ต่างๆ เชน่ เดยี วกับพทุ ธศาสนกิ ชนจงั หวัดอืน่ ไดแ้ ก่วันธรรมสวนะวนั มาฆบูชาวนั วสิ าขบชู า

วันเข้าพรรษาวันออกพรรษาวันอาสาฬหบูชา และเทศกาลประเพณีสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ ประเพณีวันสาร์ทเดือนสิบ เปน็ ต้น และท่สี ำคญั ประชากรนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเปน็ แนวทางปฏิบัติ

ในการดำเนนิ ชวี ิตและปฏบิ ัติงาน สร้างความมน่ั คงในสงั คมไดด้ ตี ลอดมา ศาสนิกชนในศาสนาอื่น เช่น อิสลาม คริสต์ศาสนา ได้อยู่ร่วมในสังคมอย่างดี ยังคงให้เกียรติ

ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั อย่างดี ปฏบิ ัติศาสนกจิ ตามทน่ี บั ถืออย่างสมบูรณ์

1.1.3 สภาพทางเศรษฐกจิ โครงสรา้ งอาชีพชมุ ชน

ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจหลัก คือ ยางพาราปาล์มน้ำมัน และผลไม้ รองลงมาเป็นอาชพี เล้ียงสัตว์ ประมง อุตสาหกรรม คา้ ขาย และธรุ กิจท่องเทยี่ ง อำเภอเมืองพงั งา มี ทรัพยากรการท่องเทีย่ วที่มีชอ่ื เสียง ส่วนใหญ่เปน็ ทรัพยากรการท่องเทีย่ วในกลมุ่ ชายหาดและชายทะเล ซ่ึงถือ

ว่าเป็นจุดเด่นของอำเภอเมืองพังงา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง แหล่งท่องเที่ยวในอ่าวพังงา เช่น เขาพิงกัน เขาตะปู เกาะปันหยี และถ้ำลอด เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรการท่องเที่ยวอื่นๆ เช่น ถ้ำ น้ำตก ภูเขา ป่าไม้

หรือ แก่ง หลายแห่งมีความสวยงามตามธรรมชาติเหมาะแก่การท่องเท่ียวได้ เป็นอย่างดี เช่น ถ้ำพุงช้าง น้ำตกโตนปริวรรต เป็นตน้

รายได้เฉลย่ี ของประชากร 23,000 บาท/คน/ปี

1.1.4 งานประเพณีทอ้ งถิน่ ประเพณีวันสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับบรรพบุรุษท่ีล่วงลับไปแล้ว

ทุกปีเมื่อถึงวันสารทเดือนสิบ (ข้ึน 15 ค่ำเดือน 10) ชาวบ้านในชุมชนจะชักชวนญาติพี่น้องไปวัดเพื่อร่วมกัน ทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้บรรพชนท่ีล่วงลับไปแล้วนำอาหารคาวหวานไปถวายพระที่วัดฟังพระธรรมเทศนา และถวายภัตตาหารเพลแด่พระภิกษุจากน้ันกจ็ ะนำอาหารส่วนหนง่ึ ใส่กระทงเปรตนำไปตัง้ ในสถานท่ีท่ที างวัด

ได้จัดเตรียมไว้ให้เพื่อเป็นการเซ่นไหว้วิญญาณผู้ที่ลว่ งลับไปแล้วจากน้ันจะนำอาหารส่วนหน่ึงไปแจกชาวไทย ใหม่ (ชาวเล)

ประเพณีกินเจ ประเพณีกินเจหรือประเพณีกินผักเป็นประเพณีเก่าแก่ประเพณีหนึ่งของชาวไทย เช้ือสายจีนในจังหวัดพังงาในระหวา่ งข้ึน 1 – 9 ค่ำจะถือศีลกินเจหยุดกินเน้ือสัตว์ทุกชนิดเพ่ือละเว้นจากการ กระทำบาป

การตั้งศาลพระภูมิศาลเจ้าที่ (หลาพ่อตา) คนพงั งามีความเชื่อกันว่าแผ่นดินทุกแห่งมีพระภูมิเจ้าท่ี สงิ สถติ อยู่การเข้าไปอยู่อาศัยต้องให้ความเคารพยำเกรงไม่ลบหลู่และควรมีการต้ังศาลเพื่อเป็นที่สิงสถิตของ

พระภูมิเจ้าที่พระภูมิเจ้าท่ีจะช่วยปกปักรักษาคุ้มครองให้พ้นจากภยันตรายท้ังปวงโดยเรียกการตั้งศาลเจ้า ท่ีว่าตั้งหลาพ่อตา (คำว่า หลาพ่อตาเป็นภาษาถิ่นใต้ที่กร่อนมาจากคำว่า “ศาลา” หรืออีกนัยหนึ่งหมายถึง “ศาล” น่ันเอง)

1.2 ข้อมูลสถานศึกษา

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งพังงาต้ังอยู่เลขที่ 59 หมทู่ ี่ 3 ถนน เพ ชรเกษ ม ตำบลตากแดด อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพั งงาเบอร์โทรศัพ ท์ :0 7648 1038 เบอร์โทรสาร : 0 7648 1038 E-mail : [email protected] สังกัด : สำนักงานส่งเสริม

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั พังงา

แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 5

1.2.1 ประวัติความเป็นมาของสถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองพงั งา เดมิ ช่ือ “ศูนย์บรกิ าร

การศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอเมืองพงั งา” โดยกระทรวงศึกษาธกิ ารไดป้ ระกาศจัดตง้ั เม่ือวันที่ 27 สิงหาคม 2536 มสี ถานะเป็นสถานศึกษาในราชการบริหารสว่ นกลาง สงั กดั ศูนย์การศกึ ษานอกโรงเรยี นจังหวดั

เป็น 1 ใน 789 ศนู ย์บริการการศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอทวั่ ประเทศ วันท่ี 8 พฤศจกิ ายน 2536 ศนู ยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนจงั หวดั พังงา มีคำส่งั ให้ “นางสุนีย์ เจริญรตั น”์

ตำแหน่ง อาจารย์ 2 ระดับ 6 ไปปฏิบัติหน้าที่ “หัวหนา้ ศูนยบ์ รกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียนอำเภอเมอื งพงั งา”

โดยใช้ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวดั พงั งา เปน็ สถานทต่ี งั้ สำนักงาน วันที่ 22 ธนั วาคม 2536 ศนู ย์การศกึ ษานอกโรงเรียนจงั หวัดพงั งามคี ำส่งั ให“้ นายศักดา สถิรวิกรานต์”

อาจารย์ 2 ระดับ 6 ไปปฏบิ ัตหิ นา้ ทห่ี วั หนา้ ศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองพังงา วนั ท่ี 16 กุมภาพันธ์ 2538 กรมการศึกษานอกโรงเรยี น มคี ำสง่ั ที่ 188/2538 ลงวนั ที่ 16 กุมภาพันธ์

2538 แต่งต้ัง นายศักดา สถิรวิกรานต์ ไปดำรงตำแหน่งหัวหนา้ ศูนย์ 1 ศูนย์บริการการศกึ ษานอกโรงเรียน

อำเภอเมืองพังงา โดยประกาศทั่วประเทศจำนวน 603 ราย นายรุ่ง แก้วแดง อธิบดีกรมการศึกษานอก โรงเรียน เปน็ ผลู้ งนามในประกาศ

วันท่ี 15 กรกฎาคม 2545 ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองพังงาย้ายสถานที่ต้ัง สำนักงาน จากห้องสมุดประชาชนจังหวัดพังงาไปต้ังที่อาคารโรงฝึกงาน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด พังงา

วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2548 สำนักบรหิ ารงานการศึกษานอกโรงเรยี น มีคำสั่งยา้ ยผู้บรหิ ารศนู ยบ์ ริการ การศึกษานอกโรงเรียนท่ัวประเทศ โดยมีคำสั่งให้ นายเสถียร เพ็ญภักดี มาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ

ศูนยบ์ ริการการศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอเมืองพงั งา วนั ท่ี 4 มีนาคม 2551 ศนู ยบ์ ริการการศึกษานอกโรงเรยี นอำเภอเมืองพงั งา ได้เปลยี่ นชือ่ สถานศึกษา

เป็น “ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งพงั งา” ตามพระราชบัญญัตสิ ่งเสรมิ

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ซง่ึ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 125 ตอนที่ 41 ลงวนั ที่ 3 มนี าคม 2551

วันท่ี 1 ตุลาคม 2552 สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ มีคำส่งั ให้ นายศักดา สถิรวิกรานต์ มาดำรงตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งพงั งา

วนั ท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร มีคำสงั่ ให้ นายอรรณพ ผวิ ขำ มาดำรง

ตำแหน่งผอู้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งพงั งา วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2558 นายอรรณพ ผิวขำ ไปดำรงตำแหน่งรองผอู้ ำนวยการสำนกั งานการศกึ ษา

นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั พงั งา และสำนกั งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั จังหวัดพงั งา มคี ำสั่งให้รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั อำเภอเมอื งพังงาอีกตำแหน่งหนง่ึ

วนั ที่ 25 กันยายน 2558 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีคำสั่งให้ นายวทิ ยา คชสิทธ์ิ มาดำรง ตำแหน่งผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองพังงา

วนั ที่ 23 พฤศจกิ ายน 2563 สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีคำสั่งให้ นายจริ ะนนั ท์ บญุ เรือง มาดำรงตำแหนง่ ผู้อำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองพังงา

วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2564 สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มีคำส่ังให้ นายตรัยวค์ ุณ สุขประเสริฐ

ตำแหนง่ ชำนาญการพเิ ศษ มคี ำสัง่ ให้รกั ษาการในตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองพงั งา

แผนปฏิบตั กิ าร กศน.อำเภอเมืองพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 6

1.2.2 อาณาเขตทตี่ ้ังสถานศกึ ษา ทิศเหนอื ติดต่อกับอำเภอกะปง จังหวดั พงั งา และอำเภอพนม จังหวดั สุราษฎร์ธานี

ทิศใต้ ติดตอ่ กบั อำเภออ่าวลกึ จังหวดั กระบี่ และอำเภอเกาะยาวทางอา่ วพังงา ทิศตะวันออก ติดตอ่ กบั อำเภอทับปดุ จังหวัดพังงา

ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั อำเภอตะกั่วทงุ่ และอำเภอท้ายเหมอื งจังหวดั พงั งา 1.2.3 ขอ้ มลู ดา้ นการบริหาร ทำเนียบผบู้ รหิ าร

ลำดับท่ี ชอื่ -สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลา ที่ดำรงตำแหนง่ 1 นายศกั ดา สถริ วิกรานต์ ผ้อู ำนวยการศูนย์บรกิ ารการศึกษานอก พ.ศ. 2537 - 2548 โรงเรียนอำเภอเมืองพงั งา พ.ศ. 2548 -2552 2 นายเสถยี ร เพญ็ ภกั ดี ผอู้ ำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอก โรงเรยี นอำเภอเมืองพงั งา พ.ศ. 2552 - 2558

3 นายศักดา สถริ วกิ รานต์ ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและ กมุ ภาพันธ์ - กรกฎาคม2558 การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งพงั งา กรกฎาคม - กนั ยายน 2558 4 นายอรรณพ ผวิ ขำ ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งพงั งา กนั ยายน 2558 - 30 กันยายน 2563 รองผู้อำนวยการสำนกั งาน กศน.จังหวัดพังงา 23 พฤศจิกายน 2563 - 30 กนั ยายน 2564 5 นายอรรณพ ผิวขำ รกั ษาการในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ 1 ตลุ าคม 2564 -ปัจจุบนั

การศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองพงั งา

6 นายวิทยา คชสิทธิ์ ผู้อำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งพังงา

7 นายจิระนนั ท์ บญุ เรือง ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองพงั งา

ครชู ำนาญการพเิ ศษ รกั ษาการในตำแหนง่

8 นายตรยั ว์คณุ สุขประเสรฐิ ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและ

การศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งพังงา

ข้อมูลบคุ ลากร รายละเอียด ประเภท

  1. ผบู้ รหิ าร 1) นายตรัยวค์ ุณ สขุ ประเสริฐ ตำแหนง่ ครชู ำนาญการพิเศษ

วุฒิการศึกษา นเิ ทศศาสตรบัณฑติ

  1. ครู 1) นางสาลี สถิรวิกรานต์ ตำแหน่งครูชำนาญการพเิ ศษ

วฒุ ิการศึกษา วิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาพืชศาสตร์

  1. นางสาวนนิ ุรอัสรีนา สาเมาะ ตำแหน่งครผู ้ชู ว่ ย

วฒุ ิการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไป

แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมืองพงั งา ประจำปีงบประมาณ 2565 หน้า 7

ประเภท รายละเอยี ด

  1. บุคลากรทางการศกึ ษา นางศิรพิ รรณ์ แซมะแซ ตำแหน่งบรรณารักษ์ชำนาญการ
  2. พนกั งานราชการ วฒุ ิการศกึ ษาการศึกษาบัณฑิต สาขาบรรณารกั ษ์ศาสตร์
  3. นางสาวกนกลักษณ์ วิเศษ ตำแหนง่ ครูอาสาสมคั ร กศน.
  4. อัตราจ้าง วุฒกิ ารศึกษา ศึกษาศาสตรบณั ฑิต สาขาธรุ กิจศกึ ษา
  5. นายภรู ภิ ทั ร โททอง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล วฒุ ิการศกึ ษา ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาพัฒนาชมุ ชน
  6. นายศริ ศิ กั ดิ์ เทพณรงค์ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล วฒุ กิ ารศกึ ษา วิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม
  7. นางสาวมนฑานิรภยั ตำแหน่งครู กศน.ตำบล วุฒกิ ารศกึ ษา ศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขานเิ ทศศาสตร์
  8. นางสาวจติ ติมา ยง่ั ยืน ตำแหน่งครู กศน.ตำบล วุฒกิ ารศึกษา ครุศาสตรบณั ฑิต สาขาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา
  9. นางสาวกนกวรรณ ไชยจรัส ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล วุฒิการศกึ ษา ศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขานเิ ทศศาสตร์
  10. นางสาวภาสนิ ี รกั เมอื ง ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล วุฒกิ ารศึกษา ครุศาสตรบัณฑิต สาขาพละศึกษา
  11. นางสาวภาวดี วงศแ์ ฝด ตำแหน่งครู กศน.ตำบล วฒุ กิ ารศึกษา ครุศาสตรบณั ฑิต สาขาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา
  12. นายอาทิตย์ พรหมมาก ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล วฒุ ิการศกึ ษา ครศุ าสตรบัณฑติ สาขาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา
  13. นางสาวฤทยั นิตย์ นิจผล ตำแหน่งนักวชิ าการศกึ ษา วฒุ ิการศึกษา วิทยาศาสตรบันฑิต สาขาวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
  14. นางสาวเสาวนีย์ ลีลาวุธาภรณ์ ตำแหน่งบรรณารกั ษ์ วุฒิการศึกษา บริหารธุรกจิ บัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์
  15. นางสาวดาว บัวใหญ่ ตำแหนง่ พนักงานบรกิ าร วุฒิการศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

