ต วอย างหล กส ตรการฝ กอบรมการประสานการจ บก ม

หลักสูตรการฝกึ อบรมข้าราชการตำรวจและบคุ คล ทีบ่ รรจหุ รือโอนมาเป็นขา้ ราชการตำรวจชนั้ ประทวน (ปฏิบัตกิ ารป้องกนั ปราบปราม) เพอ่ื ปฏิบัติงานในพ้นื ทจี่ ังหวดั ชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2555

หลกั สูตรการฝกึ อบรมขา้ ราชการตารวจและบุคคลทบ่ี รรจุหรือโอนมา เป็นขา้ ราชการตารวจชน้ั ประทวน(ปฏบิ ตั ิการป้องกนั ปราบปราม) เพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๕ ........................................................ ขอ้ ๑ ภารกจิ ศูนย์ปฏิบัติการตารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยศูนย์ฝึกอบรมศูนย์ปฏิบัติการตารวจจังหวัด ชายแดนภาคใต้ หรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากสานักงานตารวจแห่งชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการให้ การฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลท่ีบรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตารวจช้ันประทวน ตาแหน่งผู้บังคับหมู่ (ปฏิบตั ิการปอู งกันปราบปราม) ตามวตั ถุประสงค์ของสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ ขอ้ ๒ ปรัชญาการศึกษา หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตารวจ ช้ันประทวน ตาแหน่งผบู้ งั คับหมู่(ปฏบิ ัติการปูองกนั ปราบปราม) โดยยึดหลักให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคน เป็นผู้ที่มี ความรู้ความเข้าใจ สามารถพัฒนาตนเองได้ภายใต้กระบวนการจัดการฝึกอบรมท่ีส่งเสริมการพัฒนาตนเองและ เต็มตามศักยภาพ เพื่อให้เป็นผู้ที่มีความรู้ในวิชาการและมีความสามารถในหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ มีสุขภาพร่างกาย แข็งแรง จิตใจม่ันคง ยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต พร้อมท่ีจะปฏิบัติงาน ตามอานาจหน้าที่ ของสานักงานตารวจแหง่ ชาติ ข้อ ๓ วัตถุประสงค์หลกั สตู ร ๓.๑ เพ่ือให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม มคี วามรู้พ้ืนฐานของการปฏิบัติงานในหน้าที่ของข้าราชการตารวจ ชน้ั ประทวน ๓.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจและความสามารถในการปฏิบัติการปูองกัน ปราบปราม ๓.๓ เพ่ือเสรมิ สร้างเจตคติ วสิ ัยทัศนแ์ ละหลอ่ หลอมจติ ใจ อุปนสิ ยั และบคุ ลกิ ภาพให้เหมาะสมกับการเป็น ขา้ ราชการที่เพียบพรอ้ มไปดว้ ยคุณธรรม เป็นที่เชื่อถือศรัทธาของประชาชน ๓.๔ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้ยึดม่ันในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ๓.๕ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ วุฒิภาวะ มีจิตสานึกในการ บรกิ ารและบาบดั ทกุ ข์บารงุ สุขแกป่ ระชาชน รวมทั้งปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ไี ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ /ภาค ๑…

-๒- ภาค ๑ ข้อความท่วั ไป ข้อ ๔ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตารวจ ช้ันประทวน (ปฏิบัติการปูองกนั ปราบปราม) เพ่อื ปฏบิ ัติงานในพน้ื ท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ใช้คาย่อ “หลักสูตร กอป.(ปป)” สาหรับนักเรียนอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตารวจ ช้ันประทวนน้ี ใช้คาย่อว่า “นอป.”ซ่ึงมีกรอบแนวคิดในการให้การฝึกอบรม เป็นระยะเวลา ๔ เดือน ประกอบด้วย ภาควิชาการและการฝกึ ๒ เดอื นคร่ึง ภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ครึ่งเดือน และภาคการฝึกหลักสูตร พิทักษ์สนั ติ ๑ เดอื น ข้อ ๕ ศนู ยฝ์ ึกอบรมศนู ยป์ ฏบิ ัติการตารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่ได้รับมอบหมายจากสานักงาน ตารวจแหง่ ชาติ กาหนดใหเ้ ป็น “สถานฝึกอบรม” ตามหลักสตู รน้ี ภาค ๒ การอานวยการฝกึ อบรม ข้อ ๖ ให้ผู้บัญชาการศูนย์ปฏิบัติการตารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากสานักงาน ตารวจแห่งชาติเป็น “ผูอ้ านวยการฝึกอบรม” ดาเนินการฝกึ อบรมใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตรและทางราชการ ขอ้ ๗ ให้ผบู้ งั คับการศูนย์ฝกึ อบรมศูนย์ปฏิบัติการตารวจจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือท่ีได้รับมอบหมาย จากสานักงานตารวจแห่งชาติ ตามข้อ ๕ เป็น “ผู้อานวยการสถานฝึกอบรม” มีหน้าท่ีปกครองบังคับบัญชา รับผิดชอบการฝึกอบรมนักเรียนอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลท่ีบรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการ ตารวจชั้นประทวน (ปฏิบัติการปูองกันปราบปราม) เพื่อปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามระเบียบ แบบแผนของสานักงานตารวจแห่งชาติ คัดเลือกครู – อาจารย์จากบุคลากร ที่มีคุณวุฒิมีประสบการณ์ หรือบุคคล ท่ีเห็นสมควรแล้วเสนอให้ผู้อานวยการฝึกอบรมออกคาสั่งต้ังกองอานวยการฝึกอบรม แต่งตั้งครู – อาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ช่วยเหลอื การฝกึ อบรม ข้อ ๘ ก่อนเริ่มเปิดการฝึกอบรมให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรม เชิญครู – อาจารย์ผู้สอน วิทยากร ผ้รู ับผิดชอบการฝึกอบรม และผู้เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงทาความเข้าใจเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร ขอบเขตการเรียน การสอนและเตรยี มความพร้อมในการฝกึ อบรม ข้อ ๙ วิธีการฝึกอบรม จะใช้วิธีใดวิธีหน่ึง หรือหลายวิธีก็ได้ขึ้นอยู่กับผู้อานวยการสถานฝึกอบรม และ ครู –อาจารยก์ าหนด ข้อ ๑๐ เมื่อทาการฝึกอบรมใกล้จะเสร็จสิ้นในภาควิชาการและการฝึก ให้จัดการสอบประเมินความรู้และ ทักษะการปฏิบัติท่ีนักเรียนอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการ ตารวจชั้นประทวน (ปฏิบัติการปูองกันปราบปราม) เพ่ือปฏิบัติงานในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้เรียนและ ฝึกปฏิบัติ โดยใชข้ ้อสอบของสถานฝึกอบรมตามความเหมาะสม ให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรมแต่งตั้งคณะกรรมการสอบความรู้ในวิชาท่ีเรียนมาแล้วท้ังหมด กรรมการคณะหน่งึ ตอ้ งประกอบดว้ ยข้าราชการตารวจชั้นสญั ญาบัตร ไม่น้อยกว่า ๓ นาย และอาจแต่งต้ังข้าราชการตารวจ ชั้นประทวนเปน็ คณะกรรมการผู้ชว่ ยคณะกรรมการดังกล่าวกไ็ ด้ /ก่อนถึงวัน...

-๓- ก่อนถึงวันกาหนดสอบประเมินความรู้ทักษะการปฏิบัติ ให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรมเสนอ ขอให้ผู้อานวยการฝกึ อบรม กาหนดให้ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมหยุดการฝึกอบรมตามปกติเพ่ือทบทวนวิชาที่ได้เรียนและ ฝึกปฏบิ ัติไดไ้ มเ่ กนิ ๒ วนั เม่ื อได้ท าการสอบประเมิ นความรู้ และทักษะการปฏิ บัติ แล้ วให้ผู้ อ านวยการสถานฝึกอบรม ตั้งคณะกรรมการจดั ทาบัญชรี วมคะแนนภาควชิ าการและการฝึก โดยทาบัญชีผลการสอบและประกาศผลสอบให้ผู้เข้า รบั การฝึกอบรมทราบโดยเรว็ และใหเ้ สนอสานกั งานตารวจแหง่ ชาติผา่ นกองบญั ชาการศกึ ษา ทราบ คาชี้ขาดของคณะกรรมการจัดทาบัญชีรวมคะแนนในการสอบนใี้ ห้ถือเปน็ ที่สดุ ขอ้ ๑๑ ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม จะต้องมเี วลาการฝกึ ไม่น้อยกว่าเกณฑ์ทกี่ าหนด ดังนี้ ๑๑.๑ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ในภาควชิ าการและการฝึก ๑๑.๒ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๗๕ ของภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร และภาคการฝึก หลักสูตรพิทักษ์สันติ การคานวณเวลาฝกึ อบรมให้คานวณจากช่ัวโมงการฝึกอบรมตามท่ีกาหนดไว้ในตารางการเรียน การสอน และใหผ้ ้อู านวยการสถานฝกึ อบรม แจง้ ให้ผทู้ ี่มีเวลาฝึกอบรมไมค่ รบ ทราบถงึ การหมดสิทธิก่อนที่จะถึงเวลา ทาการสอบ หรือประเมินความรู้ (แลว้ แต่กรณี) และให้สง่ ตวั กลบั ตน้ สงั กดั ข้อ ๑๒ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ผู้ใดมชี ่ัวโมงการฝกึ อบรมไมค่ รบ ตามข้อ ๑๑ โดยเหตดุ งั ต่อไปน้ี ๑๒.๑ การปฏบิ ตั ิหนา้ ทีร่ าชการ หรือ ๑๒.๒ การปฏบิ ตั กิ ิจการของสถานฝกึ อบรม หรอื ๑๒.๓ การเจ็บปุวยอนั เน่ืองมาจากการปฏิบัติหน้าท่รี าชการ หรอื การปฏิบตั กิ จิ การของสถานฝกึ อบรม ให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรม มีอานาจพิจารณาอนุญาตให้เข้าสอบได้ แล้วรายงาน ให้ผู้อานวยการฝึกอบรมทราบ หากมีกรณีอ่ืนที่ผู้อานวยการสถานฝึกอบรม เห็นสมควรให้เข้าสอบได้ ก็ให้รายงาน ขออนมุ ัตผิ ู้อานวยการฝกึ อบรมเปน็ ราย ๆ ไป ข้อ ๑๓ ในการสอบประเมินความรแู้ ละทกั ษะการปฏบิ ตั ิ ถา้ ปรากฏว่าเวลาสอบ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมคน ใดกระทาการทุจริตในการสอบอย่างชัดแจ้ง ให้ตัดสิทธิและห้ามผู้เข้ารับการฝึกอบรมผู้น้ันทาการสอบวิชาอ่ืนๆ ต่อไป และใหถ้ ือว่าเปน็ ผสู้ อบตก โดยไม่มีสทิ ธิสอบแกต้ วั และเปน็ ผกู้ ระทาผิดวินยั การทจุ รติ ในการสอบนนั้ ใหร้ วมถึงการกระทาอยา่ งหนงึ่ อย่างใด ดงั ต่อไปน้ี ๑๓.๑ นาตาราหรือเอกสารอ่ืนท่ีเกี่ยวกับการสอบเข้าไปในห้องสอบ เว้นแต่จะได้รับอนุญาต จากผอู้ านวยการสถานฝึกอบรม ๑๓.๒ สอบถามผู้อนื่ หรือช่วยเหลือผู้อืน่ ดว้ ยประการใด ๆ ในการตอบปัญหาข้อสอบ ๑๓.๓ คัดลอก หรือดคู าตอบ จากผู้อน่ื ในการตอบปัญหาขอ้ สอบ ๑๓.๔ ไมเ่ ชอื่ ฟังคาแนะนา ตักเตือน หรือคาส่ังของเจ้าหน้าที่คุมสอบทีส่ ่งั การโดยชอบ ๑๓.๕ เปลย่ี นตัวผู้เขา้ สอบ หรือตอบขอ้ สอบแทนกนั ๑๓.๖ นาเคร่ืองมอื หรือสง่ิ อน่ื ใดเพ่ือใช้ หรอื จะใช้ในการทจุ ริตสอบ เชน่ เคร่อื งมอื สื่อสาร ๑๓.๗ พฤติการณ์อน่ื ใดที่ไมป่ กติ และ/หรือทาให้การสอบไม่สจุ รติ /ภาค ๓…

