นานาชาต จ น สาขาว ชาภาษาจ นธ รก จ ม.กร งเทพ

หนงั สอื รวมบทความเน่อื งในโอกาสครบรอบ 60 ปีภาควิชาภาษาตะวันออก

สายนทแี หง่ วทิ ยา 60 ปีภาควชิ าภาษาตะวันออก

กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, 2564.

312 หนำ้ ISBN : 978-616-407-623-5 จดั ทำโดย ภำควชิ ำภำษำตะวันออก

คณะอกั ษรศำสตร์ จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั โทร. 02-218-4739 พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 จำนวน 200 เลม่ มิถนุ ำยน พ.ศ.2564 สถำนท่ีพิมพ์ สำนกั พิมพจ์ ฬุ ำลงกรณ์มหำวทิ ยำลยั

คณะบรรณาธกิ าร จฬุ ำลงกรณ์มหำวิทยำลัย

บรรณาธิการ มหำวทิ ยำลยั ธรรมศำสตร์ ศำสตรำจำรย์ ดร.อรรถยำ สุวรรณระดำ จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ คณะผทู้ รงคุณวฒุ กิ ลั่นกรองคณุ ภาพบทความ มหำวทิ ยำลัยรำมคำแหง รองศำสตรำจำรย์ ดร.ปกรณ์ ลมิ ปนสุ รณ์ รองศำสตรำจำรย์ ดร.พัชนี ตงั้ ยนื ยง มหำวทิ ยำลยั ทักษิณ รองศำสตรำจำรย์ ดร.สมเกียรติ เชวงกจิ วำนชิ มหำวิทยำลยั บรู พำ รองศำสตรำจำรย์ ดร.สมุ ำลี นิมมำนุภำพ รองศำสตรำจำรย์ยุรฉัตร บุญสนทิ ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.กนกพร ศรีญำณลักษณ์

ผูช้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.เกตุ อัสมมิ ำนะ มหำวทิ ยำลยั สงขลำนครนิ ทร์

ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ชำญณรงค์ บญุ หนุน มหำวิทยำลยั ศลิ ปำกร

ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ชำนป์วชิ ช์ ทัดแก้ว จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย

ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.นพิ ล แสงศรี มหำวิทยำลยั รำชภฏั พระนครศรีอยุธยำ

ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ปพนพัชร์ กอบศริ ธิ รี ว์ รำ มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์

ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.ภัทรอ์ ร พิพัฒนกุล มหำวทิ ยำลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ

ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.วินัย จำมรสรุ ยิ ำ มหำวิทยำลยั รำชภฏั นครรำชสีมำ

ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.สมชำย เซ็มมี มหำวทิ ยำลัยรำมคำแหง

ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.สมบัติ มัง่ มีสขุ ศริ ิ มหำวิทยำลยั ศิลปำกร

ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.อำทิตย์ ชีรวณชิ ยก์ ุล จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย

ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรยก์ อ่ ศกั ด์ิ ธรรมเจริญกิจ จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั

อำจำรย์ ดร.วนดิ ำ ครำวเหมำะ มหำวทิ ยำลัยศิลปำกร

อำจำรย์ ดร.สุวภำ ธีรกิตติกลุ มหำวทิ ยำลัยเชยี งใหม(่ อำจำรย์พเิ ศษ)

อำจำรย์ ดร.อุเทน วงศส์ ถติ ย์ มหำวิทยำลัยศลิ ปำกร

กรรมการภายใน จุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย รองศำสตรำจำรย์ ดร.ชมนำด ศตี สิ ำร จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย ผู้ชว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.กมล บษุ บรรณ์ จฬุ ำลงกรณ์มหำวิทยำลัย ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.นูรีดำ อิบนิสลุ ัยมำน

บทควำมวิจัยและบทควำมวิชำกำรที่ได้รับกำรตีพิมพ์ลงในหนังสือรวม บทควำมน้ี ได้ผำ่ นกำรประเมนิ และกลน่ั กรองคณุ ภำพจำกคณะผทู้ รงคุณวุฒิ ซึง่ มำจำกหลำกหลำยสถำบันอย่ำงนอ้ ย 2 ทำ่ น

บทบรรณาธิการ

หนังสือรวมบทความ สายนทีแห่งวิทยา 60 ปีภาควิชาภาษา ตะวันออก น้ีจัดทาขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันภาควิชาภาษาตะวันออกประกอบไปด้วยสาขาวิชาภาษาต่าง ๆ มากมายหลายแขนง เปรียบเสมือนสายนทีใหญ่อันประกอบด้วยสายนที ย่อย ๆ จากหลายหลายที่ไหลมารวมกนั ธรรมชาติของสายนา้ ย่อมจะมกี าร ไหลแยกแตกแขนง ไหลรวมผสมผสาน และไหลสืบเนื่องต่อไปไม่หยุดยั้ง น้ายังมีรูปลักษณะท่แี ปรเปล่ียนไปเรื่อย ๆ สะท้อนถึงความเปลี่ยนแปลงไม่ แน่นอน และยังเป็นสญั ลักษณส์ ือ่ ถึงสิ่งต่าง ๆ เช่น ความบริสุทธิเ์ ยอื กเยน็ การเยียวยาและการปลอบประโลมดว้ ย

หนังสือรวมบทความนี้รวบรวมบทความต่าง ๆ ซึ่งมีหัวข้อ เก่ียวข้องกบั น้าหรอื สายน้า หรือมีเนอ้ื หาท่สี ะทอ้ นให้เหน็ ถงึ พฒั นาการและ การเปล่ยี นแปลง การถา่ ยทอดส่งต่อหรือสืบสานต่อเนอ่ื ง หรือสงิ่ อื่น ๆ ซ่ึง น้าหรือสายน้าเป็นสัญลักษณ์สื่อโยงถึงได้ดังท่ีกล่าวไปข้างต้น ทั้งนี้ เป็น บทความทางด้านภาษา วรรณคดี และวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ อัน ไดแ้ ก่ จีน ญปี่ นุ่ เกาหลี เอเชียใต้ มาเลย์ และอาหรับ รวมจานวนทงั้ สิน้ 13 บทความ จาแนกเป็นบทความรับเชญิ 3 เรื่อง บทความวิจัย 6 เรื่อง และ บทความวชิ าการ 4 เรอื่ ง ดงั นี้

บทความรับเชิญ 3 เรื่อง ได้แก่ บทความเรือ่ ง สายนทแี ห่งวทิ ยา 60 ปีภาควิชาภาษาตะวันออก โดยศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของภาควิชาภาษาตะวันออก

โดยมีการจัดตั้งแผนกวิชาภาษาไทยและโบราณตะวันออก แล้วจึงแยก ออกมาเป็นแผนกวิชาภาษาตะวันออกในปีพ.ศ.2504 ต่อมาจึงเปลี่ยนคา เรียกมาเปน็ ภาควชิ าภาษาตะวันออกดังเช่นในปจั จุบัน บทความเร่อื ง สาย นทแี ห่งการศึกษาวิจยั บทละครโนในประเทศไทย โดยศาสตราจารย์กิตติ คณุ ดร.สริ ิมนพร สุริยะวงศไ์ พศาล กลา่ วถึงความเป็นมาของการศกึ ษาวิจัย บทละครโนของญปี่ ุ่นในประเทศไทย โดยเร่ิมจากยุคต้งั ไข่ ซง่ึ ผลงานตพี ิมพ์ ยังจากัดอยู่ที่ตัวผู้เขียนบทความคนเดียว ก่อนที่จะไปสู่ยุคไฟแรงซึ่งมี ผลงานวทิ ยานิพนธ์ด้านละครโนของนิสิตจานวนมาก และยุคแสงสู่อนาคต ซึ่งกาลังจะเริม่ ต่อจากนี้ และบทความเรื่อง โพธินทีธารวรรณมาลา: ลา นาความคิด พินจิ ผ่านสายน้า โดยผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ทัศนยี ์ สนิ สกุล และ อาจารย์ ดร.อรุณวรรณ คงมีผล ประมวลกวีนิพนธ์สันสกฤตว่าด้วยเรื่อง ของสายน้าในแง่มุมต่าง ๆ ซึ่งให้ความรู้และข้อคิดเกี่ยวกับโลกและชีวิต โดยจาแนกเป็น 4 หัวข้อย่อยคือ นิยามและความสาคัญของน้า คติธรรม จากนา้ ธรรมชาตสิ ายนา้ -ธรรมชาติชวี ติ และสายนา้ คอื พลังแหง่ บทกวี

บทความวจิ ัย 6 เรอ่ื ง ได้แก่ บทความเร่ือง การแปลชื่อเครื่องด่ืม ใน ดอกเหมยในแจกนั ทอง นวนยิ ายจีนโบราณออ้ื ฉาว จนิ ผิงเหมย์ ภาค ภาษาไทยฉบับเนียนและสด กูรมะโรหิต โดย ประเทืองพร วิรัชโภคี ศกึ ษากลวิธใี นการแปลชื่อเครื่องดืม่ ในนวนยิ ายดังกลา่ ว โดยใชท้ ฤษฎีกลวิธี การแปลในระดับคาของโมนา เบเคอร์ เมื่อไม่สามารถหาคาที่เท่าตรงกับ ต้นฉบับไดใ้ นภาษาปลายทางเปน็ เกณฑห์ ลกั ในการวเิ คราะห์ บทความเรือ่ ง สายสัมพันธ์ระหว่างพี่นอ้ งตระกูลมิอุระในนิยายสงครามเร่ือง“โจกีวกิ” โดย กณภัทร รื่นภิรมย์ ศึกษาการนาเสนอความสัมพันธ์ระหว่างนักรบพ่ี นอ้ งตระกูลมอิ รุ ะในนยิ ายสงครามดังกล่าว โดยผวู้ จิ ัยชี้ว่าการเปลี่ยนผ่านผู้

มีอานาจในรัฐบาลทหารนามาซึ่งความขัดแย้ง แต่การรักษาสายสัมพันธ์ ภายในตระกูลยังคงเป็นสิง่ สาคญั ในสังคมนักรบ บทความเรื่อง การศึกษา เปรียบเทียบวิธีการใช้ “V.te-ageru” ในภาษาญี่ปุ่นกับ“V.+ให้”ใน ภาษาไทย: ข้อจากัดทางโครงสร้างในสถานการณ์การเสนอความ ช่วยเหลือ โดย สลิลรัตน์ กวีจารุมงคล ศึกษาเปรียบเทียบวิธีการใช้กริยา แสดงการให้ที่ปรากฏในสถานการณ์การเสนอความช่วยเหลือใน ภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย ที่ใช้โครงสร้าง “V. te-ageru” และโครงสร้าง “V. + ให้” โดยเก็บรวบรวมประโยคตัวอย่างจากนวนิยายแปลไทย-ญีป่ นุ่ และญี่ปุ่น-ไทย บทความเรื่อง จาก โอปานภูต ทายกผู้เป็นดุจบ่อน้า สู่ การสรา้ งสรรคท์ านในอดุ มคติของอุบาสกในคมั ภรี ์ธัมมปทฏั ฐกถา ศึกษา มโนทัศน์ของคาว่า โอปานภูต “ผู้เป็นดุจบ่อน้า”ที่สะท้อนทานในอุดมคติ ในคัมภีร์ธัมมปทัฏฐกถา บทความเรื่อง รูปแบบอักษรที่พบในจารึก สันสกฤตของอาณาจักรจามปา โดย ณัชพล ศิริสวัสดิ์ ศึกษารูปแบบ อักษรที่ปรากฏในจารึกสันสกฤตของอาณาจักรจามปา โดยเปรียบเทียบ ตวั อักษรที่พบในจารึกจากเอกสารและสาเนาภาพถ่ายจารกึ และบทความ เรื่อง วัจนกรรมการพูดปลอบใจของผู้เรียนภาษาเกาหลชี าวไทย โดย อิส ริยา พาที ศึกษาการใช้วจั นกรรมการปลอบใจของผูเ้ รียนภาษาเกาหลีชาว ไทย โดยเปรียบเทียบกับการใช้ภาษาไทยของคนไทย และการใช้ภาษา เกาหลีของคนเกาหลี