แผนปฏบิ ัติการ กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 8

แหล่งเรียนรูแ้ ละเครอื ขา่ ย - แหลง่ เรียนรู้ กศน.ตำบลและศูนยก์ ารเรียนชุมชน

ชื่อ กศน.ตำบล ท่ีตงั้ ผู้รับผิดชอบ กศน.ตำบลตากแดด นางสาวมนฑา นริ ภัย อาคารโรงเรียนบา้ นตากแดด หมู่ที่ 2 กศน.ตำบลปา่ กอ ตำบลตากแดด นางสาวกนกวรรณ ไชยจรัส

อาคารสำนักสงฆ์ทุ่งศรมี หาโพธ์ิ หมทู่ ี่ 1 ตำบลปา่ กอ

กศน.ตำบลนบปรงิ อาคาร อบต.นบปริงหมูท่ ่ี 4 ตำบลนบปริง นางสาวจิตติมา ย่ังยนื

กศน.ตำบลถ้ำนำ้ ผุด อาคารศูนยเ์ ทคโนโลยี หมู่ท่ี 1 ตำบลถ้ำน้ำผุด นายภูรภิ ัทร โททอง

กศน.ตำบลบางเตย อาคาร เทศบาลตำบลบางเตย ตำบลบางเตย นายศริ ิศักด์ิ เทพณรงค์ กศน.ตำบลทา้ ยชา้ ง อาคารท่ีทำการชุมชนนากรอก-คอกหญ้า ซอย นางสาวภาสินี รกั เมือง กศน.ตำบลเกาะปันหยี บางแห้ง ตำบลทา้ ยช้าง กศน.ตำบลท่งุ คาโงก กศน.ตำบลสองแพรก อาคาร ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านท่าด่าน อบต. นายอาทติ ย์ พรหมมาก

เกาะปนั หยี หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะปันหยี

อาคาร อบต.ท่งุ คาโงก หมทู่ ี่ 1 ตำบลทงุ่ คาโงก นางสาวภาวดี วงศ์แฝด

อาคาร ศาลาหมูบ่ ้าน หมู่ท่ี 2 นางสาวกนกลักษณ์ วเิ ศษ

ตำบลสองแพรก

รวมจำนวน 9 แหง่

ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน ท่ีตงั้ ผ้รู ับผดิ ชอบ

ศนู ย์การเรียนชุมชนเขาช้าง 574 ถนนเพชรเกษม ตำบลทา้ ยขา้ ง เรอื นจำจังหวัดพงั งา ศนู ย์ฝกึ และอบรมเดก็ และ ศนู ย์การเรยี นชุมชนเขาชา้ ง ถนนเพชรเกษม ตำบลท้ายข้าง เยาวชน เขต 10

แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 9

แหลง่ เรยี นรู้

แหล่งเรยี นรู้ ดา้ น ทอ่ี ยู่/เบอรโ์ ทรศพั ท์ ผรู้ บั ผิดชอบ

1. ศนู ยเ์ รยี นรูโ้ คกหนองนา การเกษตรเศรษฐกจิ 60 หมทู่ ่ี 3 ตำบลเกาะปนั หยี อ. นายอาทศิ ศักด์ิ วารศี รี

โมเดลบา้ นเกาะไม้ไผ่ พอเพยี ง เมืองพงั งา

โทร. 09 5407 3971

2. ศนู ย์เรียนรูเ้ ศรษฐกจิ การเกษตรผสมผสาน 35/6 หมู่ที่ 2 ตำบลตากแดด นายวิจา สม้ จนั ทร์ พอเพียงบ้านสวนพริก อำเภอเมอื งพังงา จังหวดั พงั งา โทร. 09 3752 7267

3. ศูนย์เรียนเศรษฐกิจ การเกษตรเศรษฐกจิ 14/1 ชุมชนทงุ่ เจดยี ์ ตำบลท้าย นายอารมณ์ อนิ ฉ้วน

พอเพียงตามศาสตร์พระราชา พอเพียง ช้าง อำเภอเมอื งพงั งา จังหวัด ชุมชนท่งุ เจดีย์ พังงา โทร. 09 4846 6432

4. ศนู ยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกิจ การเกษตรเศรษฐกจิ 29 หมทู่ ่ี 5 ตำบลทุ่งคาโงก นางยพุ นิ ตัณฑวณิช พอเพียงบา้ นทบั เหรียง พอเพียง อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพงั งา

โทร. 08 6279 5418

5. ศนู ย์เรียนรู้เศรษฐกจิ การเกษตรผสมผสาน 21/1 หมทู่ ่ี 8 ตำบลนบปรงิ นายสมคดิ พษิ นาค

พอเพียงบ้านโรงกลวง อำเภอเมอื งพังงาจงั หวดั พงั งา โทร. 09 5256 2513

6. ศนู ย์ผลิตภัณฑ์จากตน้ ชก อุตสาหกรรม 90/6 หมู่ที่ 3 ตำบลบางเตย นายสำรวย พลหงษ์ ครวั เรอื น อำเภอเมอื งพังงา จงั หวดั พังงา

โทร. 08 287 9153

7. วดั บางเสยี ด วัฒนธรรม 104 หม่ทู ่ี 4 ตำบลบางเตย พระใบฎกี าปยิ ะ อตั ถยตุ โต อำเภอเมืองพงั งา จงั หวัดพงั งา

โทร. 08 6276 2952

8. วัดมงคลสถิต การศาสนาและ บา้ นในโตน หมทู่ ี่ 3 นายสิทธพิ ร ชัยศิลป์ วฒั นธรรม ตำบลป่ากอ อำเภอเมอื งพงั งา

จังหวัดพังงา โทร. 08 1677 1186

9. บ้านปดู ำ การอนุรกั ษ์ บา้ นปูดำ หมู่ที่ 5 ตำบล นายสโุ บ๊ วาหะรกั ษ์

ทรัพยากรสตั วน์ ำ้ บางเตยอำเภอเมืองพังงา

จงั หวัดพังงา โทร. 08 3647 5903

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.อำเภอเมอื งพังงา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 10

แหลง่ เรียนรู้ ด้าน ทีอ่ ยู่/เบอร์โทรศัพท์ ผูร้ ับผิดชอบ 10. สวนไอยดา การเกษตร บา้ นในโตน หมู่ที่ 3 ตำบล นางสาวอุไรภรณ์ ขมักกจิ 11. สวนลุงมูล การเกษตรเศรษฐกจิ พอเพยี ง ป่ากอ อำเภอเมอื งพงั งา 12. สำนกั งานเขตรักษาพันธ์ุ สัตว์ป่าน้ำตกสองแพรก การอนุรกั ษ์ จังหวดั พังงา โทร. 06 3656 5352 ทรัพยากรธรรมชาติ บ้านพรดุ ดี หมู่ที่ 4 ตำบล นายประมูล จรงุ การ

ป่ากอ อำเภอเมืองพังงา จังหวดั

พังงา โทร.08 9970 9167

หมู่ท่ี 2 ตำบลสองแพรก นายอกุ ฤษฏ์ ดีทองออ่ น

อำเภอเมืองพังงา จงั หวัดพังงา

ภาคเี ครอื ข่าย

ภาคีเครือขา่ ย ด้าน ทอ่ี ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ (กลุม่ องคก์ ร และหนว่ ยงาน) สถานท่แี ละบคุ ลากร หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะปนั หยี 0 7648 1189 1. องค์การบรหิ ารส่วนตำบล อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา เกาะปันหยี

2. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล ขอ้ มูลสารสนเทศ หมทู่ ่ี 3 ตำบลตากแดดอำเภอ 0 7648 1083 ตากแดด เมืองพังงา จงั หวดั พงั งา

3. องค์การบรหิ ารส่วนตำบล สถานที่ บคุ ลากร หมทู่ ี่ 2 ตำบลนบปรงิ อำเภอ 0 7645 0839 นบปรงิ เมอื งพังงา จงั หวัดพงั งา