-๔- ภาค ๓ การปกครองบังคบั บัญชา ความประพฤติ และระเบียบวินัย ข้อ ๑๔ ให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรม มีอานาจในการปกครองบังคับบัญชา และให้การฝึกอบรมนักเรียน อบรมหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตารวจชั้นประทวน (ปฏิบัติการปูองกนั ปราบปราม) เพอื่ ปฏบิ ตั งิ านในพ้ืนท่ีจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ข้อ ๑๕ ให้ผู้มีอานาจปกครองบังคับบัญชา ตามข้อ ๑๔ มีอานาจออกระเบียบที่เก่ียวข้องกับการฝึกอบรม การปฏบิ ัตภิ ายในสถานฝึกอบรม การปกครอง และระเบยี บวินยั ซึง่ ไม่ขัดต่อ กฎ ระเบยี บ และกฎหมาย ข้อ ๑๖ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องประพฤติและปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของสถานฝึกอบรม และสานักงานตารวจแห่งชาติ และรักษาวินัยตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ โดยเคร่งครัด ผู้ใดฝุาฝืน ไมป่ ระพฤติปฏบิ ัตติ าม จะต้องได้รบั การพิจารณาตามลาดบั ดังนี้ ๑๖.๑ ถกู พิจารณาดาเนนิ การตามข้อบงั คบั และระเบียบของสถานฝกึ อบรม ๑๖.๒ ถกู ตัดคะแนนความประพฤติ ๑๖.๓ ถกู ลงโทษตามพระราชบัญญัติตารวจแหง่ ชาติ ๑๖.๔ ถกู สง่ ตวั กลบั ตน้ สังกดั พร้อมท้งั รายงานพฤติกรรมแหง่ การกระทาผิดใหผ้ ู้บังคบั บัญชาทราบ ขอ้ ๑๗ ให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมทกุ คน มีคะแนนความประพฤติคนละ ๑๐๐ คะแนน นับต้ังแต่วันรับตัว เข้าฝึกอบรม จนถึงเวลาส้ินสุดการฝึกอบรม หากผู้เข้ารับการฝึกอบรมคนใดถูกตัดคะแนนความประพฤติเกิน ๔๐ คะแนน ใหถ้ อื วา่ ผูน้ นั้ หมดสทิ ธทิ ีจ่ ะเขา้ สอบความรู้ และใหถ้ อื วา่ เป็นผ้สู อบตก ข้อ ๑๘ ให้ผู้บังคับกองร้อย จัดทาบัญชีคะแนนความประพฤติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยมี รายละเอียดแสดงว่า เป็นบัญชีประจาตัวผู้เข้ารับการฝึกอบรม ผู้ใด ถูกตัดคะแนนโดยความผิดอย่างใด คร้ังท่ีเท่าใด ก่ีคะแนน คงเหลือคะแนนเท่าใด ผู้ใดเป็นผู้สั่งตัดคะแนน เม่ือใด และตัดคะแนนความประพฤติ ตามการตัดคะแนน ของผมู้ อี านาจสั่งตัดคะแนน การตัดคะแนนแต่ละครั้ง ใหแ้ จง้ ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมทถี่ ูกตัดคะแนนความประพฤติทราบทุกครั้ง กอ่ นวันสน้ิ สดุ การฝึกอบรม ใหเ้ สนอบัญชีคะแนนความประพฤติให้ผอู้ านวยการสถานฝกึ อบรมทราบ ข้อ ๑๙ ใหผ้ ู้มีตาแหน่งหน้าที่ตอ่ ไปน้ี มีอานาจส่งั ตัดคะแนนความประพฤติได้ คือ ๑๙.๑ ผู้บงั คบั หมู่ ท่ที าหน้าท่ีฝาุ ยปกครอง ครั้งละไมเ่ กนิ ๕ คะแนน ครูและครผู ชู้ ว่ ยที่ไม่ใช่ชน้ั สญั ญาบตั ร ๑๙.๒ ผบู้ งั คับหมวด ครู และครผู ูช้ ่วยชนั้ สัญญาบตั ร ครั้งละไม่เกนิ ๑๐ คะแนน ๑๙.๓ ผ้บู ังคบั กองรอ้ ย ครู-อาจารย์ หรือผบู้ รรยายพเิ ศษ ครั้งละไมเ่ กิน ๑๕ คะแนน ๑๙.๔ รองผู้กากบั การ ครงั้ ละไมเ่ กนิ ๒๐ คะแนน ๑๙.๕ ผกู้ ากบั การ ครง้ั ละไมเ่ กนิ ๒๕ คะแนน ๑๙.๖ รองผบู้ ังคบั การ ครัง้ ละไมเ่ กนิ ๓๐ คะแนน ๑๙.๗ ผู้บงั คบั การ ครั้งละไม่เกิน ๓๕ คะแนน /ข้อ ๒๐ การตัด...

-๕- ข้อ ๒๐ การตัดคะแนนความประพฤติผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้ผู้มีอานาจ ตามข้อ ๑๙ ท่ีพบเห็น การกระทาความผิด สั่งตัดคะแนนความประพฤติได้ทันที หรือผู้บังคับบัญชาเป็นผู้กล่าวหาและดาเนินการทางวินัย ตามพระราชบัญญัติตารวจแห่งชาติ เมื่อผู้มีอานาจได้ส่ังตัดคะแนนความประพฤติแล้ว ให้บันทึกการบกพร่อง หรอื ละเมดิ ตอ่ ระเบยี บวนิ ยั และจานวนคะแนนความประพฤติ ทีถ่ ูกตดั คะแนนไว้ ข้อ ๒๑ ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมท่ีถูกตัดคะแนนความประพฤติมาแล้ว และการตัดคะแนน ความประพฤติ คร้ังหลังสุด หากรวมกับคะแนนความประพฤติ ที่ถูกตัดไว้แล้วเกินกว่า ๔๐ คะแนน ให้เสนอการตัดคะแนนความ ประพฤติคร้ังหลงั สุดตามลาดบั ช้ัน จนถงึ ผู้อานวยการฝึกอบรมใหค้ วามเหน็ ชอบ ข้อ ๒๒ ในกรณีที่ครู-อาจารย์ หรือผู้บรรยายพิเศษ สั่งตัดคะแนนความประพฤติผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ประพฤติตนไม่เรียบร้อยหรือบกพร่องในเวลาฝึกอบรม ให้ครู-อาจารย์ หรือผู้บรรยายพิเศษ แจ้งการตัดคะแนน ความประพฤติน้นั เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรใหผ้ อู้ านวยการสถานฝกึ อบรมทราบ เพ่อื ดาเนินการตอ่ ไป ข้อ ๒๓ เมอื่ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมเห็นว่าผู้ใดใช้อานาจส่ังตัดคะแนนความประพฤติ หรือลงโทษทางวินัย ในทางที่ผิด ไม่สมควร ไม่เป็นธรรม ผิดกฎหมาย ไม่เป็นไปตามระเบียบ และตนมิได้รับประโยชน์ สิทธิอันควรได้ มิควรได้ จากการฝึกอบรม สามารถรอ้ งทกุ ข์หรอื อทุ ธรณ์ได้ตามที่กาหนดไวใ้ น กฎ ก.ตร. ข้อ ๒๔ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องอยู่ประจาในสถานฝึกอบรม การออกนอกบริเวณให้เป็นไปตาม ระเบยี บของสถานฝกึ อบรมกาหนด ขอ้ ๒๕ วนั หยดุ การฝึกอบรม หมายถงึ วันต่อไปน้ี ๒๕.๑ วันหยุดราชการประจาสัปดาห์ ๒๕.๒ วันหยดุ ราชการ ๒๕.๓ วันหยดุ การฝึกอบรม เมือ่ มีคาสัง่ พเิ ศษ ข้อ ๒๖ ในระหว่างการฝกึ อบรม ให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมได้รับเบี้ยเลย้ี งตามระเบยี บที่กาหนดไว้ ขอ้ ๒๗ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่สาเร็จการฝึกอบรม โดยสอบได้ทุกภาค และไม่ถูกตัดคะแนนความ ประพฤติเกินกว่าที่กาหนด เป็นผู้สอบได้ และจะได้รับประกาศนียบัตรแสดงวิทยฐานะ และให้ผู้อานวยการสถาน ฝึกอบรมสง่ ตวั ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมกลบั ต้นสังกดั พรอ้ มท้ังแจง้ ผลการฝึกอบรมไปยงั ผ้บู ังคบั บัญชาทราบ /ภาค ๔...