บทความวิชาการ 4 เรื่อง ได้แก่ บทความเรื่อง สญั ลกั ษณท ่ี ปลดปลอ ยความเศรา ในงานประพนั ธข องเฉาจอ๋ื โดย พิชญา วิภาวีนุกูล ศึกษา สัญลักษณ์ต่างๆ ที่เฉาจื๋อมักใช้ในวรรณกรรมเพื่อกระตุ้นหรือปลดปล่อย ความเศรา้ ของเขา โดยผเู้ ขียนช้ีว่างานประพนั ธ์ของเฉาจ๋ือมักใช้สัญลักษณ์

เกี่ยวกับสัตว์ บุคคลในตานาน และธรรมชาติในงานประพันธ์ บทความ เรื่อง เสียงเพรียกจากคลื่นชีวิตชาวประมงในนวนิยาย Angin Timur Laut โดย นูรียัน สาแล๊ะ วิเคราะห์สาระสาคัญที่ปรากฏในนวนิยาย Angin Timur Laut ของ เอซ. โอซมัน กลันตัน ในฐานะที่เป็นนวนิยาย สะทอ้ นสงั คมชาวประมงมลายูในรฐั กลนั ตนั ประเทศมาเลเซีย โดยพจิ ารณา ความสัมพันธ์ระหว่างประวัติผูแ้ ต่ง ตัวบทและบริบทอืน่ ๆ ที่มีอิทธิพลตอ่ การผลติ นวนยิ ายดงั กลา่ วควบคกู่ นั บทความเรือ่ ง ววั กบั บ้าน : พัฒนาการ รูปเขียนและเสียงในระบบอัลฟาเบตผ่านภาษาอาหรับ โดย ดุลยวิทย์ นาคนาวา นาเสนอพัฒนาการท้ังด้านรูปเขียนและเสียงของอักษรอะลิฟ และบาอใ์ นภาษาอาหรบั ซงึ่ ตวั อักษรทั้ง 2 ตวั เปน็ เสยี งดงั้ เดมิ และเปน็ ท่ีมา ของชอ่ื เรยี กระบบอัลฟาเบต และบทความเรื่อง น้าในคาสอนของอิสลาม โดย อภิชาติ พงษ์เกษม ผู้เขียนชี้ว่าน้าเป็นสิ่งหนึ่งที่อิสลามได้ให้ ความสาคัญเนื่องจากเป็นแหล่งกาเนิดและรากฐานของการดาเนินชีวิต มนุษย์ สัตว์และพืชพันธุ์ และเป็นสิ่งที่มีบทบาทในการสร้างเสริมความ ศรทั ธาและการมีจติ สานกึ ในความเมตตาตอ่ อัลลอฮ์

ขอขอบคุณคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่ให้ ทุนอุดหนุนการจัดทาและตีพิมพ์หนังสือรวมบทความนี้ และขอขอบคุณ อาจารย์และเจ้าหน้าที่ทกุ ทา่ นทีใ่ ห้ความร่วมมอื ในการจัดทาหนังสอื เลม่ นี้ สุดทา้ ยน้ี หวงั วา่ ภาควชิ าภาษาตะวันออกซงึ่ เปรียบเสมือนสายนทีใหญ่อัน เป็นแหล่งรวมสรรพวิทยาภาษาตะวันออกน้ี จะรุ่งเรืองก้าวไกลสืบไป เหมือนดัง่ สายนา้ ทไี่ หลสบื ตอ่ ไปไมห่ ยุดยั้ง

อรรถยา สวุ รรณระดา บรรณาธกิ าร

สารบัญ

หนา้

บทความรับเชิญ

สายนทแี หง่ วิทยา 60 ปีภาควิชาภาษาตะวนั ออก 1 ประพณิ มโนมัยวบิ ลู ย์

สายนทแี ห่งการศกึ ษาวิจัยบทละครโนในประเทศไทย 8 สริ ิมนพร สุรยิ ะวงศ์ไพศาล

โพธินทีธารวรรณมาลา: ลานาความคดิ พนิ ิจผา่ นสายน้า 20 ทัศนยี ์ สนิ สกุล และ อรุณวรรณ คงมีผล

บทความวิจัย

การแปลชอื่ เครื่องด่ืมใน ดอกเหมยในแจกนั ทอง นวนยิ ายจนี 46 โบราณอื้อฉาว จนิ ผิงเหมย์ ภาคภาษาไทยฉบับเนยี นและสด กรู มะโรหิต ประเทืองพร วริ ชั โภคี

สายสัมพันธ์ระหว่างพนี่ อ้ งตระกลู มิอรุ ะในนิยายสงครามเรื่อง 74 “โจกีวกิ” กณภทั ร รื่นภิรมย์

การศึกษาเปรียบเทียบวธิ กี ารใช้ “V.te-ageru” ในภาษาญป่ี ุ่น 103 กบั “V.+ให”้ ในภาษาไทย: ข้อจากัดทางโครงสรา้ งในสถานการณ์ การเสนอความช่วยเหลือ สลิลรัตน์ กวีจารุมงคล

จาก โอปานภตู ทายกผู้เปน็ ดจุ บอ่ น้า ส่กู ารสร้างสรรค์ทานใน 128 อุดมคติของอบุ าสกในคัมภรี ธ์ มั มปทฏั ฐกถา สมพรนุช ตนั ศรสี ุข

หนา้

รปู แบบอักษรทพ่ี บในจารึกสนั สกฤตของอาณาจักรจามปา 151 ณชั พล ศิริสวสั ดิ์

วจั นกรรมการพูดปลอบใจของผ้เู รยี นภาษาเกาหลีชาวไทย 190 อิสรยิ า พาที

บทความวชิ าการ

สัญลักษณท ี่ปลดปลอยความเศราในงานประพนั ธข องเฉาจื๋อ 215 พชิ ญา วิภาวีนกุ ูล

เสียงเพรยี กจากคลื่นชีวติ ชาวประมงในนวนิยาย Angin Timur 238 Laut นูรียนั สาแล๊ะ

วัวกับบ้าน : พฒั นาการรปู เขยี นและเสียงในระบบอัลฟาเบต 262 ผา่ นภาษาอาหรบั ดุลยวิทย์ นาคนาวา

น้าในคาสอนของอิสลาม 290 อภชิ าติ พงษ์เกษม

บทความรบั เชญิ

สายนทแี ห่งวทิ ยา 60 ปภี าควชิ าภาษาตะวันออก

ประพณิ มโนมยั วบิ ูลย์1

ในปี 2504 สภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ได้พจิ ารณาเร่ืองที่คณะ อักษรศาสตรเ์ สนอแยกแผนกวิชาภาษาไทยและโบราณตะวันออกออกเปน็ 2 แผนกเพื่อเปิดสอนแขนงวิชาใหมๆ่ หลังจากนน้ั มหาวิทยาลยั ก็ได้ออกขอ้ ประกาศในวันที่ 18 ธนั วาคม พ.ศ. 2504 ใหแ้ ยกแผนกวิชาภาษาไทยและ โบราณตะวนั ออกเปน็ 2 แผนก คือ แผนกวิชาภาษาไทย แผนกวิชาภาษา ตะวนั ออก ในปี 2522 แผนกวชิ าภาษาตะวันออก เปลี่ยนเป็น ภาควชิ า ภาษาตะวันออก โดยเปลี่ยนคาวา่ แผนกวิชา เปน็ ภาควชิ า ตาม พระราชบญั ญัตจิ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2522 (วิลาสวงศแ์ ละชัตสุณี, 2539, น.3-6)

ปี พ.ศ. 2564 จึงเป็นวาระสาคัญของสายนทีแห่งวิทยา 60 ปี ภาควิชาภาษาตะวันออก อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาภาษาต่างประเทศซ่งึ เปิดสอนในภาควิชาภาษาตะวนั ออก พบว่าสายนทีนีเ้ ป็นสายธารท่ีมาจาก เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกไกลตั้งแต่ศตวรรษที่แล้ว ดังภาพในแผนท่ี ขา้ งล่างนี้

1 ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร., สาขาวชิ าภาษาจีน ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอกั ษร- ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , E-mail : [email protected]

1

2

สายนทีแห่งวิทยานี้เริ่มในปี พ.ศ. 2471 เมื่อคณะอักษรศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เปดิ สอนวิชาภาษาบาลีเปน็ วิชาหนึง่ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรครมู ัธยม ต่อมาในปี 2477 เมื่อจัดต้ัง แผนกภาษาไทยและโบราณตะวันออกข้นึ กม็ ีวิชาภาษาบาลีอยู่ในหมวดวิชา ภาษาไทย และได้เปิดสอนวิชาภาษาสันสกฤตเพิ่มอีกวิชาหนึ่งในปี 2479 (ประพิณ, 2556, น.10, 19)

หลังจากน้นั ระหวา่ งสงครามโลกคร้ังที่สอง คณะอักษรศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ได้เปิดสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นในปี 2485 แต่สอนถึงปี 2488 เท่านั้นเพราะขาดแคลนผู้สอน2 แต่วิชาภาษาบาลีและสันสกฤตยังคงเป็น วิชาในแผนกวิชาภาษาไทย จนถึงปี 2514 เมื่อคณะอักษรศาสตร์เริ่มใช้ หลักสูตรระบบหน่วยกิต จงึ จัดใหว้ ชิ าภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นงานการ สอนของแผนกวิชาภาษาตะวันออก มีฐานะเป็นรายวิชาเลือกในหมวด ภาษาต่างประเทศ และภาษาบาลียังเป็นวิชาพ้ืนฐานสาหรับนิสิตชั้นปที ี่ 1 ดว้ ย (ทศั นยี ์, 2555, น.122)

2 อ้างองิ ขอ้ มลู จากสาขาวิชาภาษาญ่ีปนุ่ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในระหวา่ งสงครามโลกครั้งสอง มนี าย Takejiro Tomita มาเรียนภาษาไทยท่ีคณะ อักษรศาสตร์ เมื่อคณะอักษรศาสตร์เปิดสอนวิชาภาษาญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2509 ศาสตราจารย์ Takejiro Tomita ก็เป็นหนึ่งในคณาจารย์ที่สถานทูตญี่ปุ่นประจา ประเทศไทยส่งมาช่วยสอนท่ีคณะอักษรศาสตร์ (ประพณิ , 2556: 16-17)

3

ศาสตราจารย์ฉลวย วุธาทิตย์ ซึ่งเป็นหัวหน้าแผนกวิชาภาษา ตะวันออกไดว้ างพื้นฐานอันดียิ่งไว้ให้ด้วยการปฏิบัตหิ น้าที่และงานที่ทา่ น รับผิดชอบอย่างต้งั ใจจรงิ และรู้จรงิ เมตตาสอนงานท้งั ด้านบริหารและการ สอนให้แก่อาจารย์รุ่นใหม่ในแผนกวิชาฯ จนทุกคนมีความสามารถเป็นผู้รู้ งานและทางานเปน็ ภาควิชาภาษาตะวันออกจึงพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ืองมั่นคง เปน็ สายนทแี ห่งวิทยาตลอดระยะเวลา 60 ปี ตัง้ แต่ปี 2504 จนถึงปัจจุบัน ดงั น้ี

4

ภาษาญป่ี ุน่ 2509 สายนทีแหง่ วทิ ยา 60 ปภี าควชิ าภาษาตะวันออก (พ.ศ.2504-2564) พ.ศ. 2504 ภาษามลายู ภาษาจนี 2516 2514 ภาษาบาลแี ละ ภาษาเวยี ดนาม 2540 ภาษาสันสกฤต 2531 ภาษาเกาหลี ภาษาอาหรับ 2550 ภาษาทิเบตเพ่ือพทุ ธ- 2545 ภาษาพม่า ศาสตร์ศกึ ษา 2555 2554 ภาษาอินโดนีเซยี

2557 ภาษาฮนิ ดี

หมายเหตุ: ดรู ายละเอยี ดประกอบในเว็บไซตข์ องแต่ละสาขาวชิ า

5

คณะอักษรศาสตร์เปิดสอนวิชาภาษามลายูตั้งแต่ พ.ศ. 2504- 2515 แล้วจึงจัดตั้งสาขาวิชาภาษามาเลย์ในปี 2516 และเปิดสอนวิชา ภาษามาเลย์เปน็ วชิ าเลือกในหลกั สูตรปริญญาบณั ฑติ