4. องค์การบรหิ ารส่วนตำบล ทรัพยากรการศึกษา หมทู่ ่ี 3 ตำบลป่ากอ อำเภอ 09 1036 6907 ปา่ กอ เมอื งพังงา จงั หวัดพงั งา

5. เทศบาลตำบลบางเตย สถานที่ บุคลากร หมู่ท่ี 3 ตำบลบางเตย 0 7659 6272 กิจกรรม อำเภอเมอื งพงั งา จังหวัดพงั งา

6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บคุ ลากร หมทู่ ่ี 2 ตำบลเกาะปันหยี 09 6062 6105 ตำบลบา้ นเกาะปนั หยี อำเภอเมืองพงั งาจงั หวดั พังงา

7. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ บุคลากร หมู่ที่ 3 ตำบลเกาะปันหยี 09 5403 9875 ตำบลบา้ นเกาะไม้ไผ่ อำเภอเมอื งพังงาจงั หวดั พงั งา

8. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ บุคลากร กิจกรรม หมทู่ ี่ 2 ตำบลตากแดดอำเภอ 0 7645 0117 ตำบลตากแดด เมอื งพงั งา จงั หวดั พงั งา

9. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพ สถานท่ี บุคลากร หมทู่ ่ี 1 ตำบลทุ่งคาโงก 08 1892 8290 ตำบลทุง่ คาโงก อำเภอเมอื งพังงา จังหวัดพังงา

10. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ สถานท่ี บคุ ลากร หมู่ท่ี 3 ตำบลนบปริง อำเภอ 0 7645 0944 ตำบลนบปริง เมืองพังงาจังหวดั พงั งา

แผนปฏิบัติการ กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปีงบประมาณ 2565 หนา้ 11

ภาคเี ครือขา่ ย ด้าน ท่ีอยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ (กลุ่ม องคก์ ร และหนว่ ยงาน) สถานท่ี บคุ ลากร 58/8 หมู่ท่ี 4 ตำบลบางเตย 0 7659 6282 11. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ กิจกรรม ตำบลบางเตย สถานท่ี บคุ ลากร อำเภอเมอื งพังงา จังหวดั พงั งา กจิ กรรม 12. โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพ บคุ ลากร 13/2 หม่ทู ่ี 5 ตำบลบางเตย 0 76596 144 ตำบลเกาะเค่ยี ม 13. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ สถานที่บุคลากร อำเภอเมอื งพงั งา จงั หวดั พังงา ตำบลป่ากอ หมทู่ ่ี 2 ตำบลปา่ กอ อำเภอ 0 7641 4231 14. โรงเรยี นบ้านตากแดด เมอื งพงั งา จังหวัดพงั งา

หมู่ท่ี 2 ตำบลตากแดดอำเภอ 06 2636 1944

เมอื งพังงา จงั หวดั พงั งา

15. โรงเรยี นเมืองพังงา สถานที่ บคุ ลากร หมทู่ ่ี 3 ตำบลนบปริง อำเภอ 0 7641 3943

เมืองพงั งา จังหวัดพงั งา

16. โรงเรยี นเทศบาลตำบล บุคลากร กิจกรรม หมทู่ ี่ 3 ถนนพังงา-ทับปุด 076596 608 บางเตย ตำบลบางเตย อำเภอเมือง

พังงาจงั หวัดพงั งา

17. โรงเรียนผสู้ ูงอายเุ ทศบาล กจิ กรรมการศกึ ษา 195ถนนเพชรเกษม 0 7641 2013

เมืองพังงา ต่อเนอื่ ง ตำบลทา้ ยช้าง อำเภอเมือง

จงั หวัดพงั งา82000

18. วดั ประพาสประจมิ เขต สถานท่ี ชมุ ชนเขาชา้ ง ตำบลท้ายชา้ ง 09 3739 4229

อำเภอเมืองพงั งา จังหวดั พงั งา

19. วดั ทักษิณาวาส สถานที่ ชุมชนทุ่งเจดยี ์ ตำบลท้ายช้าง 06 3617 5908

อำเภอเมอื งพงั งา จงั หวดั พังงา

20. วัดปัจจันตคาม สถานที่ หม่ทู ่ี 1 ตำบลท่งุ คาโงก 09 5412 2871

อำเภอเมืองพงั งา จงั หวัดพงั งา

21. วดั บางเสยี ด สถานที่ บคุ ลากร 104 หมูท่ ี่ 4 ตำบลบางเตย 086276 2952 กจิ กรรม 22. วัดมงคลสถิต อำเภอเมืองพังงา จงั หวัดพังงา สถานที่ บุคลากร 23. สำนกั งานเกษตรอำเภอ กจิ กรรม หม่ทู ี่ 3 ตำบลปา่ กอ อำเภอ 08 1677 1186 เมอื งพงั งา กิจกรรมการศึกษา เมืองพังงา จงั หวัดพงั งา ต่อเน่อื ง ถนนเพชรเกษม ตำบล 0 7641 1983

ท้ายช้าง อำเภอเมืองพงั งา

จงั หวัดพังงา

24. กลุ่มผนู้ ำทอ้ งที่ตำบลบางเตย กจิ กรรม 23/7หมู่ที่ 4 ตำบลบางเตย 08 6275 4448

อำเภอเมืองพังงา จงั หวัดพงั งา

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.อำเภอเมอื งพังงา ประจำปีงบประมาณ 2565 หน้า 12

ภาคีเครือข่าย ดา้ น ทอี่ ยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ (กลุ่ม องคก์ ร และหน่วยงาน) กิจกรรม หมทู่ ี่ 3 ตำบลบางเตย 09 1143 9990 25. กลุ่มผนู้ ำทอ้ งถิน่ ตำบล กจิ กรรม บางเตย อำเภอเมืองพงั งา จงั หวัดพงั งา

26. กลุม่ ผนู้ ำตำบลสองแพรก หม่ทู ่ี 2 ตำบลสองแพรก 08 9728 6325

อำเภอเมอื งพังงา จังหวัดพังงา

27. กลุม่ สตรีตำบลสองแพรก กิจกรรมการศึกษา หมูท่ ่ี 2 ตำบลสองแพรก 08 9493 0253 28. ชมรมคลงั ปญั ญาผสู้ ูงอายุ ตอ่ เน่อื ง อำเภอเมืองพงั งา จังหวดั พงั งา กจิ กรรมการศึกษา ตอ่ เน่ือง 49 ถนนบรริ ักษ์บำรงุ ตำบล 08 1326 4208