-๖- ภาค ๔ หลกั สตู รและขอบเขตรายวิชา ข้อ ๒๘ โครงสร้างหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจและบุคคลท่ีบรรจุหรือโอนมาเป็น ข้าราชการตารวจชั้นประทวน (ปฏิบัติการป้องกันปราบปราม) เพ่ือปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ระยะเวลาฝึกอบรม ๔ เดอื น แบง่ เป็น ๓ ภาค) ประกอบดว้ ย - ภาควชิ าการและการฝกึ ๒ เดือนครงึ่ (๑๐ สัปดาห์) - ภาคบรู ณาการและกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร ครง่ึ เดอื น (๒ สัปดาห)์ - ภาคการฝึกหลักสูตรพิทกั ษส์ นั ติ ๑ เดือน (๔ สปั ดาห์) อนึ่ง สาหรับการฝึกปฏิบัติราชการของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้ดาเนินการฝึกปฏิบัติราชการ โดยหนว่ ยงานต้นสงั กดั หลงั จากสาเรจ็ การฝกึ อบรมหลักสูตร กอ่ นออกไปปฏิบตั งิ านจรงิ เปน็ ระยะเวลา ๖ เดือน ๒๘.๑ ภาควชิ าการและการฝึก ระยะเวลา ๒ เดอื นครึ่ง ประกอบดว้ ย ๗ หมวดวิชา มี ๓๔ วชิ า หมวดวิชา จานวน รหัสวชิ า ชอื่ วิชา หมาย วิชา เหตุ จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ ๑. การศึกษาท่ัวไป ๑๐ ศท.(GE)๒๑๐๑ มนษุ ยสมั พนั ธแ์ ละจติ วทิ ยาสาหรบั ตารวจ การใหบ้ รกิ ารและจติ สาธารณะ (GeneralEducation) ศท.(GE)๒๑๐๒ สิทธิมนุษยชนกบั การปฏบิ ัติงานของตารวจ ภาษาองั กฤษในหน้าทต่ี ารวจ ศท.(GE)๒๑๐๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการปฏิบัติงานตารวจ ความรเู้ ก่ียวกบั ประชาคมอาเซยี น ศท.(GE)๒๑๐๔ วิ ถี ชี วิ ต ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ส ถ า น ก า ร ณ์ ใ น จั ง ห วั ด ชายแดนภาคใต้ ศท.(GE)๒๑๐๕ หลักคาสอนของศาสนาอสิ ลามและศาสนาพุทธ ภาษามลายูพ้ืนเมือง(ยะว)ี ศท.(GE)๒๑๐๖ กฎหมายอาญา กฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา ศท.(GE)๒๑๐๗ พระราชบญั ญตั ิทม่ี โี ทษทางอาญา ระเบียบการตารวจเกย่ี วกับคดี ศท.(GE)๒๑๐๘ การปูองกนั และปราบปรามการทจุ รติ กฎหมายเฉพาะอืน่ ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ศท.(GE)๒๑๐๙ ศท.(GE)๒๑๑๐ ๒. กฎหมาย (Law) ๖ กม.(LA)๒๒๐๑ กม.(LA)๒๒๐๒ กม.(LA)๒๒๐๓ กม.(LA)๒๒๐๔ กม.(LA)๒๒๐๕ กม.(LA)๒๒๐๖ /๓. การบริหารงาน...

-๗- หมวดวิชา จานวน รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หมาย วชิ า เหตุ ๓. การบรหิ ารงาน ๗ บร.(PA)๒๓๐๑ พระราชบัญญตั ิตารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ตารวจ บร.(PA)๒๓๐๒ ระเบียบการตารวจไมเ่ กย่ี วกับคดี (Police บร.(PA)๒๓๐๓ ประวัติ โครงสรา้ ง ยทุ ธศาสตร์ และการบรหิ ารงาน Administration) สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ บร.(PA)๒๓๐๔ โครงสร้างและการปฏบิ ตั งิ านในสถานตี ารวจ บร.(PA)๒๓๐๕ การเสรมิ สรา้ งและพฒั นาให้ข้าราชการตารวจมี วนิ ัยและปอู งกนั มิให้ข้าราชการตารวจกระทาผิดวินยั บร.(PA)๒๓๐๖ งานสารบรรณและการเขียนรายงานในหนา้ ที่ตารวจ บร.(PA)๒๓๐๗ การสอ่ื สารในหน้าทต่ี ารวจ ๔. การปอู งกนั ๕ ปป.(CP)๒๔๐๑ การปูองกนั และปราบปรามอาชญากรรม ปราบปราม ปป.(CP)๒๔๐๒ การปูองกนั ปราบปรามยาเสพตดิ อาชญากรรม ปป.(CP)๒๔๐๓ การปฏบิ ตั ติ ่อเด็กและสตรี (Crime crevention) ปป.(CP)๒๔๐๔ ตารวจกบั การมีส่วนร่วมของประชาชน ปป.(CP)๒๔๐๕ ยุทธวธิ ีตารวจ ๕. การสืบสวน ๓ สส.(CI)๒๕๐๑ การสบื สวน (Criminal สส.(CI)๒๕๐๒ นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ Investigation) สส.(CI)๒๕๐๓ การทะเบียนประวตั อิ าชญากร ๖. การจราจร ๑ จร.(TC)๒๖๐๑ การจราจร (Traffic Control) ๗. การฝึกตารวจ ๒ ตร.(PT)๒๗๐๑ การฝึกตามแบบฝกึ ตารวจและการยงิ ปืนพก (Police Training) พล.(PE)๒๗๐๒ พลศกึ ษา/กายบรหิ าร/ศิลปะการปูองกันตัว การฝกึ พลศกึ ษา (Physical Education) รวม ๓๔ - - ความหมายของเลขรหัสประจาวชิ า รหสั วชิ า ประกอบด้วยตวั อักษรยอ่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และตัวเลข ๔ หลัก มีความหมายดงั นี้ ตวั อกั ษรย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษในวงเล็บ หมายถงึ หมวดวิชา เลขลาดบั ที่ ๑ หมายถึง หลักสูตรฝกึ อบรมของชัน้ ประทวน เลขลาดับที่ ๒ หมายถงึ ลาดับหมวดวิชา เลขลาดบั ที่ ๓ และ ๔ หมายถึง ลาดับชือ่ วชิ าของหมวดวิชานั้น /๒๘.๒ ภาคบูรณาการ...

-๘- ๒๘.๒ ภาคบรู ณาการและกิจกรรมเสริมหลกั สูตร ระยะเวลาการฝึก คร่ึงเดือน (๒ สปั ดาห)์ ๒๘.๒.๑ กจิ กรรมบรู ณาการระยะเวลา ๑๖ ชัว่ โมง เป็นการฝึกปฏิบัติบูรณาการความรู้จากภาควิชาการและการฝึก ทั้งภาคทฤษฎี และภาคการฝึกปฏิบัติ มาฝึกแก้ไขสถานการณ์การปฏิบัติงานในบทบาทของเจ้าหน้าที่ตารวจ โดยการจาลอง สถานการณต์ า่ ง ๆ ให้ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม เกิดการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ (Learning by Doing) อาทิ การรักษาสถานท่ี เกดิ เหตุ การเจรจาต่อรองช่วยเหลือตวั ประกัน การปิดล้อมจับกมุ คนร้าย การไล่ล่า-ติดตามจับกุมคนร้าย การจับกุมยาเสพติด การเปรยี บเทียบปรับ การแจง้ เหตุประทษุ รา้ ยต่อร่างกาย ๒๘.๒.๒ กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรระยะเวลา ๒๔ ช่วั โมง เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้การฝึกอบรมภาควิชาการและการฝึกได้ผล สัมฤทธ์ิตามความมุ่งหมายและวัตถุประสงคข์ องหลักสตู รท่กี าหนดไว้ ประกอบดว้ ย ๒๘.๒.๒.๑ กจิ กรรมกลมุ่ สัมพันธ์ จานวน ๘ ช่วั โมง เป็นการฝึกท่ีสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลที่อยู่ร่วมกัน ให้รจู้ ักการวางแผนงาน การแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบท่ีจะทางานร่วมกันในการแก้ไขปัญหาภารกิจงานให้สาเร็จได้ ตามเปูาหมายและวตั ถปุ ระสงคท์ ่กี าหนด อนั จะทาใหเ้ กดิ ความรกั สามคั คีกลมเกลยี วกันในหมคู่ ณะ ๒๘.๒.๒.๒ การพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติ วุฒิภาวะ มารยาทสังคมและ พฤติกรรมของตารวจ เป็น กา ร ฝึ กห ลั งจ ากจ บการ ฝึ กอบร ม ภ าควิช าการ แ ล ะการ ฝึ ก โ ด ย วิธีการบรรยาย สาธิต การอภิปรายกลุ่ม หรือจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม จานวน ๘ ช่ัวโมง เพื่อให้ ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรม ๑) มีความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม ของไทย และท้องถิ่นต่าง ๆ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และถูกต้องตามหลักมารยาทสังคม และแบบแผนการดารงชวี ติ ในสังคมปจั จบุ ัน ๒) ปรับบุคลิกภาพ ทัศนคติ พฤติกรรมให้เหมาะสมกับงานตารวจ เป็นการอยู่รว่ มกนั ด้วยวถิ ีชวี ิตประจาวันทเ่ี รยี บง่าย ประหยัด สมถะ ๒๘.๒.๒.๓ การบรรยายพิเศษ เป็นการจัดบรรยายพิเศษ ในระหว่างการฝึกอบรม จานวน ๘ ช่ัวโมง เพ่ือเพิ่มพูนความรู้ วิสัยทัศน์ในการพัฒนาแนวความคิดในการปรับกระบวนทัศน์การปฏิบัติงานของตารวจ โดยให้ผอู้ านวยการสถานฝึกอบรม เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ หรือ สถานการณ์ ท่ีน่าศึกษามาบรรยาย อาทิ การเรียนรู้การดารงชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเสริมสร้างวุฒิภาวะสาหรับ การปฏิบัตงิ านตารวจ กรณศี ึกษาสถานการณส์ าคัญเฉพาะในแต่ละพ้ืนที่ ๒๘.๒.๒.๔ การฝกึ หดั ขับรถยนต์และจกั รยานยนต์ เป็นการฝึกให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ยังไม่สามารถขับรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ได้ มาทาการฝึกหัดการขับรถยนต์และจักรยานยนต์ สัปดาห์ละ ๒ ชั่วโมง นอกเวลาการฝึกอบรม ระหว่าง ๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. โดยตอ้ งผา่ นการทดสอบตามหลกั เกณฑ์และวิธีการท่ีสถานฝกึ อบรมกาหนด /๒๘.๒.๒.๕...