สาขาวิชาภาษาบาลี-สันสกฤตได้เปิดสอนภาษาทิเบตเพื่อพุทธ- ศาสน์ศึกษาในหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตของสาขาฯ ในปี 2555 และเปิดสอนภาษาฮินดีในหลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิตปี 2557 ของสาขาฯ ในปี 2557 ยังไดป้ รบั ปรุงหลกั สตู รมหาบัณฑติ เปน็ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี-สันสกฤตและพุทธศาสน์ศึกษา และเปิดหลักสูตรใน สาขาเดียวกันนี้ในระดับดุษฎบี ัณฑิตด้วย ในปี พ.ศ. 2558 ได้รับอนุมัตใิ ห้ เปลี่ยนชื่อสาขาวิชาเป็น สาขาวิชาภาษาเอเชียใต้ เพื่อรองรับแผนพัฒนา เปดิ การสอนภาษาทมิฬ ภาษาอูรดู หรอื ภาษาสิงหลในอนาคต

ปจั จบุ ันภาษาตะวนั ออกท่ีเปิดสอนในภาควิชาฯ บางภาษามีฐานะ เป็นวิชาเลือก หรือวิชาโท เพราะยังขาดแคลนผู้สอน สาขาวิชาที่มีผู้สอน ครบตามเกณฑ์การเปิดหลักสูตรปริญญาบัณฑิตก็เปิดเป็นฐานะวิชาเอก ไดแ้ ก่ วิชาภาษาเกาหลี ส่วนสาขาวิชาทีม่ หี ลักสูตรทั้งระดับปริญญาบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ได้แก่ สาขาวิชาภาษาจีน สาขาวิชา ภาษาญ่ีปุ่น และสาขาวิชาภาษาเอเชียใต้

ขอขอบคุณหัวหน้าสาขาทุกสาขาในภาควิชาภาษาตะวันออกท่ี อนเุ คราะหใ์ หข้ อ้ มูลซ่งึ ต้องใชใ้ นการเขยี นบทความน้ี

6

เอกสารอา้ งอิง(References) ฉลวย วุธาทิตย์. (2515). ศาสตราจารย์รอง ศยามานนท์กับวิชาภาษา

ตะวันออก. ใน สี่ศาสตราจารย์, หน้า 80-84. กรุงเทพ: บริษัท โรงพิมพไ์ ทยวัฒนาพานิช จากัด. ทัศนีย์ สินสกุล. (2555). ศาสตราจารย์ ม.ล.จิรายุ นพวงศ์กับสาขาวิชา ภาษาบาลีและสันสกฤต. ใน ร้อยปีสี่ศาสตราจารย์, หน้า 121-124. กรุงเทพ: บรษิ ัท คอนเซ็พทพ์ ริ้นท์ จากัด. ประพิณ มโนมัยวิบลู ย์. (2556). ศาสตราจารย์กิตติคุณฉลวย วุธาทิตย์กับ ภาควิชาภาษาตะวันออก. ใน กตเวที 100 ปี ศาสตราจารย์กิตติคุณ ฉลวย วุธาทติ ย์, หนา้ 10-27. กรุงเทพ: บรษิ ัทอัมรนิ ทรพ์ รนิ ติ้งแอนด์ พับลิชชง่ิ จากัด (มหาชน). วิลาสวงศ์ พงศะบุตร และ ชัตสุณี สินธุสิงห์. (2539). แปดทศวรรษคณะ อักษรศาสตร์. ใน 60 รุ่น อกั ษรศาสตรบัณฑิต, หนา้ 1-29. กรุงเทพ: บริษทั อมั รนิ ทรพ์ รินติ้งแอนด์พบั ลชิ ช่ิง จากดั (มหาชน).

7

บทความรบั เชิญ

สายนทแี หง่ การศกึ ษาวจิ ยั บทละครโนในประเทศไทย

สริ ิมนพร สรุ ิยะวงศไ์ พศาล1

ละครโน(能のう)เป็นละครโบราณของญี่ปุ่นที่ไดร้ ับการยกย่องจาก

สหประชาชาติใหเ้ ปน็ หน่ึงในมรดกโลกทางวฒั นธรรม มอี ายุประมาณ 600

ปีแล้ว ในประเทศไทยเคยมีการแสดงละครโนคร้ังแรกในปี พ.ศ.2527ท่ี

กรุงเทพมหานคร และ เชียงใหม่ และอีกเพียงคร้งั เดียวในโอกาสครบรอบ

120 ปีความสัมพันธ์ไทย-ญ่ีปุ่นในปี2550 บ ท ล ะ ค ร โ น ( )ส่วようきょく น ให ญ่

謡曲

อ้างอิงวรรณคดีโบราณที่ใช้ภาษายากแต่ไพเราะลกึ ซ้ึงกนิ ใจ

บทความนีน้ ่าจะเป็นบทความแรกท่ีรวบรวมผลงานศึกษาวจิ ัยบท

ละครโนทต่ี ีพิมพ์เผยแพร่โดยนักวจิ ัยชาวไทยทัง้ หมดต้งั แตต่ ้นจนถงึ ปจั จบุ ัน

(มีนาคม2564) และที่คาดว่าจะเสร็จภายในประมาณปีน้ี โดยผู้เขียน

แบ่งเป็น3ยุคและขอต้ังชื่อว่า “ยุคตั้งไข่” “ยุคไฟแรง” และ“ยุคแสงสู่

อนาคต” ในยุคแรกการศึกษาวิจัยบทละครโนจากัดอยู่เฉพาะที่สาขาวิชา

ภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย แต่ปัจจุบันได้ขยายไปสู่สถาบันการศึกษาอื่นอีก3แห่งโดย

นกั วจิ ยั ทีจ่ บการศึกษาจากจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

1 “ยคุ ต้งั ไข่” “ยุคต้ังไข่” คือช่วงเวลาก่อนท่ีสาขาวิชาภาษาญ่ีปุ่น จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย จะเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโทในปี พ.ศ.2542 โดยใน

1 ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร., สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , E-mail : [email protected]

8

ระดับปริญญาตรีมีรายวิชาบทละครญ่ีปุ่น1 ซึ่งสอนเก่ียวกับบทละครโน และเคียวเงน็ ผลงานตีพิมพ์ในยุคนี้จากัดอยู่ที่ผเู้ ขียนคนเดียวและมีเฉพาะ ผลงานภาษาไทย “สายนทีแหง่ การศกึ ษาวิจัยบทละครโนในประเทศไทย” กาลงั เร่มิ ไหลจากธารน้าเล็กๆใตน้ ้าตก มีผลงานตพี ิมพต์ ามลาดับปดี งั น้ี 2

เสาวลักษณ์3 สุริยะวงศ์ไพศาล. “แนะนาละครโน่" 4 เอกสารวิชาการ ไทย-ญ่ีปุ่นศึกษา ปีท่ี 2 เล่มที่ 1 มีนาคม-เมษายน 2523, 139-158 และ ตะวัน (พฤษภาคม-กรกฎาคม 2528): 53-71.

เสาวลักษณ์ สุริยะวงศ์ไพศาล. “โน ละครอมตะของญ่ีปุ่น" คนญ่ีปุ่น, 175-190. ประเสริฐ จิตติวฒั นพงศ์ บรรณาธิการ. กรงุ เทพมหานคร : สารมวลชน, 2524

เสาวลักษณ์ สุริยะวงศ์ไพศาล. “เซอามิกับการฝึกอบรมละครโนในวัย ต่างๆ" เอกสารวิชาการ ไทย-ญี่ปุ่นศึกษา ปีท่ี 4 เล่มที่ 2 สิงหาคม 2525:30-40

เสาวลักษณ์ สุริยะวงศ์ไพศาล. “โนห์ (Noh) ละครโบราณของญี่ปุ่น Noh-the Old Drama of New Japan” สูจิบัตรการแสดงของ คณะนาฏศิลป์โนห์, 26-28 มกราคม 2527

เสาวลักษณ์ สุริยะวงศ์ไพศาล.(2533) ฟูฌิกะเด็น ทฤษฎีการละครญี่ปุ่น ของเสะอะมิ. สานกั พมิ พบ์ ารุงสาส์น.

2 ในบทความนีผ้ ู้เขียนเรียงตามลาดบั ปเี พอื่ ใหเ้ ข้ากับภาพพจนข์ องสายนที 3 กอ่ นมกราคม 2555ผู้เขยี นใช้ชื่อเสาวลกั ษณ์ 4 ก่อนการเผยแพร่ระบบถอดอักษรภาษาญี่ปุ่นของคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ในปี 2530 ผเู้ ขียนใชค้ าว่า โน่ หรอื โนห์หรอื โน

9

2 “ยุคไฟแรง” ยุคที่สองคือหลังเปิดหลักสูตรระดับมหาบัณฑิตในปี พ.ศ.2542 (ซ่ึงมีท้ังช่วงท่ีชื่อหลักสูตรว่า “สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีญ่ีปุ่น” และ “สาขาวิชาภาษาญป่ี ุ่น”) ผู้เขยี นขอตัง้ ช่ือยุคน้ีว่า “ยคุ ไฟแรง” เน่ืองจากมี ทั้งวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต งานท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ที่เป็น ส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ และงานในลักษณะอื่นท้ังโดยผู้เขียนเองและ บัณฑิต อีกท้ังมีผลงานภาษาญี่ปุ่นและอังกฤษด้วย “สายนทีแห่งการ ศกึ ษาวิจยั บทละครโนในประเทศไทย” ที่เร่ิมไหลจากธารน้าเลก็ ๆใต้น้าตก ใน “ยุคต้ังไข่” ได้กลายเป็นแม่น้าสายใหญ่ท่ีไหลผ่านหลายพื้นท่ีของ ประเทศ 2.1 วทิ ยานิพนธ์ระดบั มหาบณั ฑติ มี 9 ฉบบั ตามลาดบั ปี ดงั นี้

สุนิศา ธรรมาวิวัฒน์ (2544). การอ้างอิงวรรณคดีในบทละครโนที่มีท่ีมา จากเร่ืองอเิ ซะ โมะโนะงะตะริ.

วสันต์ เตรย์ าซิงห์(2545) ปัจจัยท่มี ีผลตอ่ อารมณ์สะเทือนใจในบทละครโน เรือ่ ง เซ็ทตะอิ ฟุจโิ ตะ และเท็งโกะ .

วินัย จามรสุริยา. (2545). บทกวี นะนิวะสุ จาก โคะกิงวะกะฌู ในบท ละครโน.

ก ณ ภั ท ร รื่ น ภิ ร ม ย์ . (2550). ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ตั ว ล ะ ค ร ห ญิ ง “โทะโมะเอะโกะเสน็ ” ในนิยายสงครามและบทละครญี่ปุ่น

10

ปฏิยุทธ์ ธันวานนท์ (2555). การแสดงอารมณ์ของตัวละครและทัศนคติ ของผู้ประพันธ์ในบทละครโนเรื่อง คินุตะ อะยะ โนะ ท์ซุสุมิ และ โคะอิ โนะ โอะโมะนิ.กา

วนัสนันท์ สุกทน (2555). กลวธิ ีการสร้างบทละครโนเรือ่ ง โมะโตะเมะสกุ ะ อเุ นะเมะ และ มิท์ซยุ ะมะ.

ฉัตรพงศ์ เศรษฐสมภพ. (2558). ความสัมพันธ์ของพ่ีน้องชนชั้นนักรบใน บทละครโน.

มนัญชยา บุญศรี. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบบทละครโนเร่ืองโคอุกับ มิชโิ มะริ.

สุรยิ า ตนั ติวงษ์. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบตวั ละครเอกในบทละครโน เร่ืองคิกจุ โิ ดและมะกรุ ะจโิ ดกับตวั บทต้นแบบจากเรอื่ งทะอิเฮะอิกิ.