ทา้ ยชา้ ง อำเภอเมอื งพงั งา

จังหวดั พังงา

29. ชมรม อสม.ตำบลบางเตย กจิ กรรม 58/8 หมู่ท่ี 4 ตำบลบางเตย 076 596 282

อำเภอเมอื งพังงา จังหวัดพังงา

 ภมู ิปญั ญา ความรู้ ความสามารถ ท่ีอยู่/เบอร์โทรศพั ท์ การเกษตรผสมผสาน บุคคล(ปราชญ์ชาวบา้ น 60 หมทู่ ่ี 3 ตำบลเกาะปนั หยี อำเภอเมอื งพังงา ภูมปิ ัญญา ผ้นู ำ) จังหวัดพังงา โทร. 09 5407 3971 14/1 ชุมชนทงุ่ เจดีย์ ตำบลท้ายชา้ ง อำเภอเมอื ง 1. นายอาทศิ ศักดิ์ วารีศรี พังงา จงั หวัดพังงา โทร. 09 4846 6432 21/1 หมู่ท่ี 8 ตำบลนบปรงิ อำเภอเมอื งพังงาจงั หวัด 2. นายอารมณ์ อินฉ้วน การเกษตรผสมผสาน พงั งา โทร. 09 5256 2513 17/3 หมทู่ ่ี 7 ตำบลนบปรงิ อำเภอเมืองพงั งาจังหวัด 3. นายสมคิด พษิ นาค การเกษตรผสมผสาน พงั งา โทร. 09 6653 5728 35/6หมทู่ ่ี 2 ตำบลตากแดดอำเภอเมืองพงั งา 4. นายสมยศ สิงหการ การเกษตรผสมผสาน จังหวดั พงั งา โทร. 09 3752 7267 133/8 หมู่ท่ี 3 ตำบลนบปรงิ อำเภอเมืองพังงา 5. นายวจิ า ส้มจนั ทร์ การเกษตร การจกั สาน จงั หวดั พงั งา โทร. 08 9970 9167 6. นายประมลู จรงุ การ การดนตรไี ทย 23/7 หมทู่ ี่ 4 ตำบลบางเตยอำเภอเมอื งพังงา จงั หวัดพงั งา โทร. 086275 4448 เกษตรกรรมผสมผสาน บา้ นปดู ำ หมู่ท่ี 5 ตำบลบางเตย อำเภอเมอื งพงั งา จงั หวดั พงั งา โทร. 083647 5903 7. นายพงษ์วฒั น์ บญุ โกย การเกษตรผสมผสาน

8. นายสโุ บ๊ วาหะรักษ์ การเพาะพนั ธป์ุ ูดำ การเพาะต้นกล้าไม้ทะเล

แผนปฏิบตั ิการ กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปีงบประมาณ 2565 หนา้ 13

บคุ คล(ปราชญช์ าวบา้ น ความรู้ ความสามารถ ทอ่ี ยู่/เบอรโ์ ทรศัพท์ ภูมปิ ญั ญา ผ้นู ำ) 90/6 หมู่ที่ 3 ตำบลบางเตย 9. นายสำรวย พละหงษ์ การทำผลติ ภัณฑ์จากตน้ ชก อำเภอเมืองพงั งา จงั หวดั พงั งา โทร. 089287 9153 8/3 หมทู่ ี่ 1 ตำบลบางเตย 10. นายประวตั ิ เทพณรงค์ การผลติ ภัณฑ์น้ำตาลชก อำเภอเมอื งพงั งา จงั หวัดพงั งา โทร. 09 3550 8279 104 หมู่ที่ 4 ตำบลบางเตย 11. พระใบฎกี าปิยะ การศาสนาและวัฒนธรรม อำเภอเมอื งพงั งา จงั หวดั พงั งา โทร. 086276 2952 อัตถยุตโต 17 หมู่ท่ี 2 ตำบลสองแพรก อำเภอเมอื งพงั งา 12. นางวรรณี พรไพรณา การจกั สาน จงั หวดั พังงา โทร. 08 2436 1930 การตัดเยบ็ เสือ้ ผา้ 7/4 หม่ทู ่ี 2 ตำบลสองแพรก อำเภอเมืองพงั งา 13. นางวไิ ล บุญสร้าง การทำอาหาร จงั หวดั พังงา โทร. 08 9493 0253 การถนอมอาหาร 7/1 หมู่ท่ี 4 ตำบลทงุ่ คาโงก อำเภอเมอื งพงั งา 14. นางแอด จนั ทโชติ การทำสบู่สมนุ ไพร จงั หวัดพังงา โทร. 06 2232 8842 20/4 หมู่ที่ 4 ตำบลท่งุ คาโงก อำเภอเมอื งพังงา 15. นายกิตติภาส หมึกดำ การเพาะเห็ด จงั หวัดพงั งา โทร. 08 1389 8163

-แหลง่ เรียนรอู้ ่ืน

ช่ือแหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทตี่ ัง้ 1.หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั พงั งา ห้องสมดุ ประชาชน ศาลากลางจงั หวดั พงั งา ถนนเพชรเกษม ตำบลทา้ ยช้าง 2.สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ สวนสาธารณะ ชุมชนถ้ำพุงช้าง ตำบลท้ายช้าง 3.วัดประพาสประจมิ เขต ศาสนสถาน ชมุ ชนถำ้ พุงชา้ ง ตำบลท้ายชา้ ง 4.วัดประชมุ โยธี ศาสนสถาน ชมุ ชนตลาดเก่า ตำบลท้ายช้าง 5.วัดถำ้ ตาปาน ศาสนสถาน ชุมชนนากรอกคอกหญา้ ตำบลท้ายช้าง 6.ศนู ย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง แหล่งเรียนรใู้ นท้องถิน่ หมทู่ ่ี 2 ตำบลตากแดด บ้านสวนพริก 7.ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพาะเห็ดนางฟ้า แหล่งเรยี นรู้ในทอ้ งถ่ิน 1 หมู่ที่ 1 ตำบลตากแดด 8.สวนลุงจิ้น แหลง่ เรียนรใู้ นท้องถนิ่ 35/6 หมู่ท่ี 2 ตำบลตากแดด 9.กลุ่มสบนู่ ้ำผ้ึง แหลง่ ฝกึ อาชพี หมู่ท่ี 2 ตำบลตากแดด 10.ศูนย์ศึกษาวจิ ัยศิลปกรรมและ พิพธิ ภณั ฑ์ หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะปนั หยี ประเพณแี ห่งอันดามนั

แผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 14

ชอื่ แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ท่ตี ง้ั 11.อทุ ยานแห่งชาตอิ า่ วพังงา อุทยาน หมทู่ ี่ 1 ตำบลเกาะปันหยี 12.ศาลพอ่ ตาเขาเฒา่ ศาสนสถาน หมู่ท่ี 3 ตำบลบางเตย 13.ศูนยศ์ ึกษาธรรมชาติบางพัฒน์ สิ่งแวดลอ้ มธรรมชาติ หมู่ท่ี 8 ตำบลบางเตย 14.สวนป่าเขามว่ ง วนอุทยาน หมทู่ ่ี 3 ตำบลบางเตย 15.กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนบ้านบางเตย แหล่งทอ่ งเทยี่ ว หมทู่ ่ี 2 ตำบลบางเตย 16.โฮมสเตยบ์ ้านใต้ สถานประกอบการ หมู่ท่ี 9 ตำบลบางเตย 17.โฮมสเตยบ์ างพัฒน์ สถานประกอบการ หมู่ท่ี 8 ตำบลบางเตย 18.กลมุ่ แปรรปู ผลิตภัณฑต์ น้ ชก แหล่งเรียนรูใ้ นท้องถน่ิ หมทู่ ่ี 7 ตำบลบางเตย 19.กลมุ่ เครอ่ื งแกงบา้ นบางเตย แหลง่ ฝกึ อาชพี หมูท่ ่ี 2 ตำบลบางเตย 20.ศาลหลักเมืองพังงา ศาสนสถาน หมู่ท่ี 1 ตำบลถ้ำน้ำผุด 21.โบราณสถานวัดสราภมิ ขุ ศาสนสถาน หมู่ท่ี 1 ตำบลถ้ำนำ้ ผุด 22.สนามกีฬากลางจังหวัดพังงา ศนู ยก์ ฬี า หมทู่ ี่ 3 ตำบลถ้ำน้ำผุด 23. สำนักสงฆธ์ รรมทัศน์ ศาสนสถาน หมทู่ ี่ 2 ตำบลป่ากอ 24.วัดมงคลสถิตย์ ศาสนสถาน หมู่ท่ี 3 ตำบลปา่ กอ 25.สำนักสงฆท์ ุง่ ศรมี หาโพธ์ิ ศาสนสถาน หมทู่ ี่ 1 ตำบลป่ากอ 26.ศาลเจ้าจนุ้ กง ศาสนสถาน หมทู่ ่ี 2 ตำบลป่ากอ 27.นำ้ ตกในโตน ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ หมทู่ ่ี 3 ตำบลปา่ กอ 28.พทุ ธอุทยานสองแพรก ศาสนสถาน หมู่ท่ี 2 ตำบลสองแพรก 29.นำ้ ตกโตนปริวรรต แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วธรรมชาติ หมทู่ ี่ 2 ตำบลสองแพรก 30.รพ.สต.นบปริง ศูนยข์ ้อมลู หมทู่ ่ี 3 ตำบลนบปรงิ 31.อบต.นบปรงิ ศูนยข์ อ้ มลู หมทู่ ี่ 2 ตำบลนบปริง