-๙- ๒๘.๒.๒.๕ การส่งเสริมการอ่านหนงั สือนอกเวลา เป็นการฝึกให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้รักในการอ่าน อันเป็นการ ส่งเสริมให้เป็นผู้ใฝุเรียนรู้ กล่อมเกลาจิตใจ และเปิดโลกทัศน์ทางความคิด ให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขของประชาชนมนุษย์โลก การอ่านหนังสือนอกเวลาน้ี ให้ใช้เวลาระหว่าง ๑๙.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. ของแต่ละวันไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง/สัปดาห์โดยแบ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองภายในห้องสมุด ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ ตลอดระยะเวลาฝึกอบรม กาหนดให้มีการวิเคราะห์วิจารณ์หนังสือนอกเวลาด้วยลายมือของผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรมเป็นผู้กาหนดประเภท จานวน และระยะเวลาการอ่าน ของหนังสือนอกเวลา ในระหวา่ งการฝกึ อบรม ๒๘.๒.๒.๖ การพบปะผบู้ ังคบั บัญชา/ผูท้ ่ีประสบความสาเร็จและมปี ระสบการณ์ เพื่อเป็นการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การปฏิบัติงาน จากผู้บังคับบัญชาและผู้ประสบความสาเร็จในการปฏิบัติงานในหน้าท่ีตารวจ ให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพื่อให้ ทราบถึงแนวคิด การปฏิบัติตน การครองตน ครองคน ครองงาน จนประสบความสาเร็จในหน้าที่การทางาน และ นาไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง หน่วยงานและองค์กรตารวจโดยใช้เวลา ระหวา่ ง ๑๙.๐๐ – ๒๑.๐๐ น. หรือตามโอกาสและความเหมาะสม ๒๘.๒.๓ เบ็ดเตล็ด จานวน ๔๐ ช่ัวโมง ประกอบด้วย (๑) พธิ ีเปิด/ปฐมนเิ ทศ ๔ ชัว่ โมง (๒) พธิ ีปดิ /ปัจฉมิ นิเทศ ๔ ชัว่ โมง (๓) การสอบและการประเมินผลการฝึกอบรม ๓๒ ชั่วโมง ๒๘.๓ ภาคการฝกึ หลกั สตู รพิทกั ษส์ ันติระยะเวลา ๑ เดอื น เป็นการฝึกปฏิบัติภาคสนามในการปูองกันและปราบปรามอาชญากรรม และการควบคุมฝูงชน ท่ีเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและสถานการณ์ปัจจุบัน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมท่ีสาเร็จการฝึกอบรมจะได้รับ ประกาศนียบตั ร และเขม็ พทิ กั ษส์ ันติ ตามแบบท่แี นบท้ายหลักสูตรนี้ ขอ้ ๒๙ รายละเอียดหลักสูตร ๒๙.๑ ภาควชิ าการและการฝึก รหสั วชิ า วิชา จานวนชว่ั โมง รวม คะแนน ทฤษฎี ปฏิบัติ ศท.(GE)๒๑๐๑ วชิ าท่ัวไป ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๒ จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๓ มนุษยสมั พันธ์และจิตวทิ ยาสาหรับตารวจ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๔ การให้บริการและจติ สาธารณะ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๕ สิทธมิ นุษยชนกบั การปฏิบตั งิ านของตารวจ ๔ ๔ ๘ ๑๐๐ ภาษาอังกฤษในหนา้ ที่ตารวจ /ศท.(GE)๒๑๐๖...

- ๑๐ - รหสั วชิ า วชิ า จานวนชัว่ โมง คะแนน ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม ศท.(GE)๒๑๐๖ ศท.(GE)๒๑๐๗ เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การปฏบิ ตั ิงานตารวจ ๔ ๔ ๘ ๑๐๐ ศท.(GE)๒๑๐๘ ๔ ๕๐ ความรู้เก่ียวกับประชาคมอาเซียน ๔- ๘ ๑๐๐ ศท.(GE)๒๑๐๙ ศท.(GE)๒๑๑๐ วิถีชีวิตประชาชนและสถานการณ์ในจังหวัด ๘ - ๘ ๑๐๐ กม.(LA)๒๒๐๕ ๑๖ ๒๐๐ บร.(PA)๒๓๐๑ ชายแดนภาคใต้ ๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๒ ๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๓ หลักคาสอนของศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ ๘ - ๔ ๕๐ ๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๕ ภาษามลายูพ้ืนเมอื ง (ยะว)ี ๘๘ ๔ ๕๐ ปป.(CP)๒๔๐๓ การปูองกันและปราบปรามการทจุ ริต ๔- ปป.(CP)๒๔๐๔ ๔ ๕๐ ตร.(PT)๒๗๐๑ พระราชบัญญตั ิตารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ๔ - ๔ ๕๐ พล.(PE)๒๗๐๒ ๔๐ ๒๐๐ ระเบียบการตารวจไม่เก่ียวกับคดี ๔- ๕๐ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๑ ๑๘๖ ๑,๖๐๐ กม.(LA)๒๒๐๒ ประวัติ โครงสร้าง ยทุ ธศาสตร์ การบริหารงาน ๔ - กม.(LA)๒๒๐๓ ๓๒ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๔ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ ๓๒ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๖ ๓๒ ๒๐๐ บร.(PA)๒๓๐๔ การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตารวจ ๔ - ๘ ๑๐๐ บร.(PA)๒๓๐๖ ๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๗ มี วิ นั ย แ ล ะ ปู อ ง กั น มิ ใ ห้ ข้ า ร า ช ก า ร ต า ร ว จ ๔ ๕๐ ปป.(CP)๒๔๐๑ ๘ ๑๐๐ กระทาผิดวินยั ๘ ๑๐๐ ๔๘ ๒๐๐ การปฏบิ ตั ิตอ่ เดก็ และสตรี ๔- ตารวจกบั การมีสว่ นร่วมของประชาชน ๔- การฝกึ ตามแบบฝกึ ตารวจและการยงิ ปนื พก ๔๐ พลศกึ ษา/กายบริหาร/ศลิ ปะการปอู งกันตัว ๕๐ รวม ๑๙ วชิ า ๘๐ ๑๐๖ วชิ าเฉพาะ กฎหมายอาญา ๓๒ - กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๓๒ - พระราชบัญญัตทิ ่มี โี ทษทางอาญา ๓๒ - ระเบียบการตารวจเก่ยี วกับคดี ๘- กฎหมายเฉพาะอ่นื ทีเ่ กย่ี วข้องกับการปฏิบัตหิ น้าที่ ๔ - โครงสรา้ งและการปฏบิ ตั ิงานในสถานตี ารวจ ๔ - งานสารบรรณและการเขียนรายงานในหน้าที่ตารวจ ๔ ๔ การสอื่ สารในหนา้ ทต่ี ารวจ ๔๔ การปูองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๑๖ ๓๒ /ปป.(CP)๒๔๐๒...

- ๑๑ - รหัสวชิ า วชิ า จานวนช่ัวโมง รวม คะแนน ทฤษฎี ปฏิบัติ ๔ ๕๐ ปป.(CP)๒๔๐๒ การปอู งกันปราบปรามยาเสพติด ๓๒ ๒๐๐ ปป.(CP)๒๔๐๕ ยุทธวธิ ตี ารวจ ๔- ๒๘ ๒๐๐ สส.(CI)๒๕๐๑ การสบื สวน ๘ ๒๔ ๘ ๑๐๐ สส.(CI)๒๕๐๒ นิตวิ ิทยาศาสตร์ ๑๖ ๑๒ ๘ ๑๐๐ สส.(CI)๒๕๐๓ การทะเบยี นประวตั ิอาชญากร ๔๔ ๘ ๑๐๐ จร.(TC)๒๖๐๑ การจราจร ๔๔ ๒๖๔ ๑,๙๕๐ ๔๔ ๔๕๐ ๓,๕๕๐ รวม รวม ๑๕ วิชา ๑๗๖ ๘๘ ๓๔ ๒๕๖ ๑๙๔ ๒๙.๒ ภาคบรู ณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ลาดบั กจิ กรรม จานวน หมายเหตุ ชว่ั โมง คะแนน กิจกรรมบูรณาการ การฝึกปฏิบัติบูรณาการความรู้จากภาควิชาการ ท้งั ภาคทฤษฎี ๑๖ - การประเมินผล และภาคปฏิบัติ มาฝกึ แก้ไขสถานการณ์การปฏบิ ตั งิ านใน (ปฏิบตั )ิ การฝกึ กจิ กรรม บทบาทเจา้ หนา้ ท่ีตารวจโดยการจาลองสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ บรู ณาการให้ นักเรยี นอบรมหลักสูตรการฝกึ อบรมข้าราชการตารวจและบุคคล คร-ู อาจารยผ์ ูส้ อน ทบ่ี รรจุหรือโอนมาเป็นขา้ ราชการตารวจชนั้ ประทวน หรอื วทิ ยากร (ปฏิบัตกิ ารปูองกันปราบปราม) เพ่ือปฏิบัตงิ านในพื้นท่ีจังหวดั เป็นผู้ประเมินตาม ชายแดนภาคใต้ เกิดการเรยี นรู้จากการฝึกปฏบิ ตั ิงาน(Learning หลักเกณฑท์ ี่ by Doing) อาทิ การรักษาสถานที่เกิดเหตุ การเจรจาต่อรอง กาหนด ชว่ ยเหลอื ตัวประกัน การปิดล้อมจบั กุมคนรา้ ย การไลล่ ่า ตดิ ตามจบั กุมคนรา้ ย การจับกมุ ยาเสพตดิ การเปรียบเทียบ ปรับ การแจ้งเหตปุ ระทุษร้ายตอ่ รา่ งกาย กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร ๑ กจิ กรรมกล่มุ สัมพนั ธ์ ๘ (ปฏบิ ัติ) ๒ การพัฒนาบุคลิกภาพ ทัศนคติ วุฒิภาวะมารยาทสังคม และ ๘ (ทฤษฎ)ี พฤตกิ รรมตารวจ ๓ การบรรยายพเิ ศษ ๘ (ทฤษฎ)ี ๔ การฝกึ หัดขบั รถยนต์และจกั รยานยนต์ นอกเวลา การบรรยายพเิ ศษ เรยี นสัปดาห์ -การเรียนรู้ การ ละ ๒ ช่ัวโมง ดารงชวี ิตตามปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียง /๔ การส่งเสริม...