2.2 วทิ ยานิพนธ์ระดบั ดุษฎีบณั ฑิต มี 1 ฉบับในสาขาวิชาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบซึ่งเป็น หลักสูตรร่วมระหว่างภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบและภาควิชาต่างๆ รวมทั้งภาควิชาภาษาตะวันออกได้แก่ วินัย จามรสุริยา. (2554). หญิง ร้างรักในบทละครโนของเสะอะมิ. โดยผู้เขียนวิทยานิพนธ์ฉบับน้ีได้เขียน วิทยานิพนธร์ ะดบั มหาบณั ฑิตด้านบทละครโนด้วย

2.3 งานตีพิมพเ์ ผยแพรท่ ีเ่ ปน็ ส่วนหนง่ึ ของวทิ ยานิพนธ์ ได้แก่ ภาษาไทย วนัสนันทน์ สุกทน. (2555).กลวิธีการสร้างบทละครโนเร่ือง โมะโตะเมะสุ

กะ, อุเนะเมะ และมิท์ซุยะมะ. ในเครือข่ายญ่ีปุ่นศึกษาแห่งประเทศ ไทย, ประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย

11

ครั้งท่ี 5 (น.257-273). 20-21 ตุลาคม 2554.มหาวิทยาลัยสงขลา นครนิ ทร์ วิทยาเขตภูเกต็ : ชานเมืองการพมิ พ.์ ปฏิยุทธ์ ธันวานนท์. (2556). “ทัศนคติของผู้ประพันธ์ต่อตัวละครหญิงใน บทละครโน”. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติญ่ีปุ่นศึกษา ในประเทศไทยครงั้ ที่ 6 (ภาษาและวรรณคด)ี ,69-81. วินัย จามรสุริยา. (กันยายน 2556). “หญิงร้างรักในบทละครโนของ เสะอะมิ” วารสารวรรณคดเี ปรยี บเทียบ. 2(2): 1-22. ฉัตรพงศ์ เศรษฐสมภพ. (มีนาคม 2558). “ความสัมพันธข์ องพ่ีน้องชนช้ัน นั ก ร บยุ คก ลาง ใน บท ละคร โน ”.เอ ก สาร หลั ง ก ารป ระ ชุ ม วิ ชาก าร ระ ดับ ชาติญี่ ปุ่ น ศึ ก ษ าใน ป ระ เท ศ ไท ย ครั้งท่ี 8 (ภ าษ าและ วรรณคดี).137-155. สุริยา ตันติวงษ์.(มีนาคม 2558). “หน่ึงตานานสองอรรถรสในบทละครโน เร่ื อ ง คิ กุ จิ โ ด แ ล ะ ม ะ กุ ร ะ จิ โด ”เอ ก ส า ร ห ลั ง ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ระดับชาติญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย คร้ังท่ี8 (ภาษาและวรรณคดี). 156-171. สุนศิ า ธรรมาวิวัฒน.์ (2560).ความทุกขแ์ ละการแก้ปัญหาความทุกข์ของตัว ละครนาย-บ่าวในบทละครโนเร่ือง โคยะโมะโนะงุรุอิ,” วารสาร เครอื ขา่ ยญ่ปี นุ่ ศึกษา ฉบับพิเศษ : 75-87 สนุ ศิ า ธรรมาวิวฒั น์.(2561). “ความขัดแยง้ ระหว่างสามีภรรยาในบทละคร โนเร่อื งอะฌิกะริ,” วารสารเครอื ข่ายญี่ปุ่นศกึ ษา ฉบับพิเศษ :32-43 สนุ ิศา ธรรมาวิวัฒน์.(2561). “อปุ ลักษณ์ความเป็นอนิจจังในบทละครโน”. วารสารเครือข่ายญ่ปี ่นุ ศึกษา ฉบบั พเิ ศษ 8-3:96-106

12

ภาษาอังกฤษ Winai Jamornsuriya. (2010/2553)5. “Gender and Social Status

in Zeami’s Noh Plays.” Asian Review. 2010(23): 44-52. Wanatsanan Sookthon. (2011/2554). A Study of the

Techniques Used in Creating the Noh Plays-Motomezuka, Uneme and Mitsuyama. Japanese Studies Journal. 2011(no.4), 96-115. Wanatsanan Sookthon. (2011/2554). A Study of the Techniques Employed in the Description of Suicide by Drowning of Female Characters in Noh Plays- Motomezuka and its Change-. Japanese Studies Journal. 2011(no.3), 1- 18.

ภาษาญป่ี ุน่

ウィナイ ジャーモンスリヤー. (2011/2554, October).

“世阿弥作の能における「待つ女」―〈砧〉〈井筒〉〈松

風〉.” 日本研究論集. (4): 19-30.

マナンチャヤー∙ブンシー.「謡曲『項羽』と『道盛』における

夫婦の死」『日本研究論集 12』(2015/2558 年) :1-16.

2.4 งานลกั ษณะอน่ื นอกเหนอื จากวทิ ยานพิ นธ์ยังมงี านวิจัยบทละครโนโดยบัณฑติ เหล่านีแ้ ละผู้เขียนตพี มิ พ์ตามลาดับปี ดังน้ี

5 ผเู้ ขยี นเพ่มิ ปี พ.ศ.เพอื่ ให้เห็นภาพการจดั ลาดบั ตามปีทเี่ ผยแพร่ได้งา่ ยยง่ิ ข้ึน

13

ภาษาไทย สิริมนพร สุริยะวงศ์ไพศาล, วนิ ัย จามรสรุ ิยา. “คากล่าวเกี่ยวกับพ่อแม่ลูก

ใน บ ท ล ะ ค ร โน ” Nittai Gengo Bunka Kenkyuu. Volume 1, 2012/2555, Tokyo: Nittai Gengo Bunka Kenkyuujo, 212-231. สิริมนพร สุรยิ ะวงศไ์ พศาล.(2555) การอา้ งอิงคันฌิบทท่ี 663 จาก “วะกัน โรเอะอิฌู” ในบทละครโน. คัมบนุ ภาษาญี่ปุ่นสไตลจ์ ีน ภาษาจนี สไตล์ ญปี่ ่นุ . สานกั พมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,356-372 สิรมิ นพร สุริยะวงศไ์ พศาล, วินัย จามรสรุ ิยา. (2556) คากลา่ วเก่ียวกับพ่อ แมล่ ูกในบทละครโน. รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์. สริ ิมนพร สรุ ยิ ะวงศไ์ พศาล, วนิ ยั จามรสรุ ิยา. (2557) ภาพลกั ษณพ์ ่อแมล่ ูก ในบทละครโนต่างสมัย. รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์. วนัสนันทน์ สุกทน. (2559). “ ภาพสะท้อนสตรีตา่ งสมัยในวรรณกรรมบท ละครโน เรื่อง ‘อิสุท์ซุ ’”. วารสารวิชาก ารน วัตกรรมส่ือสาร สังคม, 4(2), 74 -82. วนิ ัย จามรสุริยา. (2559). ผู้ชายกับความรักในบทละครโนของเสะอะมิ. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. รายงานการวิจัย ฉบับสมบรู ณ์. วินัย จามรสุรยิ า. (2559). “ผู้ชายกบั ความรักในบทละครโนของเสะอะมิ.” วารสารญ่ีปุ่นศึกษา 33 (กรกฏาคม-ธันวาคม) :32-43 วนัสนันทน์ สกุ ทน.(2560). “นัยยะสาคัญของฉากวดั คโิ ยะมิสุ ในบทละคร โน เร่ือง ‘ทะมุระ’ ”. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, การประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 13 (The 13th International Conference on Humanities and Social

14

Sciences) (น. 2461-2476). ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ขอนแกน่ . สิริมนพร สุริยะวงศ์ไพศาล, วินัย จามรสรุ ิยา. (2560) พ่อแม่ลกู ญ่ีปนุ่ ชาติ เดียว?,คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วินัย จามรสุริยา. (2561). พระอาจารย์กับมะท์ซุวะกะในบทละครโน เร่ืองทะนิโก. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. รายงานการวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์. วินัย จามรสุริยา. (ธันวาคม 2561). “เหตุแห่งปาฏิหาริย์การฟ้ืนชีวิตของ มะท์ซุวะกะและภาพของพระอาจารย์ในบทละครโนเร่ืองทะนิโก.” วารสารเครอื ข่ายญีป่ ุ่นศึกษา ฉบบั พิเศษ 8(3) :107-115 วนัสนันทน์ สุกทน. (2562). “กลวิธีการนาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับพระ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวรในบทละครโนเรื่อง ‘ยุยะ’ ". ในมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี, ประชมุ วิชาการระดบั ชาติ มอบ.วิจยั ครงั้ ท่ี 13 (น.257- 266). อบุ ลราชธานี: มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี วนัสนันทน์ สุกทน.(2563). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การศึกษา ความสาคญั ของฉากในบทละครโน กรณีศึกษาวดั คโิ ยะมสิ ุ ในบทละคร โนเรื่อง “ทะมุระ”และ “ยุยะ” ประจาปีงบประมาณ 2561. อบุ ลราชธานี : มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี. สิริมนพร สุริยะวงศ์ไพศาล, วินัย จามรสุริยา. (2563) ภาพลักษณ์พ่อแม่ ลกู ญี่ป่นุ , สานักพมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

15

ภาษาองั กฤษ Saowalak Suriyawongpaisal. "The Parent-Child Image in Noh

Plays" in Globalization, Localization, and Japanese Studies in the Asia-Pacific Region. Vol.3, International Symposium in Hong Kong 2005. Kyoto: International Research Center for Japanese Studies, 2010/2553, 231-247.

ภาษาญปี่ ุ่น Saowalak Suriyawongpaisal. 謡曲「飛鳥川」の作品研究, 第 26

回国際日本文学研究集会会議録、2002/2546, 163-194. サオワラック・スリヤウオンパイサーン( 2005/2548)「謡曲に見

る娘の姿」『立教大学日本学研究所年報』4 号 2005 年 3 月,116-137.

ท่ีน่าสนใจมากคือผลงานโดยผู้วิจยั ชาวต่างชาติตีพิมพ์ในประเทศ ไทยในเอกสารหลังการประชุมวิชาการนานาชาติที่จัดโดยสาขาวิชา ภาษาญี่ปุ่น จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ซ่ึงมีเพยี งช้นิ เดียว ได้แก่

伊海孝充 孝養譚としての能「調伏曾我」-能における「親子 恩愛」の問題。タイ国日本研究国際シンポジウム

2014/2557, 21-34.

3 “ยคุ แสงสู่อนาคต” ยุคท่ี 3 “แสงสู่อนาคต” สาหรับผู้เขียนหมายถึงยุคที่กาลังจะ เร่ิมต้นขึ้นหลังจากผู้เขยี นตีพมิ พ์บทความชน้ิ นี้แล้ว ผู้เขียนไม่สามารถหย่ังรู้ อนาคตได้ แต่จากข้อมูลท่ีมีอยู่ขณะน้ี (มีนาคม2564) และจากการ สัมภาษณ์ผู้ท่ีน่าจะเกี่ยวข้อง ผู้เขียนมีความเห็นว่า “สายนทีแห่งการ

16

ศึ ก ษ าวิ จั ย บ ท ล ะ ค ร โน ใน ป ร ะ เท ศ ไท ย ”อ าจ จ ะ ก าลั ง ไห ล ล ง สู่ ท ะ เล มหาสมุทรกินพ้ืนท่ีกว้างใหญ่ไพศาล โดยมีผู้ที่น่าจะเป็นผู้ช่วยส่อง“แสงสู่ อ น า ค ต ” 3 ค น ไ ด้ แ ก่ ว นั ส นั น ท น์ สุ ก ท น ม ห า วิ ท ย า ลั ย อุบลราชธานี วินยั จามรสุริยา มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา และ สุ นิศา ธรรมาวิวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลพบุรี โดยมีผลงานวิจัย หนังสือ และวิทยานิพนธ์ท่คี าดว่าจะแล้วเสร็จในเวลาอนั ใกลน้ ีไ้ ด้แก่

วนัสนันทน์ สุกทน. (อยู่ในข้ันดาเนินการ) การศึกษามุมมองคติความเชื่อ เร่ือ ง เท พ เจ้ าแ ล ะ ศ าส น า ข อ ง ค น ญ่ี ปุ่ น ผ่ า น ว ร ร ณ ก ร ร ม บ ท ล ะ ค ร โน ประจาปีงบประมาณ 2564. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัย อบุ ลราชธาน.ี

วินยั จามรสุรยิ า. (คาดวา่ จะเสร็จ2564). ชะตากรรมของผู้หญิงและเด็ก ใน บทละครโนแนวความรักและปาฏิหาริย์. นครราชสีมา : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา. รายงานการวิจัยฉบับสมบรู ณ.์

วินัย จามรสุริยา. (คาดว่าจะเสร็จ 2564). ความรักความผูกพันในบท ละครโน. หนังสอื .