32.วนอทุ ยานสระนางมโนราห์ ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาติ หมทู่ ี่ 3 ตำบลนบปรงิ

33.นำ้ ตกโตนหินลาด สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ หมู่ที่ 3 ตำบลท่งุ คาโงก

34.วดั ปจั จันตคาม ศาสนสถาน หมู่ท่ี 1 ตำบลทุ่งคาโงก

35.กลมุ่ จกั สานบา้ นทับเหรียง แหลง่ หัตกรรม หมู่ที่ 5 ตำบลทุง่ คาโงก

รวมจำนวน 35 แหง่

แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 15

-บา้ นหนังสอื ชมุ ชน

ที่ ช่อื บ้านหนงั สอื สถานท่ีตง้ั ตำบล อาสาสมัคร/เจ้าของบา้ น

ชมุ ชน ตากแดด นายวิจา ส้มจนั ทร์ ตากแดด นายภากร ลอื เสียง 1 บ้านสวนพรกิ 35/6 หมทู่ ี่ 2 (ศาลาร่วมใจ) ตากแดด นางสาวรุ่งฤดี สฤษดิ์สุข บางเตย นายสดายุ เทพณรงค์ 2 บา้ นบางญวน 3/6หม่ทู ี่ 3 (รา้ ยขายอาหาร) บางเตย นายสำรวย พละผล บางเตย นางสาวจันจิรา โภคผล 3 บา้ นตากแดด 4 หมู่ 1 (รา้ นคา้ ในหมู่บ้าน) บางเตย นายสโุ บ้ วาหะรกั ษ์ บางเตย น.ส.สกุ ญั ญา วาหะรักษ์ 4 บ้านบางเตยเหนอื 10 หมู่ 1 (รา้ นคา้ ในหมูบ่ ้าน) บางเตย นายดา้ หนี หาผล ถำ้ น้ำผดุ นายนี ชวู งค์ 5 บา้ นเขาเฒา่ 90/6 หม่ทู ่ี3(บ้านปราชย์ชาวบา้ น) ถำ้ นำ้ ผดุ นายจนั กนก ธนกร ถ้ำนำ้ ผุด นายสมทบ หมาดสตูล 6 บ้านบางเสยี ด 58/8 หมู่ 4 (รพ.สต.) ถำ้ น้ำผุด นายสุไลมาน มินสิน สองแพรก นางวันทนา สขุ มาก 7 บา้ นปูดำ 10 หมู่ 5 (บ้านปราชย์ชาวบา้ น) สองแพรก นางเอยี ด ปัน้ ทอง สองแพรก นางสาวรัตนพร ผสมทรพั ย์ 8 บ้านบางพัฒน์ หมู่ 8 ต.บางเตย เกาะปนั หยี นายอนุพงษ์ ธรรมรงค์ เกาะปันหยี นายมฮู มั หมัด ประสานพนั ธ์ 9 บ้านใต้ 1 หม่ทู ่ี 9 (บ้านปราชย์ชาวบา้ น) เกาะปันหยี นางสาวอรทยั พทิ ักษ์ เกาะปันหยี นางพิมพกิ า สระวารี 10 บ้านควน ทท่ี ำการสวัสดกิ ารชุมชน หมู่ 1 นบปริง นางอุไรรัตน์ บญุ ทอง นบปริง นายวีระพนั ธ์ แก้วพิพฒั น์ 11 บา้ นควน 23 หมู่ 1 นบปริง นายมงคล แกว้ ประสทิ ธ์ิ นบปริง นายจิระยุทธ์ ศกั ดแิ์ กว้ 12 บา้ นฝา่ ยท่า ท่ีทำการสวัสดิการชุมชน หมู่ 2 นบปริง นางอนงคร์ กั ษ์ บุญส่ง นบปรงิ นางสุภา จนิ ดาพล 13 บา้ นฝา่ ยท่า 2 หมู่ 2 ร้านอาหารซนั ซาน นบปริง นายอดุ ม สงิ หการ นบปริง นายสมคดิ พษิ นาค 14 บา้ นสองแพรก 20/12 หมู่ 2 ทุ่งคาโงก นางจำนง จันทร์นิม่

15 บ้านสองแพรก 20/8 หมู่ 2

16 บ้านสองแพรก 32 หมู่ 2

17 บ้านท่าดา่ น 26 หมู่ 1

18 บ้านเกาะปันหยี หมู่ 2

19 บ้านเกาะไมไ้ ผ่ ทีอ่ ่านหนงั สือรักท้องถน่ิ หมู่ 3

20 บา้ นเกาะหมากนอ้ ย หมู่ 4 บ้านเกาะหมากน้อย

21 บ้านนบปรงิ 25/4 หมู่ 1

22 บา้ นปากหรา 51/4 หมู่ 2 (อ่ซู อ่ มรถ)

23 บ้านบางแนะ 137/5 หมู่ 3

24 บ้านปรงิ ศาลาประชาคม หมู่ 4

25 บา้ นบางตง 23/5 หมู่ 5

26 บา้ นบางบ้า 18/3 หมู่ 6

27 บา้ นเผล ศาลาประชาคม หมู่ 7

28 บา้ นโรงกลวง 21/2 หมู่ 8

29 ตนี เขา 19/5 หมู่ 3

แผนปฏิบัตกิ าร กศน.อำเภอเมืองพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หน้า 16

ที่ ชอ่ื บ้านหนงั สือ สถานที่ต้ัง ตำบล อาสาสมัคร/เจ้าของบา้ น ชุมชน 17/1 หมู่ 4 ทงุ่ คาโงก นางรุง่ รัศม์ ว่องปลกู ศิลป์ 30 บางกัน รพ.สต.ทุ่งคาโงก ทุ่งคาโงก น.ส.เบญจวรรณ สนั โลหะ 31 บา้ นทงุ่ คาโงก 6/5 หมู่ 2 ทงุ่ คาโงก นายสหรัถ วรี ะการ 32 บา้ นบางม่า 11/2 หมู่ 5 ทงุ่ คาโงก นายวันชนะ ตันตระวิศิษฐ์ 33 บา้ นทบั เหรียง 14 หมู่ 3 ป่ากอ นายยทุ ธนา จรงุ การ 34 บา้ นในโตน รพ.สต. หมทู่ ี่ 2 ป่ากอ นายอรรณ นาคพฒั น์ 35 บ้านปากโตน หมู่ 3 ป่ากอ นางสุภาพร ขมกั การ 36 บา้ นในโตน 76/1 ถ.เพชรเกษม ต.ท้ายชา้ ง ท้ายชา้ ง นางสาววริ ิน เฟ่ืองสมบรู ณ์ 37 ตลาดสนเทศบาล 16/8 ต.ท้ายช้าง ท้ายชา้ ง นางแต๋ว แซ่ขอ เมืองพงั งา นายศราวฒุ ิ วาหะรกั ษ์ 38 ชมุ ชนเขาชา้ ง 19/68 ตลาดสนเทศบาลเมืองพังงา ทา้ ยช้าง 39 ชมุ ชนตลาดใหญ่ น.ส.ศนั สนยี ์ สุวรรณเจริญ ต.ทา้ ยช้าง น.ส.รชั นี ทบั ชู 40 ชมุ ชนอู่เรือ นางจนั ทรแ์ กว้ จนั ทนานนท์ 41 ชุมชนถนนใหม่ 17/10 ต.ทา้ ยช้าง ท้ายชา้ ง นายอารมณ์ อนิ ฉว้ น 42 ชุมชนบริรกั ษบ์ ำรงุ 43 ชุมชนทุ่งเจดยี ์ 149/1 ต.ทา้ ยช้าง ท้ายช้าง