- ๑๒ - ลาดับ กิจกรรม จานวน หมายเหตุ ชั่วโมง คะแนน ๕ การส่งเสริมการอ่านหนังสือนอกเวลา ๖ ชวั่ โมง -การแก้ไขปัญหาวกิ ฤต ไดแ้ ก่ ตอ่ สัปดาห์/ การกภู้ ยั ชว่ ยเหลอื ประชาชนใน นอกเวลาเรยี น เหตุการณ์ อุบตั ิเหตุ อทุ กภัย อคั คีภัย แผ่นดินไหว ดนิ โคลนถล่ม ๖ การพบปะผูบ้ ังคบั บญั ชา/ผู้ประสบความสาเรจ็ และมีประสบการณ์ นอกเวลา -การเสริมสรา้ งวุฒิภาวะสาหรบั การปฏิบัติงานตารวจ เรียนตาม เบ็ดเตล็ด ความเหมาะสม (ทฤษฎี) พธิ เี ปดิ /ปฐมนเิ ทศ (ทฤษฎ)ี พธิ ีปิด/ปัจฉิมนเิ ทศ ๔ (ทฤษฎ)ี สอบ/ประเมินผลการฝึกอบรม ๔ ๓๒ ๒๙.๓ ภาคการฝกึ หลักสตู รพทิ กั ษ์สนั ติ ลาดบั วิชา จานวนช่ัวโมง รวม หอ้ งเรียน สนาม กลางคนื ๑๒ ๑. อาวธุ ศึกษาและวัตถรุ ะเบิดเบอื้ งตน้ ๑๒ - - ๔๘ - ปลซ. (ปซด.๐๒) ๕ นัด - ปนื พกออโตเมตกิ ขนาด ๙ มลิ ลเิ มตร - ปลย.เอม็ ๑๖,ปลย. ๑๑ (HK ๓๓) - ความร้เู ร่ืองวัตถรุ ะเบดิ และการปฏิบัตเิ ม่ือพบวตั ถรุ ะเบิด หรือวตั ถุต้องสงสัย - การแนะนาอาวธุ ปนื ชนดิ ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ในราชการ ๒ ทักษะทางยทุ ธวิธี ๘ ๓๒ ๘ - บุคคลทาการรบ - รปู ขบวนและสญั ญาณ - การลาดตระเวน - การเคลอ่ื นที่เวลากลางคืน - การซมุ่ โจมตแี ละการต่อตา้ นการซุ่มโจมตี - การยงิ ประกอบการเคลอื่ นท่ี - การปฏิบัติการโดยฉับพลัน - การใชแ้ ผนที่ เข็มทิศ และ GPS สาหรบั นาทาง - การปฐมพยาบาลสนาม - การตัง้ ฐานปฏิบัตกิ าร, การระวังปูองกัน - การดารงชีพในปุา /๓ การควบคมุ ฝงู ชน...

- ๑๓ - ลาดับ วชิ า จานวนชั่วโมง รวม ห้องเรยี น สนาม กลางคืน ๔๘ ๓ การควบคมุ ฝูงชน ๑) หลักในการควบคมุ ฝูงชน ๘ ๔๐ - - จติ วิทยามวลชน ๘ - กฎหมายท่เี กย่ี วกับการชุมนุม ๒ - หลักพื้นฐานการควบคมุ ฝูงชน ๒ - การจัดกาลังพล การจดั อปุ กรณ์ และการจัดการฝึก ๒ ๒) การปฏิบตั ิในการควบคมุ ฝูงชน ๒ -- ๒.๑ ยุทธวิธพี น้ื ฐานการควบคุมฝงู ชน - ๔๐ - - การประกอบกาลงั เปน็ หมู่ - ๘- - การประกอบกาลงั เป็นหมวด - การจัดกาลงั คดั กรอง - ๘- - การจดั วงล้อมเคลอื่ นท่ีและอยกู่ บั ท่ี - การจัดแถว ยดึ เข็มขัด - ๘- - การจับกมุ ๒.๒ ยุทธวิธคี วบคุมฝูงชนขนาดเล็กและขนาดกลาง - การประกอบกาลงั เป็นคตู่ รวจ - การประกอบกาลังเปน็ ชุด - การประกอบกาลังเปน็ หมู่ - การประกอบกาลังเปน็ หมวด - การใชย้ ุทธวธิ ีเคล่ือนไหวกดดัน - การจับกุมในฝงู ชน ๒.๓ รปู ขบวนและอุปกรณ์พเิ ศษในการควบคุมฝูงชน - บคุ คลประกอบกระบองและการใช้กระบอง - บุคคลประกอบโลแ่ ละการใชโ้ ล่ - การประกอบกาลงั เปน็ หมู่ - การประกอบกาลงั เป็นหมวด - การประกอบกาลงั เป็นกองรอ้ ย - การเคล่อื นที่และการแปรรูปขบวน - การใช้อุปกรณ์พเิ ศษ - การจบั กุมขนาดใหญ่ /๒.๔ ชดุ เคลอื่ นท่.ี ..

- ๑๔ - ลาดับ วชิ า จานวนชัว่ โมง รวม ห้องเรียน สนาม กลางคืน ๒.๔ ชุดเคลือ่ นทีเ่ ร็วรักษาความสงบ ๖๔ - แบบ รูปขบวนแถวตอน หรอื ตามหลงั -๘- ๓๐ - จากรปู ขบวนแถวตอนเป็นรูปขบวนหน้ากระดานเขา้ ปะทะ ๑๖ - จากรูปขบวนหน้ากระดานปะทะเป็นรูปขบวนสลับปะทะ -๘- - เจ้าหนา้ ทช่ี ่วยเหลอื ผู้บาดเจบ็ ๖ - การจับกุม ๘ ๒๔ ๓๒ ๒๒๔ ๒.๕ สถานการณส์ มมตุ ิ ๓๐ - - การจดั การเม่อื มีเหตุชุมนมุ - ๑๖ - - การจัดการเมื่อการชุมนมุ เรม่ิ ละเมดิ กฎหมาย ๖- - - การจัดการเมื่อการชมุ นุมมีความรนุ แรง ๔๒ ๑๔๒ ๔๐ - การจดั การเมอ่ื การชุมนุมมีการใชอ้ าวุธ - การจดั การเม่ือการชมุ นุมกลายเปน็ การจลาจล ๔. การฝึกภาคสนาม - การฝกึ ภาคสนามทางยุทธวิธี - ฝกึ ความร้เู ฉพาะทางทีส่ าคัญของแต่ละพื้นท่ี อาทิ การตอ่ ต้านการกอ่ การรา้ ย, การปราบปรามยาเสพตดิ , การอารักขาบุคคลสาคญั ฯลฯ ๕. การยิงปืน - การยงิ ปืน ปลซ.(ปซด.๐๒) ๕ นัด (๕ นดั ต่อคน) - การยงิ ปนื ปลย. เอ็ม ๑๖,ปลย.๑๑(HK ๓๓) (๕๐ นดั ตอ่ คน) ๖. พลานามยั /กายบรหิ าร/ศิลปะการปอู งกนั ตวั ๗. บรรยายพิเศษ อาทิ ปัญหาสังคมไทยที่กระทบต่อการปฏิบัติงาน ของตารวจ,การพูดในทช่ี มุ ชน,ปัญหาความมั่นคงของชาติ, ปัญหา อาชญากรรม เป็นตน้ รวม ขอ้ ๓๐ การจดั การฝกึ อบรม ๓๐.๑ ช่วงระยะเวลาการฝึกอบรม ๓๐.๑.๑ ภาควชิ าการและการฝึก เวลา ๐๕.๓๐ – ๐๖.๓๐ น.ฝกึ พลศกึ ษา/กายบริหาร/ ศิลปะการต่อสู้ปอู งกนั ตัว เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. และ ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. เรยี นวชิ าการในหอ้ งเรียน เวลา ๑๕.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. ยทุ ธวิธ/ี ฝกึ ตามแบบฝกึ ตารวจ /๓๐.๑.๒ ภาคบูรณาการ...

- ๑๕ - ๓๐.๑.๒ ภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ช่วงเวลาท่ีสถานฝึกอบรมกาหนด หลังจากที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ฝึกอบรมภาควิชาการและการฝึก ตามข้อ ๓๐.๑.๑ และห้วงเวลาที่กาหนดใน หลกั สตู ร ๓๐.๑.๓ ภาคการฝึกหลักสูตรพิทักษ์สันติ ช่วงเวลาท่ีสถานฝึกอบรมกาหนดหลังจาก ทผ่ี ู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้ฝกึ กจิ กรรมบรู ณาการและกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร ตามข้อ ๓๐.๑.๒ ๓๐.๒ แผนการจัดการฝกึ อบรม การฝึกอบรมรายวิชาของภาควิชาการและการฝึก ภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ภาคการฝึกหลกั สูตรพิทกั ษส์ นั ติ มีแผนการจดั การศกึ ษา ดังนี้ ๓๐.๒.๑ ภาควชิ าการและการฝกึ ๒ เดือนคร่ึง (๑๐ สัปดาห)์ ๓๐.๒.๒ ภาคบรู ณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร คร่งึ เดือน (๒ สปั ดาห)์ ๓๐.๒.๓ ภาคการฝกึ หลกั สูตรพทิ กั ษ์สนั ติ ๑ เดือน (๔ สปั ดาห)์ ๓๐.๓ การจดั การฝกึ อบรม ๓๐.๓.๑ ภาควิชาการและการฝึก ๒ เดอื นคร่ึง (๑๐ สปั ดาห)์ จานวน ๔๕๐ ชั่วโมง รหัสวิชา วชิ า จานวนชว่ั โมง คะแนน ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม ศท.(GE)๒๑๐๑ จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๒ มนุษยสมั พันธแ์ ละจติ วทิ ยาสาหรบั ตารวจ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๓ การให้บรกิ ารและจิตสาธารณะ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๔ สทิ ธิมนุษยชนกบั การปฏิบตั งิ านของตารวจ ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๕ ภาษาอังกฤษในหนา้ ท่ตี ารวจ ๔ ๔ ๘ ๑๐๐ ศท.(GE)๒๑๐๖ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปฏบิ ัติงานตารวจ ๔ ๔ ๘ ๑๐๐ ศท.(GE)๒๑๐๗ ความรู้เกยี่ วกับประชาคมอาเซยี น ๔ - ๔ ๕๐ ศท.(GE)๒๑๐๘ วิ ถี ชี วิ ต ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ส ถ า น ก า ร ณ์ ใ น จั ง ห วั ด ๘ - ๘ ๑๐๐ ชายแดนภาคใต้ ศท.(GE)๒๑๐๙ หลักคาสอนของศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ ๘ - ๘ ๑๐๐ ศท.(GE)๒๑๑๐ ภาษามลายพู ื้นเมอื ง (ยะว)ี ๘ ๘ ๑๖ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๑ กฎหมายอาญา ๓๒ - ๓๒ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๒ กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา ๓๒ - ๓๒ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๓ พระราชบญั ญัตทิ ่ีมีโทษทางอาญา ๓๒ - ๓๒ ๒๐๐ กม.(LA)๒๒๐๔ ระเบียบการตารวจเกย่ี วกบั คดี ๘ - ๘ ๑๐๐ กม.(LA)๒๒๐๕ การปอู งกนั และปราบปรามการทุจริต ๔ - ๔ ๕๐ กม.(LA)๒๒๐๖ กฎหมายเฉพาะอ่ืนทเี่ กย่ี วข้องกับการปฏิบัติหน้าท่ี ๔ - ๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๑ พระราชบญั ญตั ิตารวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ๔ - ๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๒ ระเบยี บการตารวจไม่เก่ยี วกับคดี ๔ - ๔ ๕๐ /บร.(PA)๒๓๐๓...