สุนิศา ธรรมาวิวัฒน์ (คาดว่าจะเสร็จ 2564). ความขัดแย้งและการ แก้ปัญหาของตัวละครในบทละครโนประเภทเก็นสะอิโน (อักษรศา สตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวฒั นธรรมและวรรณคดญี ป่ี นุ่ )6

6 มีผู้เขียนวทิ ยานิพนธ์ด้านละครโนท้ังในระดบั มหาบัณฑิตและดุษฎบี ัณฑติ สองคนคือ วินัย จามรสุริยาและสุนิศา ธรรมาวิวัฒน์ ส่วนผู้เขียนวิทยานิพนธ์ด้านละครโนใน ระดับมหาบัณฑิตที่เหลืออีก 7 คน มี 2 คนที่เขยี นวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎบี ัณฑติ ด้าน อ่ืน(โดยมีคนหน่ึงท่ีบทละครโนเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเน้ือหาในวิทยานิพนธ์ระดับ

17

นอกจากงานวิจัยที่คาดว่าน่าจะตีพิมพ์เพิ่มเติมอีกในอนาคต ผู้เขียนมีความหวังท่ีจะเห็น“สายนทีแห่งการศึกษาวิจัยบทละครโนใน ประเทศไทย” นอกจากจะไหลลงสู่ทะเลมหาสมุทรแล้ว แม่น้าลาธารแห่ง การศึกษาวจิ ยั บทละครโนท่ีมอี ยู่ก็น่าจะค่อย ๆ ขยายสาขาเพม่ิ มากข้ึนจาก โครงการเปิดสอนเก่ียวกับบทละครโนในระดับปริญญาตรี แต่ความหวังที่ จะเหน็ การเปดิ สอนในระดับปริญญาโทสักวันหนึ่งข้างหน้ายังริบหร่ี ผเู้ ขยี น ขอยกคาใหส้ ัมภาษณ์ของวินยั จามรสรุ ยิ า และสุนศิ า ธรรมาววิ ัฒน์มาแบบ คาต่อคาดังนี้

วินัย:“เรอ่ื งการเปิดสอนป.โท สาหรบั ท่ีม.ราชภัฏนครราชสมี า เป็นเรื่องท่ี เคยมีการคุยกันระหว่างสาขาฯ และคณบดีมานานหลายปีแล้ว แต่ ณ ปัจจุบันมีแนวโน้มว่าจะเป็นไปได้ยากเพราะจานวนอาจารย์ประจา หลักสูตรปัจจุบันมีจานวนเพียงพอเฉพาะแค่หลักสูตรระดับป.ตรี และ อาจารยท์ ีม่ คี ุณวุฒิป.เอกมเี พยี ง 2 คนเท่านัน้ ครับ ปัจจุบัน สาขาวิชาภาษาญ่ีปุ่น ม.ราชภัฏนครราชสีมา อยู่ระหว่างร่าง หลักสูตรใหม่ซ่ึงจะเร่ิมใช้ในปีการศึกษา 2565 เป็นหลักสูตรสาหรับ นักศึกษาระดับปริญญาตรี และมีการเพ่ิมรายวิชาใหม่ รวมท้ังวิชา ศิลปะการแสดงโบราณของญีป่ ุน่ คาอธบิ ายรายวิชาเป็นดังต่อไปนค้ี รบั ช่ือวิชา : ศิลปะการแสดงโบราณ ของญ่ี ปุ่น (Japanese Classical Performing Arts)

มหาบัณฑิตอยู่แล้ว) ส่วนอีก4คนยงั ไม่ได้ศึกษาต่อและ 1 คนศึกษาระดับปริญญาโท ในสาขาอ่ืน

18

คาอธิบายรายวิชา : รูปแบบของศิลปะการแสดงโบราณของญ่ีปุ่น 4 ประเภท ได้แก่ ละครโน ละครเคียวเง็น ละครโจรุริ และละครคะบุกิ ตลอดจนประวตั คิ วามเปน็ มา และตวั อยา่ งบทละครแตล่ ะประเภท สาเหตุท่ีเพิ่มรายวิชานี้ : หลักสูตรปัจจุบันมีรายวิชาวรรณกรรมญ่ีปุ่นสมัย โบราณซ่ึงสอนวรรณกรรมต้ังแต่ยุคเก่าถึงยุคกลาง นักศึกษาที่ลงทะเบียน เรียนวิชาน้ีส่วนมากเสนอให้อธิบายศิลปะการแสดงโบราณของญ่ีปุ่น เช่น ละครโน ละครคะบุกิให้ละเอียดยิ่งข้ึนเพราะมีความน่าสนใจและมีคุณค่า ตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ จากการศึกษาขอ้ คิดที่ปรากฏในบทละคร” สนุ ิศา: “ที่มหาวิทยาลยั ราชภัฏลพบุรี ยงั ไม่มโี ครงการเปดิ หลกั สูตรป.โทค่ะ มีข้อจากัดเรื่องอาจารย์ประจาหลักสูตรท่ีมีพอดี 5 คนและกาลังจะมีอ. เกษียณในปี 2566 ค่ะ ท่ีผ่านมาหลักสูตรเคยต้องงดรับนศ.ในปีท่ีสุนิศาลา มาเรียนในปแี รกเพราะอ.ไม่ครบไม่ผ่านการประเมินตามเกณฑส์ กอ. คิดว่า คงเปดิ ได้แค่ป.ตรเี ทา่ นนั้ คะ่ อาจารย์”

19

บทความรบั เชญิ

โพธนิ ทธี ารวรรณมาลา: ลานาความคิด พินจิ ผา่ นสายนา้

ทัศนีย์ สนิ สกุล1 อรุณวรรณ คงมผี ล2

บทนา

เป็นที่ทราบกันดีว่า น้าคือองค์ประกอบสาคัญในการสร้างสรรค์ และดารงอยู่ของโลกและสิ่งมีชีวิตทั้งปวง ความคิดเรื่องปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวกับน้าและความสาคัญของน้าปรากฏในวรรณคดีของชนทุกชาติทุก ภาษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วรรณคดีอินเดียโบราณที่บันทึกด้วยภาษา สันสกฤต ไม่ว่าจะเป็นวรรณคดีในหมวดศาสนา ปรัชญา ตารา รวมถึงกวี นิพนธ์ สาหรบั บทความน้ผี เู้ ขยี นให้ชอ่ื ว่า “โพธินทีธารวรรณมาลา” คาน้ี เป็นสมาสระหว่างคาห้าคา คือ โพธิ (bodhi) – ความรู้ที่ถ่องแท้ สติปัญญา, นที (nadī) – แม่น้า, ธารา (dhārā) – กระแสน้า สายน้า วรฺณ (varṇa) – ถ้อยคา และ มาลา (mālā) – พวงดอกไม้ ระเบียบ เมื่อรวมความแล้วได้ความหมายตามรูปศัพท์คือ ระเบียบแห่งถ้อยคา ว่าด้วยนทีธารแห่งปัญญาความคิด เป็นการแนะนาให้ผู้อ่านทราบว่า บทความนี้จะประมวลกวีนิพนธ์สันสกฤตว่าด้วยเรื่องของสายน้าในแง่มุม

1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์, สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสกฤต (เอเชียใต้) ภาควิชาภาษา ตะวนั ออก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2 อาจารย์ ดร., สาขาวิชาภาษาเอเชียใต้ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะ อกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, e-mail : [email protected]

20

ตา่ ง ๆ ซ่ึงใหท้ ง้ั ความรแู้ ละขอ้ คิดเกยี่ วกบั โลกและชีวติ เพ่ือเปน็ ตวั แทนของ สายนทีแห่งวิชาการด้านภารตวิทยา ซึ่งอยูค่ ู่กบั ภาควชิ าภาษาตะวันออกมา ตัง้ แต่ยุคแรกก่อตงั้ ภาควิชา

บทกวีที่เสนอในบทความน้ีได้คัดสรรจากงานนพิ นธ์สันสกฤตสอง หมวด คือ หมวดตาราวิชาการ (ศาสตร์) เช่น กฎหมาย การแพทย์ และ หมวดคาสอน (นตี )ิ เชน่ งานของภรรตฤหริ หนงั สือชมุ นมุ สุภาษิต จานวน รวมทั้งสิ้น 12 บท ทั้งหมดนี้ได้รับการพิจารณาแล้วว่ามีเนื้อหาที่เป็น ประโยชน์ และมีประเด็นความรูท้ างภารตวทิ ยาหลายประเด็นที่นา่ ศึกษา ผู้เขียนจึงได้นามาร้อยเรียงเป็นลานาความคิดที่สืบเนื่องกันไปตั้งแต่ต้น จนจบ สามารถจาแนกสารัตถะได้สี่ประการ ประกอบด้วย นิยามและ ความสาคัญของนา้ , คติธรรมจากน้า, ธรรมชาติสายนา้ -ธรรมชาติชวี ิต และ สายน้าคือพลังแห่งบทกวี นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้เสริมสาระความรู้ทาง ภาษาและวรรณคดีสันสกฤตตามสมควร เพื่อให้ผู้อ่านเข้าถึงสาระของกวี นพิ นธ์ได้ดียง่ิ ขึ้น

• นิยามและความสาคญั ของนา้

āpo nārā iti proktā āpo vāi narasūnavaḥ |

tā yadasyāyanaṃ pūrvaṃ tena nārāyaṇaḥ smṛtaḥ || Mn. 1.10 ||

นา้ เป็นเชอ้ื สายของจติ วิญญาณ (นระ)

21

ดว้ ยเหตนุ ้ี น้าจึงมชี ่อื ว่า “นารา” น้าเปน็ ที่เกิดที่อาศัยแต่ครงั้ บรรพกาลของนระ ดว้ ยเหตุนี้ นระจึงมชี ือ่ ว่า “นารายณะ”

คาว่า น้า มีคาเรียกในภาษาสันสกฤตอยู่มากมาย คาสาคัญที่ ปรากฏในบทประพันธ์นี้เป็นคาแรกคือ อาปสฺ (āpas) ตามรปู ศัพท์หมายถึง สิ่งที่เอิบอาบและแผ่ไปได้ท่ัว มีข้อสังเกตว่าคานี้มีรูปคาเป็นพหูพจน์ สัมพันธ์กับคาว่า นาราสฺ (nārās) ซง่ึ มีรปู ศพั ทเ์ ดิมคือ นารา (nārā) อัน หมายถึง เชื้อสายของนระ3 ข้อสังเกตอีกประการหนึ่งคือ คาว่า นร (nara) ในบาทที่สอง หมายถึง จิตวิญญาณอันสูงสุดและเป็นอมตะ แผ่ซ่านไปทั่วทั้งจักรวาล มีชื่อเรียกอื่นคือ ปรมาตมัน (paramātman) ผู้ให้กาเนิดสิ่งมีชีวิตทั้งปวง แต่ในบาทที่สาม นร ซึ่งแทนด้วยสรรพนาม ษัษฐีวิภักติ เอกพจน์ อสยฺ (asya) หมายถงึ ทวยเทพ ฤษี หรอื หม่มู วลมนษุ ย์ ในบริบทท่วั ไป นร มกั ใชใ้ นความหมายว่า คน หรอื มนุษย์ ท้งั น้ีเพราะตาม คตใิ นคมั ภีร์โบราณตั้งแต่สมยั ฤคเวทลงมาจนถึงสมัยธรรมศาสตร์นั้นถือกัน ว่า นระ คอื มนุษยช์ ายคนแรกของโลก

แนวคิดหลักของบทกวีนี้คือการสะท้อนคติทางจักรวาลวิทยา ว่าด้วยการสร้างโลก โดยก่อนหน้านี้มีข้อความระบุว่า จักรวาลเกิดจาก ความมืดและเวิ้งว้างว่างเปล่า ต่อมา พรหมัน (brahman) -จิตวิญญาณ ของจักรวาลซึ่งไม่มีรูปร่าง ได้ถือกาเนิดขึ้น พรหมันนี้เองเป็นผู้สร้างน้า

3 รูปศัพท์ nārās เป็นปรถมาวิภักติ พหูพจน์ สตรีลิงค์ เม่ือเข้าสนธิกับคาหลังแล้ว ได้รูปเป็น nārā - ผู้เขียน

22

ขนึ้ มาเพ่อื เตรยี มพรอ้ มสาหรับการสร้างสิ่งมีชีวติ อนื่ ๆ ต่อไป ความสาคัญ ของน้าปรากฏในบาทที่สาม ซึ่งชี้ให้เห็นว่า น้าเป็นปัจจัยพื้นฐานแรกสุดท่ี เกิดขนึ้ มาเม่อื แรกสร้างจักรวาล ด้วยเหตทุ ่มี ีน้าเกิดขนึ้ ทวยเทพ มนษุ ย์ และ สิ่งมีชีวิตมากมายจึงสามารถถือกาเนิดขึ้นมาได้ ศัพท์คาว่า นารายณ (nārāyaṇa) – ผ้มู ีเส้นทางโคจรในน้า, ผู้เขา้ ไปสู่นา้ , ผู้มที เี่ กิดท่อี าศัยคอื นา้ จงึ กลายเป็นชอ่ื เรียกสงิ่ มีชีวติ ทงั้ หลายในจกั รวาล และในบางบริบทยงั เป็น ฉายาของเทพเจา้ ฮินดูองคส์ าคัญ โดยเฉพาะอย่างย่งิ พระพรหม พระวิษณุ และพระกฤษณะ