181 ต.ท้ายช้าง ทา้ ยชา้ ง

ท้ายช้าง ทา้ ยชา้ ง

แผนปฏิบัติการ กศน.อำเภอเมืองพงั งา ประจำปีงบประมาณ 2565 หนา้ 17

1.2.4 โครงสร้างสถานศกึ ษา

ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอ คณะกรรมการสถานศกึ ษา

กลุม่ งานสนบั สนุนการจดั การศึกษานอก กลุ่มงานจดั การศึกษานอกระบบ ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการศกึ ษาตามอัธยาศยั

- งานธรุ การ งานสารบรรณ - งานสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือ - งานการเงนิ และบญั ชี - งานการศกึ ษานอกระบบ

- งานพสั ดุ - งานจัดการเรยี นการสอน - งานอาคารสถานที่ - งานวดั ผลประเมนิ ผล - งานการศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชพี - งานยานพาหนะ - งานการศึกษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวิต - งานแผนงานและโครงการ - งานการศึกษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชุมชน - งานประชาสมั พันธ์ - งานจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย - งานสวัสดิการ - งานจดั พฒั นาแหล่งเรยี นรแู้ ละภูมิ - งานขอ้ มูลสารสนเทศ ปัญญาทอ้ งถ่ิน - งานสง่ เสริมสนบั สนุนภาคีเครอื ข่าย - งานศูนย์การเรียนชุมชน - ศนู ย์ราชการใสสะอาด - งานหอ้ งสมดุ ประชาชน - งานกจิ การนักศึกษา - งานโครงการพเิ ศษหรอื นโยบายเรง่ ด่วน - การศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ และพัฒนา - ศนู ยใ์ ห้คำปรึกษาแนะนำ (Advice center) ประชาธิปไตย - โรคเอดส์ - งานทะเบยี นนกั ศกึ ษา - โครงการครอบครัวอบอ่นุ - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษา

1.2.5 บทบาทอำนาจหนา้ ท่ี กศน.อำเภอ 1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 2. ส่งเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่าย เพ่ือจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อธั ยาศัย 3. งานนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานเสริมสรา้ งความมั่นคงของชาติ 4. จัด สง่ เสรมิ สนับสนนุ และประสานการจดั การศึกษาตามโครงการ 5. จดั ส่งเสรมิ สนบั สนุน พัฒนาแหล่งเรยี นรู้และภูมิปัญญาท้องถิน่ 6. วจิ ัยและพัฒนาคุณภาพหลักสตู ร สือ่ กระบวนการเรยี นรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7. ดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ และเทียบระดับ

การศึกษา

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.อำเภอเมืองพงั งา ประจำปีงบประมาณ 2565 หนา้ 18

8. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นเิ ทศภายใน ติดตามประเมนิ ผลและรายงานผล 9. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และภาคเี ครอื ข่าย 10. ระดมทรัพยากรเพ่ือใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 11. ดำเนินการประกนั คณุ ภาพภายใน ใหส้ อดคล้องกบั ระบบ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทกี่ ำหนด 12. ปฏิบัติหนา้ ท่อี น่ื ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย

แผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 19

ตอนที่ 2

ทิศทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา

ปรชั ญา “การเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่ือง เปน็ เคร่ืองมอื สรา้ งความเข้มแขง็ ให้ชวี ิตและชุมชน”

วสิ ัยทศั น์ คนไทยได้รบั โอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ อยา่ งมคี ุณภาพสามารถดำรงชีวิตท่ีเหมาะสม

กบั ชว่ งวยั สอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและมีทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ในโลกศตวรรษท่๒ี ๑

เอกลกั ษณ์ “คุณธรรมนำความรู้ กิจกรรมหลากหลาย เครือขา่ ยเขม้ แข็ง”

อตั ลกั ษณ์ “มคี ณุ ธรรม พฒั นาตน สร้างสรรคส์ งั คม”

พันธกิจ 1. จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ที่มีคณุ ภาพเพื่อยกระดบั การศึกษา

พฒั นาทกั ษะการเรียนร้ขู องประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทกุ ช่วงวัยและพร้อมรบั การเปล่ียนแปลง บรบิ ททางสงั คมและสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ

2. ประสานภาคีเครอื ข่ายในการมสี ว่ นร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยและการ เรียนรูต้ ลอดชวี ติ รวมท้งั การดำเนินกจิ กรรมของศูนยก์ ารเรียนและแหล่ง การเรียนรู้อ่นื ในรูปแบบต่างๆ

3. นำเทคโนโลยีทางการศกึ ษาและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใ้ หเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้กับประชาชนอยา่ งทัว่ ถึง

4. พัฒนาหลกั สูตรรปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สอ่ื และนวัตกรรมการวดั และประเมินผล ในทุกรปู แบบให้สอดคล้องกบั บรบิ ทในปัจจุบัน

5. พฒั นาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพเพือ่ มงุ่ จดั การศึกษาและการเรียนรู้ ทมี่ ีคณุ ภาพโดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล

เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผดู้ อ้ ยพลาดและขาดโอกาสทางการศกึ ษารวมทง้ั ประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส

ทางการศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐานการศึกษาต่อเนอ่ื งและการศึกษา ตามอัธยาศัยที่มคี ณุ ภาพอยา่ งเทา่ เทยี มและทั่วถงึ เปน็ ไปตามสภาพปัญหาและความตอ้ งการของแตล่ ะ

กล่มุ เปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รบั การยกระดบั การศกึ ษาสร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและความเปน็

พลเมืองอนั นำไปส่กู ารยกระดบั คุณภาพชวี ติ และเสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ใหช้ ุมชนเพือ่ พัฒนาไปสู่ความมั่นคง

และยงั่ ยนื ทางด้านเศรษฐกิจสงั คมวัฒนธรรมประวตั ศิ าสตร์และสง่ิ แวดล้อม 3. ประชาชนไดร้ บั โอกาสในการเรยี นร้แู ละมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ี่เหมาะสม

แผนปฏบิ ัติการ กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 20

สามารถคิดวิเคราะห์และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันรวมท้ังแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง สร้างสรรค์

4. ประชาชนไดร้ บั การสรา้ งและสง่ เสรมิ ใหม้ ีนสิ ัยรักการอ่านเพอื่ การแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง 5. ชุมชนและภาคเี ครือขา่ ยทกุ ภาคส่วนรว่ มจัดส่งเสริมและสนับสนนุ การดำเนนิ งานการศกึ ษา

นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชมุ ชน 6. พัฒนาเทคโนโลยที างการศึกษาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้

และเพ่ิมโอกาสการเรียนร้ใู ห้กับประชาชน

7. พฒั นาสื่อและการจัดกระบวนการเรยี นรู้เพ่ือแกป้ ัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่ีตอบสนองกับการ เปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจสังคมการเมืองวัฒนธรรมประวัติศาสตร์และสิ่งแวดล้อมรวมทั้งตามความ

ตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย 8. บุคลากรได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

9. สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล ตัวช้ีวัด

1. จำนวนผูเ้ รียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานทไี่ ด้รับการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ย ตามสทิ ธทิ ่ีกำหนดไว้

2. จำนวนกลุ่มเป้าหมายต่างๆท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง

และการศึกษาตามอธั ยาศยั ทส่ี อดคล้องกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการ 3. จำนวนผรู้ บั บรกิ ารในพื้นทเี่ ปา้ หมายได้รับการสง่ เสรมิ ด้านการรหู้ นังสือและการพฒั นาทักษะชีวติ

4. รอ้ ยละการอ่านของคนไทยเพ่มิ ขึน้ 5. จำนวนนักเรียนนกั ศกึ ษาท่ไี ด้รบั บรกิ ารตวิ เข้มเตม็ ความรู้ 6. จำนวนนักเรียนนกั ศึกษาและประชาชนทั่วไปที่เข้าถงึ บรกิ ารการเรยี นรู้ทางด้านวิทยาศาสตรใ์ น

รูปแบบตา่ งๆ 7. จำนวนประชาชนที่ไดร้ ับการอบรมใหม้ คี วามร้ใู นอาชีพการเกษตรท่ีเหมาะสมกับสภาพบรบิ ทและ

ความต้องการของพ้ืนท่ี/ชุมชน 8. จำนวนแหล่งเรยี นรู้ในระดบั ตำบลทีม่ ีความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกระบบและ

การศกึ ษาตามอธั ยาศยั

9. จำนวนทำเนียบศนู ยเ์ รียนรู้เกษตรพอเพยี งของตำบลและจำนวนกลมุ่ เกษตรชุมชนดีเด่น 10. จำนวนประชาชนได้รับการอบรมตามหลักสูตรภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สารด้านอาชีพ (ระยะส้ัน)

สำหรบั ประชาชนในศูนย์อาเซยี นศึกษา กศน. 11. จำนวนนกั เรยี นนักศึกษาและประชาชนท่ัวไปทีเ่ ขา้ ถึงบริการความร้นู อกระบบและการศกึ ษาตาม

อัธยาศัยผ่านชอ่ งทางสือ่ เทคโนโลยที างการศกึ ษาและเทคโนโลยีการสอื่ สาร

12. จำนวนผู้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรท่ีกำหนดของโครงการสร้างเครือข่ายดิจิทัลชุมชนระดับ ตำบล

13. ร้อยละของตำบลทมี่ ีปรมิ าณขยะลดลง 14. จำนวนบุคลากรของสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการปฏิบัติงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

15. รอ้ ยละของนกั ศกึ ษา ทม่ี ีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนหลงั ได้รบั บริการตวิ เข้มเตม็ ความรู้เพ่มิ สูงขน้ึ 16. สถานศึกษามีระบบประกันคณุ ภาพภายในและมกี ารจัดทำรายงานการประเมินตนเอง

แผนปฏิบัตกิ าร กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปีงบประมาณ 2565 หน้า 21

17. สถานศึกษามีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการจัดทำฐานขอ้ มลู ชุมชนและ การบริหารจดั การเพอ่ื สนับสนนุ การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

18. สถานศึกษาสามารถดำเนินโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบได้สำเร็จตาม เปา้ หมายที่กำหนดไวอ้ ยา่ งโปร่งใส ตรวจสอบไดโ้ ดยใชท้ รัพยากรอยา่ งคุ้มค่าตามแผนทก่ี ำหนดไว้

ยุทธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านความมัน่ คง ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนากำลังคนการวจิ ยั และนวัตกรรมเพ่ือสรา้ งขดี

ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคนใหม้ ีคุณภาพ

ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสรมิ และจัดการศึกษาเพอื่ เสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวิตที่เปน็ มิตรกับ สิง่ แวดล้อม

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 ยุทธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจดั การ

แผนปฏบิ ตั ิการ กศน.อำเภอเมืองพังงา ประจำปงี บประมาณ 2565 หน้า 22

นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงานสำนกั งานสง่ เสรมิ การการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ได้กำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน

ตลอดช่วงชีวิตโดยมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนได้แก่ แผนย่อย ประเด็นการพัฒนาการเรยี นรู้ และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต ท่ีมงุ่ เน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพมนุษย์การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึง

ปฐมวยั การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วยั รนุ่ การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวยั แรงาน รวมถึงการส่งเสริมศักยภาพ วยั ผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนร้ทู ีต่ อบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหปุ ัญญาของ

มนุษย์ที่หลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นการศึกษา นโยบายรัฐบาลทัง้ ในสว่ นนโยบายหลัก ด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่ด่วนเร่ืองการ เตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืน ๆท่ีเกี่ยวข้อง อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประชาชนจะได้รับการพัฒนาการเรยี นรู้

ให้เปน็ คนดี คนเก่งมคี ุณภาพ และมคี วามพร้อมร่วมขับเคล่อื นการพฒั นาประเทศสคู่ วามมนั่ คง มั่งค่ังและย่งั ยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้น ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้ึน เพ่ือเปนเข็มมุ งของ หนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธกิ าร ขบั เคล่ือนการดำเนินงานใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแผนตาง

ๆ ดังกลาว สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานท่ีมีภารกิจในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงมั่นขับเคล่ือนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคำนึงถึงหลักการบริหารจัดการท้ังในเร่ืองหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุงเน

นผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการดานขอมูลขาวสารการสรางบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู ตลอดจนการ ใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพโดยเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การจัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ องคกร สถานศกึ ษาและแหลงเรยี นรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา การ

ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสรางความพึงพอใจให้กับ ผูร้ ับรกิ าร โดยไดกำหนดนโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ดังน้ี

หลักการ กศน. เพ่อื ประชาชน “กา้ วใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ”

แผนปฏิบัติการ กศน.อำเภอเมอื งพงั งา ประจำปงี บประมาณ 2565 หนา้ 23

นโยบายและจดุ เนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการจดั การเรียนรูคณุ ภาพ 1.1 น้อมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติรวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำรทิ กุ โครงการ และโครงการอันเก่ยี วเนื่องจากราชวงศ์ 1.2 ขบั เคล่ือนการจดั การเรียนรูท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายของรฐั มนตรวี ่าการ

และรฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรางความมั่นคง การสร้างความเขาใจท่ีถูกตองในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ

ความยึดม่ันในสถาบนั หลกั ของชาติ การเรียนรูประวัตศิ าสตรของชาติและทองถิน่ และหนาทค่ี วามเปนพลเมอื ง ที่ เขมแข็งรวมถึงการมจี ติ อาสา ผานกจิ กรรมตางๆ

1.4 ปรับปรุงหลักสตู รทกุ ระดับทุกประเภท ท้ังหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา

ขน้ั พ้ืนฐานและหลักสูตรการศกึ ษาตอเนือ่ ง ใหสอดรับกบั การพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคลอง กับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถึงปรับลดความ

หลากหลายและความซ้ำซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายบนพื้นที่สูง พื้นที่ พเิ ศษและพนื้ ทช่ี ายแดนรวมทงั้ กลุมชาตพิ นั ธุ

1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือใหผู

เรียนสามารถเขาถึงการประเมินผลการเรียนรูไดตามความตองการ เพื่อการสรางโอกาสในการเรียนรู ให ความสำคญั กบั การเทียบระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พฒั นาระบบการประเมิน

สมรรถนะ ผเู รียนใหตอบโจทยการประเมนิ ในระดบั ประเทศและระดบั สากล เชน การประเมินสมรรถภาพ ผูใหญ ตลอดจนกระจายอำนาจไปยังพื้นทใี่ นการวัดและประเมินผลการเรียนรู

1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบ

วงจรตั้งแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูให

กับกลุม เปาหมายทีส่ ามารถเรยี นรูไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผูเรยี น 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสำนักงาน กศน.

ตลอดจนพฒั นาส่ือการเรียนรูท้ังในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังส่อื การเรียนรูที่เปนสอ่ื ทถ่ี กู ตอง