- ๑๖ - รหัสวชิ า วชิ า จานวนชั่วโมง คะแนน ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม บร.(PA)๒๓๐๓ ๕๐ ประวัติ โครงสรา้ ง ยุทธศาสตร์ การบริหารงาน ๔ - ๔ บร.(PA)๒๓๐๔ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๕ สานกั งานตารวจแห่งชาติ ๕๐ บร.(PA)๒๓๐๖ โครงสรา้ งและการปฏบิ ัติงานในสถานตี ารวจ ๔- ๔ ๑๐๐ บร.(PA)๒๓๐๗ ๑๐๐ ปป.(CP)๒๔๐๑ การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการตารวจมี ๔ - ๔ ๒๐๐ ปป.(CP)๒๔๐๒ ๕๐ ปป.(CP)๒๔๐๓ วนิ ยั และปูองกันมิให้ขา้ ราชการตารวจกระทาผดิ วินัย ๕๐ ปป.(CP)๒๔๐๔ ๕๐ ปป.(CP)๒๔๐๕ งานสารบรรณการเขียนรายงานในหน้าที่ตารวจ ๔ ๔ ๘ ๒๐๐ สส.(CI)๒๕๐๑ ๒๐๐ สส.(CI)๒๕๐๒ การสือ่ สารในหนา้ ที่ตารวจ ๔๔ ๘ ๑๐๐ สส.(CI)๒๕๐๓ ๑๐๐ จร.(TC)๒๖๐๑ การปูองกันและปราบปรามอาชญากรรม ๑๖ ๓๒ ๔๘ ๑๐๐ ตร.(PT)๒๗๐๑ ๒๐๐ พล.(PE)๒๗๐๒ การปูองกันปราบปรามยาเสพติด ๔- ๔ ๒๐๐ การปฏบิ ัติต่อเด็กและสตรี ๔- ๔ ตารวจกบั การมีส่วนรว่ มของประชาชน ๔- ๔ ยทุ ธวิธตี ารวจ ๘ ๒๔ ๓๒ การสืบสวน ๑๖ ๑๒ ๒๘ นติ วิ ิทยาศาสตร์ ๔๔ ๘ การทะเบียนประวัติอาชญากร ๔๔ ๘ การจราจร ๔๔ ๘ การฝกึ ตามแบบฝกึ ตารวจและการยงิ ปืนพก - ๔๐ ๔๐ พลศกึ ษา/กายบริหาร/ศิลปะการปอู งกนั ตวั - ๕๐ ๕๐ รวม ๓๔ วชิ า ๒๕๖ ๑๙๔ ๔๕๐ ๓,๕๕๐ ๓๐.๓.๒ ภาคบรู ณาการและกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร ระยะเวลา ครงึ่ เดอื น (๒ สัปดาห)์ ๓๐.๓.๒.๑ กิจกรรมบูรณาการ เป็นการฝึกปฏิบัติบูรณาการความรู้จาก ภาควิชาการท้ังภาคทฤษฎีและภาคการฝึกปฏิบัติ มาฝึกแก้ไขสถานการณ์การปฏิบัติงานในบทบาทของเจ้าหน้าที่ตารวจ โดยการจาลองสถานการณ์ต่าง ๆ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติ (Learning by Doing) อาทิ การรักษาสถานท่ีเกิดเหตุ การเจรจาต่อรองช่วยเหลือตัวประกัน การปิดล้อมจับกุมคนร้าย การไล่ล่าติดตาม จับกุมคนรา้ ย การจับกมุ ยาเสพตดิ การเปรยี บเทียบปรับ การแจ้งเหตปุ ระทุษร้ายต่อร่างกาย ๓๐.๓.๒.๒ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนให้ การฝึกอบรมภาควชิ าการและการฝกึ ไดผ้ ลสมั ฤทธิต์ ามความม่งุ หมายและวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู รท่กี าหนดไว้ ๓๐.๓.๒.๓ เบ็ดเตล็ด เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมสนับสนุนให้กระบวนการฝึกอบรม มีความสมบรู ณ์ ประกอบดว้ ย พิธีเปิด/ปฐมนิเทศพิธีปดิ /ปจั ฉิมนิเทศ และ สอบ/ประเมินผลการฝกึ อบรม ๓๐.๓.๓ ภาคการฝึกหลกั สูตรพิทักษ์สนั ติระยะเวลา ๑ เดอื น เป็นการฝึกปฏิบัติภาคสนามในการปูองกันและปราบปรามอาชญากรรม และการควบคุมฝูงชนที่เหมาะสมกบั สภาพท้องถน่ิ และสถานการณ์ปัจจุบัน /ขอ้ ๓๑ ขอบเขตรายวิชา...

- ๑๗ - ข้อ ๓๑ ขอบเขตรายวิชา หมวดวิชา/รหัสวชิ า/วชิ า ขอบเขตรายวชิ า หมวดวิชาการศกึ ษาท่ัวไป ๑. ศท.(GE)๒๑๐๑ : - ความหมายของคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ จริยธรรมและจรรยาบรรณ - กรอบแห่งการประพฤติปฏบิ ัติของขา้ ราชการตารวจ ตามประมวลจริยธรรม ของตารวจ และจรรยาบรรณของตารวจ พ.ศ.๒๕๕๓ (แนบท้าย กฎ ก.ตร.ว่าด้วย ประมวลจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๓) - มาตรฐานคุณธรรมและอดุ มคตขิ องตารวจ - มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของตารวจ - จริยธรรมในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทขี่ องตารวจ - การเสรมิ สร้างคุณธรรมและจรยิ ธรรมใหเ้ กดิ จิตสานึกของตารวจ - การนาหลักธรรมคาสอนของศาสนามาปรับใช้ในการปฏิบัติงานและการ ดารงชีวติ ๒. ศท.(GE)๒๑๐๒ : - ความหมายและความสาคัญของมนุษยสัมพนั ธ์ มนุษยสัมพันธ์และจิตวิทยา - หลกั ทฤษฎีและเทคนคิ มนษุ ยสมั พนั ธ์ ตารวจ - กระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธแ์ ละการสรา้ งความร่วมมอื ในการทางานเปน็ ทมี - จิตวิทยาในการปฏบิ ัตงิ านตารวจ ๓. ศท.(GE)๒๑๐๓ : - หลกั การและแนวคดิ เก่ยี วกับการให้บริการ การใหบ้ ริการและจิต - การปลกู ฝังจติ สานกึ ในการบริการ สาธารณะ - ทกั ษะและคุณลกั ษณะที่จาเปน็ สาหรับการให้บริการ - การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพของผใู้ หบ้ ริการ - คณุ ธรรมและจริยธรรมสาหรับผ้ใู ห้บริการ - การสื่อสารเพื่อการบรกิ าร - การให้บริการเพอื่ ครองใจลูกค้าหรอื ประชาชนแบบย่งั ยนื - การทางานเพอ่ื การใหบ้ รกิ ารท่ีเปน็ เลศิ - ความหมายของจติ สาธารณะ - ปจั จยั ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดจติ สาธารณะ - จิตสาธารณะกบั การพัฒนาสังคมไทย - ความสาคัญของการมีจติ สาธารณะ - ลกั ษณะของผูม้ ีจิตสาธารณะ - การพฒั นาจติ สาธารณะ - แนวทางการสร้างจิตสาธารณะ /๔ ศท.(GE)๒๑๐๔ :...

- ๑๘ - หมวดวิชา/รหัสวชิ า/วิชา ขอบเขตรายวชิ า ๔ ศท.(GE)๒๑๐๔ : - แนวคดิ และหลกั การของสทิ ธมิ นุษยชน สิทธิมนุษยชนกับการ - ปฏิญญาสากลว่าดว้ ยสทิ ธิมนษุ ยชน ปฏบิ ตั งิ านของตารวจ - สนธิสญั ญา สิทธมิ นษุ ยชนระหว่างประเทศ - สทิ ธมิ นษุ ยชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ - กลไกการคมุ้ ครองสิทธิมนษุ ยชน - หลักการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตารวจในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ได้แก่ หลกั ประกันสิทธขิ องผตู้ อ้ งหา ผู้เสยี หาย พยาน - การปฏิบัตเิ พ่ือมิให้ละเมดิ สิทธิบุคคลทัว่ ไป /อนุสญั ญาการทรมาน - การปฏิบัติเพ่ือคุ้มครองสิทธิบุคคลท่ีมีความผิดปกติทางจิตตาม พระราชบญั ญตั ิสุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ - การปูองกนั การตตี ราและเลือกปฏบิ ัติในกลุ่มเจ้าหน้าทต่ี ารวจต่อผู้ปวุ ยเอดส์ ๕ ศท.(GE)๒๑๑๐๕ : - การฝึกทักษะในการฟัง พูดอ่าน ออกเสียง และเขียนภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ ภาษาอังกฤษในหนา้ ทีต่ ารวจ ในการติดต่อสื่อสารเกี่ยวกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ การกล่าวทักทายและการแนะนาตัว การร้องขอ การเสนอให้ความ ชว่ ยเหลือการบอกทาง การบอกเวลา การพดู โทรศพั ท์ การนัดหมาย - คาศัพท์เกีย่ วกับงานตารวจ - การฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่าน ออกเสียง และเขียนภาษาอังกฤษเพื่อใช้ ในการปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ทต่ี ารวจ ได้แก่ การสอบถามเก่ียวกับรูปพรรณของ คนร้าย สถานที่เกิดเหตุ ทรัพย์สิน อาการและสวัสดิภาพของผู้แจ้งความ การแจ้งจบั การจราจรการขอความร่วมมือในการสอบสวนการสอบปากคา การขอตรวจบัตร การเขยี นรายงานต่าง ๆ คาขอบคุณ - การบอกลักษณะ บุคคล เคร่ืองแต่งกายและส่ิงของต่างๆ เช่น หน้า สีผิว ตาหนิ ขนาดของร่างกาย สว่ นสูง - คาศัพทเ์ กีย่ วกับงานตารวจ เช่น ยศ ตาแหน่ง หน่วยงานและคาศัพท์อื่น ๆ /ศท.(GE)๒๑๐๖: ...