ที่กล่าวมาข้างต้นนี้คือทฤษฎีกาเนิดของน้าตามคติทางจักรวาล วิทยา แต่หากจะมองในเชิงวิทยาศาสตร์ก็สามารถอธิบายไดด้ ว้ ยนยิ ามของ “ธาตุน้า” ตามตาราการแพทย์แผนอินเดีย (อายุรเวท) ดังมีข้อความ ปรากฏในตาราอษั ฏางคหฤทยะ ความตอนหนึ่งว่า

dravaśītagurusnigdhamandasāndrarasolbaṇam || āpyaṃ ... |

AṣṭH. IX.6cd-7ab

“ธาตุที่มีคุณสมบัติเป็นของไหล เย็น มีน้าหนัก ชุ่มชื้น อ่อนโยน มีความหนาแนน่ และมรี สชาติ คือ น้า”

• คติธรรมจากนา้

ในทางอายุรเวท น้าคือธาตุชนิดหน่ึงซึ่งมีคุณประโยชน์ สามารถ ใช้ดื่มกิน ใช้บาบัดอาการเจ็บป่วย เป็นองค์ประกอบสาคัญของร่างกาย และในขณะเดียวกันก็เป็นแหล่งที่มาของโรคภัยไข้เจ็บ อย่างไรก็ตาม

23

ใช่ว่าน้าทกุ ประเภทในโลกนี้สามารถใช้ดืม่ กินได้ สุภาษิตบทหนึ่งกล่าวถึง การจาแนกน้าในโลกเป็นสองประเภท คือ น้าในมหาสมุทร (jalarāśi) และ น้าในแอ่งน้า หรือ แหล่งน้าใต้ดนิ (kūpa) ในการนี้ น้ามหาสมุทร หรือน้าเค็ม ถือว่ามีปริมาณมากและไม่มีประโยชน์ต่อร่างกายมนุษย์ ตรงกันข้าม น้าที่อยู่ใต้ดิน หรือน้าจืด แม้จะมีปริมาณน้อยกว่า แต่มี ประโยชน์ต่อร่างกายมนษุ ยม์ ากกว่า สามารถดืม่ กนิ ได้ ดงั คากล่าวทว่ี า่

asti jalaṃ jalarāśāu kṣāraṃ tat kiṃ vidhīyate tena |

laghurapi varaṃ sa kūpo yatnākaṇṭhaṃ janaḥ pibati || Any. 95.24 ||

ประโยชนอ์ ะไรเล่าจะพงึ มี กบั น้าเค็มในมหาสมทุ ร แอ่งน้าน้นั แม้จะเลก็ ก็ดกี ว่า เพราะคนย่อมดม่ื นา้ น้ันสลู่ าคอท่ีกระหายได้

คาประพันธข์ า้ งตน้ สะทอ้ นโลกทัศนข์ องกวีท่ีเข้าใจธรรมชาติอย่าง แท้จริง และแฝงไว้ด้วยข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์ อันที่จริงในบรรดา ปริมาตรน้าทั้งหมดที่มีอยู่ในโลกนั้น ส่วนที่เป็นน้าเค็มมีมากถึงร้อยละ 94 ในขณะท่ีส่วนที่เป็นนา้ จืดมีเพียงร้อยละ 6 (เสน่ห์ โรจนดิษฐ์, 2539: 126) Walter Slaje นักวิชาการด้านภารตวิทยา ตั้งข้อสังเกตว่า แหล่งน้าแรกสุด เมื่อครั้งสร้างโลกนั้น แท้จริงแล้วอาจเป็นน้าเค็มหรือน้ามีรสค่อนข้างเค็ม

24

ส่วนน้าที่ดื่มได้ เช่น น้าในแม่น้า มีธรรมชาติที่ปราศจากคุณสมบัติของ ความเค็ม ในการนี้ Slaje ได้พยายามอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง แหล่งน้าในโลก (หมายถึง ทะเลและแม่น้า) กบั ต้นกาเนดิ ความเค็มของน้า โดยอ้างถึงบทสวดบางตอนในคัมภีร์อถรรพเวท ซึ่งเขามองว่าเป็นบันทึก ความเชื่อในยุคดั้งเดิมของมนุษย์อันปราศจากการใคร่ครวญอย่างลึกซ้ึง จากการประมวลมติของนักวิชาการที่ตีความตัวบทคัมภีร์ ทาให้เขาได้ ข้อสรปุ ว่า ทะเลครัง้ บรรพกาลซงึ่ มีรสเค็มเป็นทนุ เดมิ นนั้ ได้ผา่ นกระบวนการ ตกผลึกของเกลือที่เจือปนอยู่ในน้า มวลเกลือที่ตกผลึกและทับถมกัน เป็นปึกแผ่นได้กลายเป็นแผ่นดิน ต่อมาของเหลวส่วนที่เหลือจาก การตกผลึก และไม่มีความเค็มหลงเหลืออยู่นั้น ได้กลายเป็นสายน้าท่ี หลัง่ ไหลไปบนผวิ โลก (AV. XII.I.8a, XII.I.9) (Slaje, 2001: 38-39)

มุมมองที่เห็นว่าน้าในโลกมีคุณลักษณะเป็นคู่ตรงข้ามระหว่าง “นา้ เค็ม” กับ “น้าจดื ” และ “ความไร้ประโยชน์” กบั “ความมีประโยชน”์ น้ัน ทาใหก้ วนี ามาเช่ือมโยงกับการจาแนกคุณลักษณะท่ีเป็นคู่ตรงข้ามของ มนษุ ย์ด้วย นั่นคือ “คนชัว่ ” กับ “คนดี” ดงั บทกวีทวี่ ่า

khalo na sādhutāṃ yāti sadbhiḥ saṃbodhito ’pi san |

saritpūraprapūrṇo ’pi kṣāro na madhurāyate || SR. 54.29 ||

คนชว่ั แมจ้ ะไดร้ บั การอบรมสั่งสอนจากคนดี

25

กจ็ ะไม่กลายเปน็ คนดไี ปได้ เกลอื ทอ่ี ยใู่ นแม่น้าทีน่ ้าเต็มเป่ยี ม ก็จะไม่มีรสหวานไดเ้ ลย

คตอิ นิ เดียถือว่าน้ามีพลงั ในการชาระลา้ งสิ่งต่าง ๆ ใหบ้ ริสุทธิ์ ใน บทกวีนี้ เกลือท่ีอยู่ในแม่นา้ ที่มีน้าเตม็ เปีย่ มเปรียบได้กับคนชั่วที่เข้าไปรับ การชาระ ขัดเกลา นิสัยของตนให้บริสุทธิ์ น้าบริสุทธิ์แม้มีเกลือเจือปน เพียงเล็กนอ้ ยกน็ ับว่าเป็นน้าเค็มแล้ว ฉะนั้น แม้จะมีน้าจืดเตมิ เข้ามาเพอื่ ชะล้างรสเค็มมากมายเพียงใด ก็ไม่อาจเปลี่ยนความเค็มอันเป็นรสตาม ธรรมชาติของเกลือให้กลับกลายเปน็ มรี สหวานได้เลย ปราชญอ์ ินเดียจึงยก ธรรมชาติข้อนี้มาเป็นอุทาหรณ์สอนใจว่า คนดีแม้จะอบรมสั่งสอนคนชว่ั ด้วยความเพยี รพยายามมากมายสักเพียงไร กม็ อิ าจถอดถอนสันดานช่ัวที่ อยู่ในตัวคนช่วั ได้เชน่ กนั

พลงั ของความดีอนั มากมายมอิ าจเอาชนะความชวั่ อยา่ งไรก็ตาม เป็นที่น่าคิดว่าพลังของความชั่วแม้เพียงน้อยก็สามารถทาร้ายคนดีให้ สูญเสยี คณุ สมบัตไิ ด้อย่างง่ายดาย ดังบทกวีตอ่ ไปนี้

asajjanena saṃparkād anayaṃ yānti sādhavaḥ | madhuraṃ śītalaṃ toyaṃ

26

pāvakaṃ prāpya tapyate || SSSN. 178.3 ||4

เพราะการคบหาสมาคมกบั คนช่วั คนดจี ะกลายเปน็ คนไม่ดไี ด้ น้าเยน็ และมรี สหวาน จะกลายเป็นน้าร้อนเมื่อสัมผสั ไฟ

น้าและไฟถือเป็นธาตุที่มีความสาคัญในการขับเคลื่อนชีวิตของ สรรพสิ่งในจักรวาล อีกทั้งสามารถให้ทั้งคุณและโทษแก่สรรพสิ่งได้ โดยมากในวรรณคดีสันสกฤตจะถือว่า น้าและไฟเป็นสัญลักษณ์แห่งการ ชาระล้างและความบริสุทธิ์ แต่ในที่นี้บทกวีข้างต้นใช้ถ้อยคาอันสื่อถึง คณุ สมบัติคตู่ รงขา้ ม คือ คนดี (sādhu) กบั คนชัว่ (asajja) , ความเยน็ (śītala) กบั ความร้อน (pāvaka) เช่นเดยี วกบั บทกวีก่อนหน้าน้ี การเปรียบเทยี บเช่นน้ี นบั เป็นภาพพจน์ท่ชี ัดเจนทเี ดียว เพราะเป็นทีเ่ ข้าใจไดว้ า่ โดยธรรมชาติแล้ว นา้ เป็นธาตุเยน็ มคี ณุ สมบัติเชอื่ มประสาน ตรงกันขา้ มกับไฟซ่ึงเป็นธาตุร้อน มคี ณุ สมบัติทาลายล้าง ดว้ ยเหตนุ ้ี นา้ จึงเป็นสญั ลักษณ์แทนคนดี ส่วนไฟ เปน็ สญั ลกั ษณ์แทนคนชัว่ หากมองในทางวิทยาศาสตร์ ความร้อนย่อมทาให้ สสารเกิดการเปลี่ยนแปลงสถานะหรือสูญเสียคุณสมบัติบางประการ ปราชญ์อินเดียคงสังเกตเห็นธรรมชาติข้อนี้ จึงได้ยกมาเป็นอุปมาสอนใจวา่

4 ตน้ ฉบับตัวเขียนบางสานวนมีคาบางคาทีแ่ ตกต่างไปเลก็ น้อย ดังนี้: saṃparkād ใน บาทที่หนึ่งแทนด้วย saṃsargād, anayaṃ ในบาทที่สองแทนด้วย asataṃ และ tapyate ในบาทท่ีส่ีแทนด้วย nirguṇam - ผ้เู ขยี น

27

เมื่อคนดีคบคนชั่ว คนดีย่อมกลับกลายเป็นคนมีความประพฤติไม่ดี (anaya) เฉกเช่นน้าธรรมชาติซึ่งมีคุณสมบัติคือ รสหวานและเย็น เมื่อ สัมผัสความร้อนย่อมสูญเสียคุณสมบัติ (nirguṇa) หรือ ถูกแผดเผา (tapyate) ในทสี่ ุด

หลังจากที่ผู้อ่านได้ทราบคุณลักษณะโดยกาเนิดของธาตุน้าแล้ว กวีนิพนธ์ชุดต่อไปจะเป็นการนาเสนอความรู้และความคิดของปราชญ์ อินเดยี โบราณว่าดว้ ยธรรมชาติและวัฏจักรของนา้ ในโลก

• ธรรมชาตสิ ายนา้ -ธรรมชาตชิ วี ิต

uttuṅgaśāilaśikharāśrayena kecid uddāmavīcivalitāḥ sarito bhavanti |

anye punar jalakaṇās tṛṇaloṣṭapātād ambhomucām payasi na kṣayamāpnuvanti || VS. 837 ||

เพราะการคงคา้ งอยบู่ นยอดภูเขาสูง หยดนา้ ฝนบางหยดกจ็ ะกลายเปน็ สายนา้ ท่ีหมุนวนดว้ ยคลนื่ ใหญ่ สว่ นหยดนา้ อน่ื ๆ ทเ่ี กิดจากการตกลงสหู่ ญา้ และผืนดิน ยอ่ มไม่สูญสลายไป ในเพราะนา้ ทหี่ ลง่ั ไหลมาจากเมฆ