- ๑๙ - หมวดวิชา/รหัสวิชา/วิชา ขอบเขตรายวิชา ๖ ศท.(GE)๒๑๐๖: - ความรู้เกย่ี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการ - ความร้คู อมพิวเตอรพ์ ื้นฐาน ปฏิบัติงานตารวจ - การใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู - ระบบสารสนเทศของสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ (Polis) - การเช่อื มโยงระบบภายใน (Intranet) - การเช่อื มโยงระบบภายนอกหน่วยงาน (Internet) - การเผยแพรแ่ ละการสืบค้นขอ้ มูลผา่ นระบบเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต (Web and Network) - เครื่องมอื หรอื อปุ กรณท์ างเทคโนโลยีสมยั ใหมท่ จี่ าเป็นตอ่ การปฏิบัติหนา้ ทต่ี ารวจ - การจดั เก็บข้อมูลไวใ้ นระบบฐานข้อมลู คอมพิวเตอร์ - จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๗ ศท.(GE)๒๑๐๗: - ความเปน็ มาและความสาคญั ของอาเซยี น ความรเู้ กยี่ วกับประชาคม - กฎบตั รอาเซยี น อาเซียน - เสาหลกั แหง่ ความรว่ มมือของประชาคมอาเซียน - บทบาทประเทศไทยตอ่ อาเซียน - บทบาทและหน้าที่ตารวจในการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น - กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ความร่วมมอื ระหว่างประเทศและการบังคับใชก้ ฎหมาย - ผลกระทบของการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ได้แก่ อาชญากรรม ข้ามชาติ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การค้ามนุษย์ - แผนงานตารวจเพือ่ รองรับประชาคมอาเซยี น ๘. ศท.(GE)๒๑๐๘ - การดารงอยู่และประชาชนทอี่ าศัยอยใู่ นพ้นื ทภี่ าคใต้ วถิ ีชวี ติ ประชาชนและ - สงั คมและวฒั นธรรมของคนในภาคใต้ สถานการณ์ ในจังหวดั ชายแดน - อาชีพและสภาพเศรษฐกิจในภาคใต้ ภาคใต้ - ความสมั พนั ธ์ของประชาชนในพน้ื ทภี่ าคให้กบั ประเทศเพื่อนบา้ น - สถานการณ์และสภาพปญั หาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ - เร่ืองราวทเ่ี กีย่ วข้องกบั ภาคใต้ในดา้ นตา่ งๆ ๙. ศท.(GE)๒๑๐๙ - หลกั คาสอนและแนวปฏบิ ตั ิของศาสนาอิสลาม หลักคาสอนของศาสนาอิสลาม - หลกั คาสอนและแนวปฏบิ ตั ขิ องศาสนาพทุ ธ และศาสนาพุทธ - ความสัมพนั ธ์และความเอ้ืออาทรของประชาชนท่ีนับถือศาสนาอิสลามและ ศาสนาพทุ ธ ๑๐. ศท.(GE)๒๑๑๐ - ความเปน็ มาของภาษามลายพู น้ื เมอื ง (ยะว)ี ภาษามลายูพื้นเมอื ง (ยะว)ี - คาและความหมายของภาษามลายูพื้นเมือง (ยะวี) ท่ีใช้ในชีวิตประจาวัน ติดตอ่ สือ่ สาร คาที่สุภาพ/ไม่สภุ าพ - การฝกึ การพูดภาษามลายูพ้นื เมอื ง (ยะวี) /หมวดกฎหมาย...

- ๒๐ - หมวดวชิ า/รหัสวชิ า/วิชา ขอบเขตรายวิชา หมวดกฎหมาย ๑. กม.(LA)๒๒๐๑: - โครงสร้างและความผดิ ทางอาญา กฎหมายอาญา - บทนยิ าม - การใชก้ ฎหมายอาญา - ความรับผดิ ทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๑ - การพยายามกระทาความผดิ - ตัวการ ผใู้ ช้ และผสู้ นับสนุน - ความผดิ เก่ียวกับความม่นั คงแหง่ ราชอาณาจักร - ความผิดเกีย่ วกับการปกครอง - ความผิดเก่ียวกับศาสนา - ความผดิ เกย่ี วกับความสงบสขุ ของประชาชน - ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง - ความผดิ เกย่ี วกบั การคา้ - ความผดิ เก่ยี วกับเพศ - ความผดิ เก่ยี วกับชวี ติ และรา่ งกาย - ความผดิ เกี่ยวกับเสรภี าพและชอื่ เสียง - ความผดิ เกยี่ วกบั ทรัพย์ - บทบญั ญตั ทิ ่ใี ชก้ ับความผิดลหโุ ทษ - ความผิดลหโุ ทษ ๒. กม.(LA)๒๒๐๒: - คานิยามศพั ท์ กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา - ความผดิ ทางแพ่งและความผิดทางอาญา - ความผิดต่ออาญาแผน่ ดินและความผดิ ต่ออาญาสว่ นตวั - อายคุ วามรอ้ งทกุ ข์ หมายเรียก หมายอาญา - การจับ ได้แก่ การจบั แบบมหี มายจับและไมม่ หี มายจับ หลกั ปฏิบัตใิ นการจับ ขั้นตอนการจับและยกคดตี ัวอย่าง /การคน้ ได้แก่...

- ๒๑ - หมวดวิชา/รหัสวิชา/วชิ า ขอบเขตรายวิชา - การค้น ได้แก่ ผู้มอี านาจตรวจค้น การค้นแบบมีหมายค้นและไม่มีหมายค้น เหตกุ ารตรวจคน้ เหตกุ ารณอ์ อกหมายคน้ ผมู้ อี านาจออกหมาย ผู้ขอหมาย วิธีการจัดการตามหมายค้น เวลาในการค้นและวิธีปฏิบัติในการตรวจค้น ท่ีรโหฐานและการยกคดตี ัวอยา่ ง - การควบคุมตวั ไดแ้ ก่ วิธีการควบคมุ ผู้ถูกจับ ผมู้ ีอานาจควบคมุ ตวั ผ้ถู กู ควบคมุ ตวั การนับระยะเวลาการควบคมุ ตวั และการยกคดีตัวอยา่ ง - พยานหลักฐาน ได้แก่ ประเภทพยานหลกั ฐานในคดีอาญา การรับ ฟังพยานหลักฐานในคดีอาญา การรวบรวมพยานหลกั ฐานในคดอี าญา และการยกคดตี ัวอยา่ ง ๓. กม.(LA)๒๒๐๓ : - พระราชบัญญตั ิการพนนั พ.ศ.๒๔๗๘ พระราชบัญญัติท่ีมีโทษทาง - พระราชบัญญตั อิ าวุธปนื พ.ศ.๒๔๙๐ อาญา - พระราชบญั ญตั สิ ถานบรกิ าร พ.ศ.๒๕๐๙ - พระราชบญั ญัติสุรา พ.ศ.๒๔๙๓ - พระราชบัญญัติควบคมุ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.๒๕๕๑ - พระราชบญั ญตั ิปอู งกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณี พ.ศ.๒๕๓๙ - กฎหมายเกี่ยวกบั การค้ามนุษย์ - พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน - พระราชบญั ญัติการทางานคนตา่ งดา้ ว - พระราชบัญญัตคิ นเข้าเมือง พ.ศ.๒๕๒๒ - พระราชบัญญัตวิ ่าดว้ ยการกระทาความผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๑ - พระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ - พระราชบัญญตั ิปาุ ไม้ พ.ศ.๒๕๔๘ - พระราชบัญญตั ภิ าพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ.๒๕๕๑ - พระราชบญั ญัติโรงแรม พ.ศ.๒๕๔๗ ๔. กม.(LA)๒๒๐๔ - อานาจหน้าท่ีของตารวจ ได้แก่ อานาจหน้าทีข่ องตารวจตาม ระเบียบการตารวจเก่ยี วกบั คดี ระเบียบการตารวจเกี่ยวกับคดี ประกอบด้วย การจบั กมุ การ ควบคุม การค้น และการเป็นพยานศาล - ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการปฏิบัตแิ ละประสานงาน กรณที หารถูกกลา่ วหาวา่ กระทาความผิดอาญา พ.ศ.๒๕๕๔ /กม.(LA)๒๒๐๖ ...

- ๒๒ - หมวดวชิ า/รหสั วิชา/วชิ า ขอบเขตรายวชิ า ๕. กม.(LA)๒๒๐๕ : - องค์กรที่มีอานาจหนา้ ที่ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ย การปูองกันและปราบปราม การปูองกนั ปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๒ การทจุ รติ - พระราชบัญญตั ิมาตรการของฝาุ ยบริหารในการปอู งกนั และปราบปราม การทุจรติ พ.ศ.๒๕๕๑ - คดีอาญาท่ีอย่ใู นอานาจการไต่สวนข้อเท็จจรงิ ของคณะกรรมการปอู งกัน และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (ป.ป.ช.) และคณะกรรมการปูองกนั และปราบปรามการทจุ ริตในภาครัฐ (ป.ป.ท.) - ช่องทางทีผ่ เู้ สียหายจะร้องทุกข์กลา่ วโทษ - การดาเนินการหลงั จากผ้เู สียหายรอ้ งทุกข์กล่าวโทษตอ่ พนกั งานสอบสวน - อานาจหน้าทใ่ี นการไตส่ วนขอ้ เท็จจริง ของ ป.ป.ช./ป.ป.ท. - การดาเนินการทางวนิ ยั กรณขี ้าราชการตารวจถกู กลา่ วหาทุจรติ ฯ - การส่งั พักราชการของผ้บู ังคบั บัญชากรณขี ้าราชการตารวจถูกกล่าวหา ทุจรติ ฯ - การลงโทษทางวนิ ยั ของผบู้ ังคบั บญั ชาหลัง ป.ป.ช.ไต่สวนมมี ูลผิดวนิ ยั - ระดบั โทษกรณที จุ รติ ฯ - การดาเนนิ คดีอาญาหลังจาก ป.ป.ช./ป.ป.ท. มีมติผดิ อาญา - การอุทธรณ์คาส่ังลงโทษ - คาส่ังวนิ ิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญ - การให้อานาจ ป.ป.ช. สง่ เร่ืองท่เี หน็ สมควรให้ผู้บงั คับบัญชาดาเนินคดีอาญา หรอื คดีวินยั ภายในอานาจ ๖. กม.(LA)๒๒๐๖: - กฎหมายรัฐธรรมนญู เกย่ี วกับสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย กฎหมายเฉพาะอ่ืนที่ - สิทธิและเสรภี าพส่วนบุคคล เกย่ี วข้องกบั การปฏิบตั ิหนา้ ท่ี - สิทธใิ นกระบวนการยุตธิ รรม - สทิ ธิในทรัพยส์ ิน - สิทธแิ ละเสรภี าพในการประกอบอาชพี - สทิ ธใิ นขอ้ มลู ข่าวสารและการรอ้ งเรยี น - เสรีภาพในการชมุ นุม - กฎหมายปกครองเกย่ี วกับการกระทาของฝาุ ยปกครอง - ดลุ พินิจฝาุ ยปกครอง - หลักเกณฑ์วธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง - ความรบั ผิดทางละเมดิ ของเจ้าหน้าท่ี - ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง - กฎหมายเลอื กตง้ั เกี่ยวกับการกระทาผดิ กฎหมายเลอื กตงั้ /หมวดการบรหิ ารงานตารวจ...