บทกวีน้ีอธิบายสัจจะของธรรมชาติในเรื่องการเกิดน้า ในที่นี้กวี มองว่า นา้ ในธรรมชาตแิ บ่งเปน็ สองส่วน คอื น้าในแหล่งน้า และ น้าในดิน ลาน้าในธรรมชาตมิ ีต้นกาเนิดจากหยดน้าน้อย ๆ (jalakaṇa – lit. เมล็ดพนั ธ์ุ

28

แห่งนา้ ) นบั หลายรอ้ ยหยดซ่งึ รวมตัวกันอยู่บนยอดเขาสงู ในขณะที่น้าใน ดินซึ่งมีต้นหญ้าและผืนดินซึมซับเอาไว้นั้นเกิดจากน้าฝน (payas) ที่เมฆ (ambhomuc–lit. ผู้หยาดน้า)หยาดหยดลงมา น้าในดินจะไม่มีทางเหือด หายไป เพราะเมื่อใดก็ตามที่ฝนตกลงสู่โลกมนุษย์ ดินย่อมซึมซับน้าฝน เอาไว้เสมอ

น้าในโลกน้เี ป็นทรพั ยากรที่หมุนเวยี น เม่ือทาปฏกิ ริยากับความร้อน ก็จะกลายเป็นไอ ควบแน่นเป็นเมฆ แล้วตกลงมาเป็นฝน ซ้าแล้วซ้าเล่า เช่นนี้โดยตลอด กาลิทาสกล่าวถึงฤดูฝนไว้ในกวีนิพนธ์เรื่อง ฤตุสหาร ว่า “ฤดูนี้เป็นที่รักของคู่รักทั้งหลาย” (ghanāgamaḥ kāmijanapriyaḥ priye || Ṛtu. II:1 ||) สื่อความหมายว่าฤดูฝนเป็นฤดูที่เหมาะสมในการ ผสมพนั ธุ์ เป็นปจั จยั ใหพ้ ืชพันธ์แุ ละสิ่งมชี ีวิตเจริญงอกงามดี

อย่างไรก็ตาม สาหรับหญิงแรกรุ่นบางคนผู้มีความรักแล้ว ความรัก ในฤดฝู นอาจเปน็ ทั้งความสุขและความทุกข์ในคราวเดียวกัน ดังมีถ้อยคาใน ศฤงคารศตกะ ของ ภรรตฤหริ ความว่า

asūcīsaṃcāre tamasi nabhasi prāuḍhajalada- dhvaniprādurbhāve tasminpatati pṛṣatāṃ nīranicaye |

idaṃ sāudāminyāḥ kanakakamanīyaṃ vilasitaṃ mudaṃ ca mlāniṃ ca prathayati pathi svāirasudṛśām || (BhŚ. II.94)

เมอ่ื ฟากฟ้ามดื มนอนธกาล

29

เมื่อเสยี งฟา้ ร้องคารามลน่ั อยใู่ นหมเู่ มฆท่หี นาทึบ และเมื่อสายฝนหล่ังนา้ ลงมานัน้ ประกายแปลบปลาบอนั งดงามด่ังทองคาของฟ้าแลบ จะฉายท้ังความเบกิ บานและความโศกเศรา้ ลงบนบาทวถิ ี แกห่ ญงิ ผู้ปล่อยตวั ปล่อยใจตามปรารถนา

บทกวีข้างต้นพรรณนาภาพของหญิงสาวท่ีกาลังเดินทางท่ามกลาง พายุฝนกระหน่า อรรถกถาจารย์บางท่านอธิบายว่า บาทวิถี (pathi) ที่ เธอก้าวเดินนั้น คือ ทางที่จะนาพาเธอไปสู่เรือนของชายคนรัก (pathi priyagṛhamārge) (Gopalachariar, 1954) การเดินทางครั้งนี้ทาให้ เธอมที ้งั ความสขุ ใจ (muda) และความทกุ ข์ใจ (mlāni) ระคนกัน เพราะ แสงแหง่ สายฟา้ จะสอ่ งทางใหเ้ ธอได้ไปพบกับความสุขแห่งการร่วมภิรมย์รัก ในขณะเดียวกัน แสงแห่งสายฟ้าก็ย่อมทาให้ผู้คนบนหนทางที่เดินไปน้ัน สามารถเห็นความเคลื่อนไหวของเธอได้ ถ้อยคาที่กวีใช้สื่อถึงน้าฝน คือ pṛṣatāṃ nīranicaye คาแรก ปฤษตฺ (pṛṣat ในรูปคา pṛṣatāṃ) เป็น กรยิ ากฤตที่สร้างจากธาตุ ปฤษฺ (√pṛṣ) หมายถงึ ประพรม หยาด ส่วนคาหลัง นรี นจิ ย (nīranicaya ในรปู คา nīranicaye – lit. มวลแห่งน้า) เป็นสมาส ระหว่าง นีร –นา้ กบั นจิ ย –กอง, หม,ู่ มวล รวมความแลว้ มวลแห่งนา้ ที่หยาด ลงมา ก็คือ นา้ ฝนจากเมฆบนฟ้า นน่ั เอง

kośenāśrayaṇīyatvam

iti tasyārthasaṃgrahaḥ |

ambugarbho hi jīmūtaś

30

cātakāirabhinandyate || Ragh. 17.60 ||

ด้วยความคิดวา่ คนเราได้รบั ความชืน่ ชมเพราะทรัพยส์ มบัติ ด้วยความคดิ นี้เขาจึงสะสมทรัพยส์ มบตั ิ สาหรบั เมฆผู้เป็นแหลง่ รองรบั นา้ นัน้ ยอ่ มได้รับความชน่ื ชมจากนกจาตกะ

ตามเร่อื งเลา่ ในคัมภีรพ์ ระเวท อสรู วละ (Vala) ซงึ่ เปน็ บุคลาธษิ ฐาน ของเมฆฝนมีกาเนิดเป็นงูใหญ่ ชาวอินเดียจึงถือว่างูเป็นสัญลักษณ์ของ เมฆฝนและความอดุ มสมบรู ณ์ ในขณะท่ีตาราอญั มณชี ือ่ รตั นปรกี ษา ของ พุทธภัฏฏะ มีข้อความกล่าวถึงไข่มุกชนิดหนึ่งซึ่งมีก าเนิดจากงู (bhāujaṃgama) ลักษณะกลม สีนิลวาววาม แสงพราวระยับ ตามตารา ยังแนะนาให้ผู้ครอบครองไข่มุกชนิดน้ีนาไข่มุกไปทาพิธีบูชาเพือ่ ความเปน็ สิริมงคล และเสริมว่า ในระหว่างทาพิธีจะเกิดปรากฏการณ์ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง รวมถึงมีเมฆลอยสูงขึ้นและต่าลง (BRP. 62-66) ตารายุกติกัลปตรุระบุ ชัดเจนว่าไข่มุกที่เกิดในเมฆนั้นคือไข่มุกที่อยู่ในงู (YKT. 111:83) ส่วน ตาราพฤหัตสหิตา ของ วราหมิหิระ ระบุถึงไข่มุกจากงูว่าเป็นอัญมณีที่ ประเมินค่ามิได้ มีกาเนิดที่ปลายพังพานของพญานาคตักษะและวาสุกิ ไข่มุกชนิดนี้มีอานุภาพในการบันดาลให้ฝนตก ขจัดลางร้าย ปราบเหล่า ศัตรู อีกทั้งเชิดชูพระเกียรติยศและอานวยชัยชนะแก่พระเจ้าแผ่นดิน (VBS. 81.25-27) ข้อความในอีกบทหนึ่งได้ย้าว่า หากพระเจ้าแผ่นดิน ได้ครอบครองไขม่ กุ ชนดิ นแี้ ลว้ จะมฝี นตกลงมาอยา่ งสม่าเสมอในแว่นแคว้น ของพระองค์ (VBS. 82.6) แม้ข้อความนี้อาจฟังดูเป็นคติปรัมปราอันหา

31

ความจรงิ มไิ ด้ แตถ่ า้ พจิ ารณาอย่างลึกซงึ้ แล้ว ผูอ้ ่านจะเหน็ อุดมคตใิ นเร่ือง ความอดุ มสมบูรณ์ โดยทีฝ่ นเป็นปัจจยั นาพาความสมบรู ณแ์ ละความม่ังค่ัง มาสู่โลกมนุษย์ ทาให้พืชพันธุ์เจริญเติบโตและผลิดอกออกผลงดงาม สิ่งมีชีวิตในธรรมชาติสามารถดารงชีวิตอยู่ด้วยความผาสุกและมั่นคง ใน การนี้ ฝนจงึ เปรยี บเสมือนทรพั ย์อันมคี า่ สาหรบั มนษุ ย์

การครอบครองทรัพย์เป็นสิ่งสาคัญในวิถีชีวิตชาวอินเดีย เพราะ เป็นหนึ่งในอุดมคติเรื่อง ปุรุษารฺถ (puruṣāṛtha) – จุดมุ่งหมายแห่ง การดารงชีวิตสี่ประการ ประการหนึ่ง คือ อรฺถ (artha) หมายถึง การ แสวงหาและสะสมทรัพย์ ซึง่ ไมเ่ พยี งแตน่ าความสุขสบายมาสชู่ วี ิตและเป็น หลักประกนั ความมน่ั คงแห่งชวี ติ ผู้ครองเรอื นในกาลข้างหนา้ เทา่ น้ัน แตย่ ัง เป็นสิ่งที่สะท้อนฐานะทางสังคม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าผู้มีฐานะดีย่อม เป็นที่นิยมชมชอบของคนทั้งหลาย ด้วยเหตนุ ี้ มนุษย์เราจึงมักไขวค่ ว้าหา ทรัพย์มาประดับตน ท้งั น้ีไม่เพียงเพอื่ สนองความตอ้ งการขน้ั พ้ืนฐานของชวี ติ แต่ยังเป็นไปเพื่อสนองความต้องการขั้นสูงในด้านจิตใจ นั่นคือ ความปรารถนาใหม้ ีผ้ยู กยอ่ งและชนื่ ชม

บทกวีนี้เปรียบวัตถุสองสิ่งที่มีคุณสมบัติคล้ายกัน คือ เมฆ (jīmūta) ที่มีน้าสะสมอยู่ภายใน (ambugarbha) และจะกลายเป็น หยาดน้าฝนในท่ีสุด กับ กองทรัพย์สมบัติ (kośa) ซึ่งเกิดขึน้ จากการเพยี ร สะสมทรัพย์สินมีค่า (arthasaṃgraha) ความชื่นชมในผู้มีทรัพย์มาก

32

ถกู นามาเปรียบกบั นกจาตกะ (cātaka)5,6 นกชนิดน้มี ีสีนา้ ตาลเทา ขนาด เท่านกพิราบ ว่ากันว่ามันดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยน้าฝนเท่านั้น เพราะมันไม่ ยอมดื่มน้าชนิดอื่นเลย พฤติกรรมเช่นน้ีส่งผลให้นกจาตกะในวรรณคดี สันสกฤตเป็นสัญลักษณ์แห่งความทะนงตนและความเคารพตนเอง ใน วรรณคดีบางเรื่อง เช่น เมฆทูต ของ กาลิทาส ถือว่านกจาตกะเป็นนิมิต แห่งความโชคดี และที่สาคญั คอื นกชนดิ นีย้ งั สัมพันธ์กบั การเกดิ เมฆฝนอีก ด้วย (Rajan, 2006)

เมื่อกล่าวถึงคาที่หมายถึงทรัพย์สินในภาษาสันสกฤต นอกจาก อรฺถ (artha) แล้ว ยังมีอีกหลายคา เช่น ทฺรวฺย (dravya) คานี้สร้าง จากธาตุ ทฺรุ (√dru) หมายถึง กลายเป็นของไหล, ละลาย, เจือจาง และ เป็นรากของคาว่า ของไหล (drava) อันเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งของ น้าตามมติฝ่ายอายรุ เวทด้วย7 นอกจากนี้ ในมหาภาษยะยงั มีคาอธิบายว่า รากศัพท์ของคา ทฺรวฺย แสดงถึงธรรมชาติของทรัพย์ซึ่งมีการไหลเวียน

5 นกชนิดนี้มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cucculus melanoleucus มีการสันนิษฐานชื่อสามัญ ต่าง ๆ นานา เชน่ piedcuckoo (นกคคั คูดา่ ง), hawk-cuckoo(นกคคั คูเหยย่ี ว), brain-feverbird (นกคัคคู่เหยี่ยวพันธุ์อินเดียอีกชนิดหนึ่ง) ดูรายละเอียดในอภิธานศัพท์ cātaka ท้ายเล่ม หนังสือ The Loom of time: A Selection of His Plays and Poems และข้อมูลเกี่ยวกับนก คัคคูพันธุ์อนิ เดยี ใน คมชดั ลึกออนไลน์ เข้าถงึ ได้จาก https://www.komchadluek.net/

news/lifestyle/126776

6 ในวิทยานิพนธข์ อง ชวโรฒน์ วัลยเมธี ใช้คาแปลว่า “นกกระจาบฝน” 7 อา้ งไว้แลว้ ในบทความน้ี ในหวั ขอ้ “นิยามและความสาคัญของนา้ ” - ผูเ้ ขยี น

33

หรือเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ8 (Mukhopadhyaya & Basu, 1999: 69) ความเปลี่ยนแปลงเชื่อมโยงกับความคิดเรื่องความไม่แน่นอนของชีวิต และเปน็ ทีม่ าของสภุ าษติ บทหนง่ึ ในไวราคยศตกะ ของ ภรรตฤหริ ความวา่

āyuḥ kallolalolaṃ, katipayadivasa- sthāyinī yāuvanaśrīr,

arthāḥ saṃkalpakalpā, ghanasamayataḍid- vibhramā bhogapūgāḥ |

kaṇṭhāśleṣopagūḍham tadapi ca na ciraṃ yatpriyābhiḥ praṇītaṃ,

brahmaṇyāsaktacittā bhavata bhavabhay- āmbhodhipāraṃ tarītum || BhŚ. III.36 ||

ชีวติ ไมย่ ืนยงประหน่ึงคลน่ื ในสายนา้ ความงามแห่งดรณุ วยั กส็ ถติ อยไู่ มก่ ่ที ิวาวาร ทรัพยศ์ ฤงคารเป็นไปได้ก็แตใ่ นความปรารถนาเทา่ น้นั ความม่งั คั่งด้วยโภคทรัพย์ไม่เทย่ี งแทป้ ระหนง่ึ ฟา้ แลบในฤดูฝน และแมแ้ ตว่ งแขนของหญิงคนรักซงึ่ สวมกอดเราอยู่

ก็มไิ ดจ้ รี งั ยงั่ ยนื อะไร ดว้ ยเหตนุ ี้ ขอทา่ นท้งั หลายจงตั้งจิตแนว่ แน่ในพรหมนั เถิด เพ่ือจะได้ขา้ มพ้นฝัง่ มหรรณพแหง่ ภยันตรายทางโลก

8 ดูใน Mahābh. V.1.119

34

จากบทประพนั ธ์ข้างต้น กวพี ยายามแสดงให้เห็นถงึ สัจธรรมของ โลกซึ่งแบ่งเป็นสองด้านที่ตรงกันข้าม คือ ความไม่แน่นอน กับ ความแน่นอน คาที่เกี่ยวข้องกับน้าในที่นี้ คือ อมฺโพธิ (ambodhi) หมายถึง ห้วงมหรรณพ หรือ มหาสมุทร นอกจากน้าจะเป็นสัญลักษณ์ ของชีวิตแล้ว การหมุนวนของน้ายังถือเป็นสัญลักษณ์ของ “สังสารวัฏ” เพราะตามบทประพันธก์ วีเรียกมหาสมทุ รวา่ เปน็ “มหรรณพ (ambodhi) แห่งภยันตรายทางโลก (bhavabhaya)” สะท้อนการเชื่อมโยงวิถีแห่ง กระแสน้ากับธรรมชาติของสรรพสิ่งในโลก ไม่ว่าจะเป็นชีวิตมนุษย์ที่ เปรียบเสมือนคลื่นน้า (ไม่อยูน่ ิ่งและแปรปรวน เพราะต้องเผชิญภาวะเกิด แก่ เจ็บ ตาย), ช่วงชีวิตในวัยเยาว์ (เกิดขึ้นเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ), ทรัพย์ และความมั่งคั่งด้วยโภคทรัพย์ (ได้มาแล้วย่อมเสียไป), การอยู่ในออ้ มแขน ของหญิงคนรกั (มีวันเสื่อมคลาย) แตม่ ีสิง่ หนึ่งซ่ึงปราชญ์อินเดียเชื่อว่าเป็น สิ่งทจ่ี ีรังย่ังยนื เป็นอุดมคติท่ีมนษุ ย์ปรารถนาจะกา้ วข้ามไปให้ถึง สิ่งน้ันคือ ฝ่งั (pāra) ซงึ่ หมายถึง พรหมัน (brahman) ตามคัมภรี ์อปุ นษิ ัทระบุว่า พรหมันเป็นสิ่งหนึ่งสิ่งเดียวอันสูงสุดที่มีอยู่จริง พรหมันมีลักษณะเป็น นามธรรม อยู่เหนือการรับรู้ดว้ ยอนิ ทรีย์ของมนุษย์ เท่าที่สามารถอธิบาย ได้คือ “พรหมันนั้นดารงอยู่เป็นนิรันดร ไม่มีเบื้องต้น เบื้องปลาย ไม่มีเพิ่ม หรือลด ไม่มีความเปลี่ยนแปลง ไม่มีการพัฒนาหรือวิวัฒนาใด ๆ ทั้งสิ้น” (วสิ ทุ ธ์ บุษยกุล, 2554: 203)

ความไมแ่ น่นอนของชีวิตยังเชอ่ื มโยงกับเรอ่ื งไฟบรรลยั กัลป์ ดังมี กลา่ วไว้อีกบทหนึง่ ในไวราคยศตกะ ความว่า

35

yadā meruḥ śrīmānnipatati yugāntāgnidalitāḥ samudrāḥ śuṣyanti pracuramakaragrāhanilayāḥ |

dharā gacchatyantaṃ dharaṇidharapādāirapi dhṛtā śarīre kā vārtā karikarabhakarṇāgracapale ||

BhŚ. III. 72

เมอื่ ถงึ ยามสิน้ สุด แม้ภเู ขาพระสเุ มรทุ ท่ี รงความศักด์ิสิทธิ์ก็จะทะลายลงเพราะไฟบรรลยั กัลป์ หว้ งนา้ ใหญ่อนั เปน็ ทีอ่ ยขู่ องมกรและสัตว์นา้ จานวนมากก็จะเหอื ดแห้ง แผน่ ดนิ ทเ่ี ชิงเขายึดไว้ก็จะถงึ กาลอวสาน นับประสาอะไรกับสรรี ะของมนุษย์ทีแ่ บบบางและไหวหวนั่ ประหน่ึงปลายหูช้างทโี่ บกสะบดั อยตู่ ลอดเวลา

จากบทกวีนี้มีข้อสังเกตว่า คาเรียกห้วงน้าใหญ่ใช้คา สมุทฺร (samudra ในรูปค า samudrāḥ) มีรูปเป็นพหูพจน์ เชื่อมโยงกับ ความคิดเร่ืองทะเลท้งั เจด็ ทีโ่ อบล้อมผนื ทวีปท้งั เจด็ ไวเ้ ปน็ ชน้ั ๆ ตามคติของ ภูมิศาสตร์อินเดียโบราณ ได้แก่ ทะเลน้าเค็ม (lavaṇa), ทะเลน้าอ้อย (ikṣu), ทะเลสุรา (surā) ทะเลเนยใส (sarpis), ทะเลนมสม้ (dadhi), ทะเลนา้ นม (dugdha) และ ทะเลนา้ จดื (jala) (BrV.P. 1.7.5)9

9 samudrānsasṛje sapta nadānkatividhā nadīḥ | ... lavaṇekṣusurāsarpirdadhidugdhajalārṇavān | BrV.P. 1.7.4a, 5a | (Chaturvedi & Nagar, 2005: 26-27)

36

ธรรมชาติของน้าที่สามารถไหลได้ไม่จากัดทิศทาง และเปลี่ยน รปู ร่างไดต้ ามวตั ถุหรือพืน้ ที่ท่ีเป็นจุดหมายนัน้ เปน็ ประเด็นสาคัญท่ีทาให้ ปราชญ์อินเดียนามาเปรียบเปรยกับวิถีการดาเนินชีวิตของคน ดังความ ตอนหน่ึงในนีติศตกะที่ว่า

saṃtaptāyasi saṃsthitasya payaso nāmāpi na śrūyate muktākāratayā tadeva nalinīpatrasthitaṃ dṛśyate |

antaḥsāgaraśuktimadhyapatitaṃ tanmāuktikaṃ jāyate prāyeṇādhamamadhyamottamajuṣāmevaṃvidhā vṛttayaḥ ||

BhŚ. I.58

หยดนา้ ท่หี ยดลงบนแท่งเหลก็ ร้อนระอจุ ะระเหยหายไปอยา่ งรวดเร็ว หยดนา้ ทค่ี ้างอยู่บนใบบวั จะมีรูปลกั ษณะเหมอื นไขม่ ุก หยดน้าท่ีตกลงไปในใจกลางเปลอื กหอยทะเลจะก่อกาเนิดเป็นไข่มกุ วิถีชวี ิตของคนตา่ ชา้ คนสามัญ และคนสงู ส่ง ย่อมเปน็ ไปตามประเภทของบคุ คลที่ตนคบหาสมาคมด้วย

นอกจากนี้ ในนีตศิ ตกะยงั มีบทกวีอีกบทหน่ึงซึ่งถ่ายทอดความคิด เรื่องวิถีของคนชั่ว โดยนามาเปรียบกับทิศทางการไหลของแม่น้าคงคาใน โลกมนษุ ย์ ความว่า

śiraḥ śārvaṃ svargātpaśupatiśirastaḥ kṣitidharaṃ mahīdhrāduttuṅgādavinimavaneścāpi jaladhim |

adho gaṅgā seyaṃ padamupagatā stokamatha vā

37

vivekabhraṣṭānāṃ bhavati vinipātaḥ śatamukhaḥ ||

BhŚ. I.9

แมค่ งคาไหลจากสรวงสวรรค์ส่เู ศยี รพระศวิ ะ แล้วก็ไหลลงสภู่ เู ขา จากภูเขาสงู กไ็ หลลงสผู่ นื แผน่ ดิน แลว้ ก็ไหลลงหว้ งมหรรณพ จากนั้น กจ็ ะไหลลงสทู่ ่ตี า่ เรอื่ ยๆ ตามลาดับ คนต่าช้ากเ็ ชน่ กนั วิถีทางทีจ่ ะนาไปสคู่ วามตกต่าของเขามีไดถ้ ึงร้อยวถิ ที าง

แมน่ ้าคงคาเป็นแมน่ ้าศกั ดิส์ ิทธิ์สายหนึ่งที่มีความสาคัญต่อวิถีชีวิต ชาวอินเดียมาแต่โบราณ เรื่องเล่ามากมายเก่ียวกบั แม่นา้ คงคาพบในคัมภีร์ โบราณทั้งอิติหาสและปุราณะฉบับต่าง ๆ สาหรับบทกวีที่ยกมาข้างต้นนี้ เนื้อหาสะท้อนเรื่องเล่ามูลเหตุที่แม่น้าคงคาไหลมาสู่โลกมนุษย์ ใจความ สาคัญมีอยู่ว่า เดิมทีแม่น้าคงคามีกาเนิดจากเท้าของพระวิษณุและไหลอยู่ บนสรวงสวรรค์ วันหนึ่งท้าวสคระ (Sagara) ต้องการชาระมลทินให้แก่ พระโอรสหกหมื่นองค์ซึ่งถูกฤษีกปิละ (Kapila) สังหารด้วยไฟตบะจน กลายเป็นเถ้ากระดูก พระองค์จึงได้กระทาพิธีบาเพ็ญตบะ วิงวอนให้ พระแม่คงคา (Gaṅgā) ไหลลงมารดเถ้ากระดูกเพื่อฟื้นคืนชีพให้แก่ พระโอรส หากกิจพิธีนี้มาสาเร็จในสมัยทายาทรุ่นท่ีสี่ของท้าวสคระ คือ ท้าวภคีรถ (Bhagīratha) และเนื่องจากความรุนแรงของกระแสคงคาท่ี

38