- ๒๓ - หมวดวิชา/รหัสวชิ า/วิชา ขอบเขตรายวิชา หมวดการบรหิ ารงานตารวจ ๑. บร.(PA)๒๓๐๑: - หลักการการตราพระราชบัญญตั ิตารวจแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ - อานาจหน้าที่ของสานักงานตารวจแหง่ ชาติ พระราชบญั ญตั ิตารวจ - การจดั ระเบียบราชการในสานักงานตารวจแห่งชาติ ได้แก่ การแบ่งสว่ น แหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ ราชการ อานาจหนา้ ท่ีของผ้บู ังคับบัญชาในระดับสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ ๒. บร.(PA)๒๓๐๒: ระดับกองบญั ชาการและระดับกองบังคบั การ ยศตารวจและชัน้ ขา้ ราชการ ระเบยี บการตารวจไม่ ตารวจ เกี่ยวกับคดี - คณะกรรมการท่สี าคัญของสานักงานตารวจแหง่ ชาติ ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.), ๓. บร.(PA)๒๓๐๓: คณะกรรมการข้าราชตารวจ (ก.ตร.) ประวตั ิ โครงสร้าง - ระเบียบขา้ ราชการตารวจ ได้แก่ ตาแหน่งและการกาหนดตาแหนง่ ยทุ ธศาสตร์และการ การบรรจุ การแต่งต้งั เงินเดือน เงินประจาตาแหนง่ เงนิ เพิ่มอ่ืน บริหารงานสานักงาน การเล่ือนขั้นเงินเดือน การรักษาราชการแทน การปฏิบตั ิราชการแทน ตารวจแห่งชาติ วินัยและการรักษาวนิ ัย เคร่ืองแบบตารวจ กองทุนสืบสวนสอบสวนคดีอาญา - ระเบยี บปฏบิ ตั ขิ องขา้ ราชการตารวจ ความประพฤตแิ ละระเบยี บวนิ ัย การแต่งเครอื่ งแบบการพกพาอาวุธการลา การเคารพกองเกยี รติยศ หน้าท่กี ารทางานของตาแหนง่ งาน สิทธิประโยชนแ์ ละสวัสดกิ าร ของขา้ ราชการตารวจ การประดับเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์ การลาของสามี ในการคลอดของภรรยา - ประวตั ิตารวจไทยและตราสญั ลักษณ์ตารวจ - โครงสร้างสานกั งานตารวจแหง่ ชาติ ไดแ้ ก่ การแบ่งส่วนราชการสานักงาน ตารวจแห่งชาติ การจัดระเบยี บราชการในสานักงานตารวจแหง่ ชาติ การบังคับบัญชาสานักงานตารวจแหง่ ชาติ - การบรหิ ารงานและการกากับดูแลสานกั งานตารวจแห่งชาติ ไดแ้ ก่ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ คณะกรรมการนโยบายตารวจแห่งชาติ (ก.ต.ช.) คณะกรรมการข้าราชการตารวจ (ก.ตร.) คณะกรรมการตรวจสอบและ ติดตามการบริหารงานตารวจ (กต.ตร.) - ยทุ ธศาสตรส์ านกั งานตารวจแหง่ ชาติ ได้แก่ นโยบายสานกั งานตารวจแห่งชาติ ยุทธศาสตร์และกลยุทธต์ ามแผนปฏบิ ัติราชการ /๔ บร.(PA)๒๓๐๔...

- ๒๔ - หมวดวิชา/รหัสวชิ า/วชิ า ขอบเขตรายวชิ า ๔. บร.(PA)๒๓๐๔: - โครงสร้างสถานตี ารวจ โครงสรา้ งและการ - ลักษณะงานในสถานตี ารวจ ปฏิบตั งิ านในสถานีตารวจ - การกาหนดหวั หนา้ งานในสถานีตารวจ - อานาจหนา้ ท่ีในตาแหนง่ ของสถานีตารวจในงานต่าง ๆ ได้แก่ งานอานวยการ งานปูองกนั ปราบปราม งานจราจร งานสบื สวน งานสอบสวนงานปฏิบตั ิการพิเศษ - วิธีปฏบิ ตั ิงานภายในสถานีตารวจ - การดาเนนิ งานตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน งานอานวยการเบอ้ื งตน้ ในสถานตี ารวจ ไดแ้ ก่ งานกาลงั พล งานธุรการสารบรรณ งานงบประมาณการเงนิ งานพสั ดุ งานพลาธิการ งานนโยบายและแผน ๕. บร.(PA)๒๑๓๐๕ : - บททั่วไปเกย่ี วกบั วนิ ัย ได้แก่ กฎหมาย ระเบยี บ คาส่ัง มติคณะรัฐมนตรี การเสรมิ สร้างและพฒั นาให้ จรรยาบรรณ ขา้ ราชการตารวจมีวินยั และ - ฐานความผิดทางวินัยไมร่ ้ายแรง ๑๘ กรณี ปอู งกันมิให้ขา้ ราชการตารวจ - ความผดิ วินัยร้ายแรง ๗ กรณี กระทาผดิ วนิ ัย - โทษทางวนิ ัย ๗ สถาน - การกระทาความผิดทางวนิ ยั - อานาจผบู้ ังคับบัญชาในการดาเนนิ การทางวนิ ยั - สทิ ธิของขา้ ราชการตารวจท่ถี ูกดาเนินการทางวินยั - สทิ ธิในการอุทธรณ์คาสัง่ ลงโทษหรือคาส่งั ให้ออกจากราชการ - สิทธิในการร้องทุกข์ - กระบวนการอุทธรณ์และการรอ้ งทุกข์ /๗ บร.(PA)๒๓๐๗ ...

- ๒๕ - หมวดวชิ า/รหัสวิชา/วิชา ขอบเขตรายวชิ า ๖. บร.(PA)๒๓๐๖ : - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ งานสารบรรณ และการเขียน ว่าด้วยความหมาย คานิยาม ชนิดของหนังสือราชการ การรับและส่ง รายงานในหนา้ ท่ตี ารวจ หนงั สือ การทาลายหนงั สือ มาตรฐานตรา แบบพิมพ์ และซอง - คาอธิบายประกอบระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ ๗. บร.(PA)๒๓๐๗ : พ.ศ.๒๕๒๖ การสอื่ สารในหนา้ ทต่ี ารวจ - การนาระบบสารสนเทศมาใชใ้ นงานสารบรรณ - งานสารบรรณตารวจ - การรักษาความปลอดภัยเอกสารและพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ - การรา่ งหนังสือและการเขียนหนังสอื ราชการ - หลกั การเขียนรายงานในหน้าทตี่ ารวจ - วตั ถปุ ระสงคข์ องการเขียนรายงาน - ลกั ษณะของรายงานประจาวนั - หลกั และวธิ ีการเขียนรายงานประจาวนั - การเก็บรักษาและการทาลายสมุดรายงานประจาวัน - การเขยี นรายงานประจาวนั แบบธรุ การ - การเขียนรายงานประจาวนั เกยี่ วกับคดี - การเขยี นรายงานการสืบสวน - การเขยี นรายงานบันทกึ การตรวจค้น - การเขียนรายงานบันทึกจับกมุ - การรายงานในหน้าท่ีตารวจ ได้แก่ การรายงานตนเม่ือต้องคดีการรายงาน เม่ือถูกอ้างเป็นพยาน การรายงานตนเม่ือได้รับคาส่ังแต่งตั้งย้ายสังกัด การรายงานตนเม่ือผ้บู งั คบั บญั ชาส่ังใหป้ ฏบิ ตั ิการลบั หรือราชการลบั - ฝึกปฏบิ ัติ ไดแ้ ก่ การเขยี นรายงานบันทึกประจาวันการเขียนรายงานบันทึก การจับกุม การเขียนรายงานบนั ทึก การตรวจค้น การรา่ งหนังสือ การพมิ พห์ นังสอื การทารายงานการประชุม - หลกั การตดิ ต่อส่ือสาร - กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับเกีย่ วกบั การสือ่ สาร - มารยาทและวินัยในการติดตอ่ สื่อสาร - ชนิดของวทิ ยสุ อ่ื สารท่ใี ช้ในราชการตารวจ - การพดู วิทยสุ ่ือสาร /- การใชน้ ามเรียกขาน...

- ๒๖ - หมวดวชิ า/รหัสวิชา/วชิ า ขอบเขตรายวชิ า - การใชน้ ามเรยี กขาน หมวดการปอ้ งกันปราบปราม - ประมวลลบั และรหัสการใชว้ ทิ ยุสือ่ สารในงานตา่ ง ๆ อาชญากรรม - หลักความปลอดภยั และข้อปฏิบัตใิ นการใชว้ ิทยสุ ่อื สาร - การรบั สง่ โทรสาร ๑. ปป.(CP)๒๔๐๑ : - การรบั - สง่ อเี มล์ การปูองกันและปราบปราม - การดูแลและการบารงุ รกั ษาวิทยสุ ่ือสาร อาชญากรรม - ฝึกปฏิบตั ิ ไดแ้ ก่ การพูดวทิ ยสุ ่อื สาร การใช้นามเรียกขาน - ฝึกปฏิบตั ิ ได้แก่ การพูดวิทยุสือ่ สาร การใช้นามเรยี กขาน - ความหมาย แหลง่ และประเภทของอาชญากรรม - ปัจจยั เสยี่ งและสาเหตุของการเกดิ อาชญากรรม - เหยอื่ อาชญากรรม - หลกั การทฤษฎีการปูองกันอาชญากรรม - วตั ถุประสงคข์ องการปอู งกนั ปราบปรามอาชญากรรม - เทคนคิ การแก้ปญั หาอาชญากรรม - หลักปฏิบัติในการปูองกันอาชญากรรม ได้แก่ การจัดสายตรวจ ต้ยู าม จุดรับแจง้ เหตุ จุดตรวจค้น และจุดสกัดจับ - การปราบปรามอาชญากรรม - ข้ันตอนการปราบปรามอาชญากรรม ได้แก่ การเฝูาสงั เกต การสืบสวน การจับกมุ และการคน้ - การแก้ไขอาชญากรรม ได้แก่ การลงโทษผกู้ ระทาผิด การคุมประพฤติ และการพักการลงโทษ - อาชญากรรมพเิ ศษ - ประเภทของอาชญากรรมพเิ ศษ ไดแ้ ก่ อาชญากรรมทาง - เศรษฐกิจ อาชญากรรมการก่อการร้ายขา้ มชาติ อาชญากรรม การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ - การปฏบิ ตั ิเกยี่ วกับการรับแจ้งเหตุ การตรวจค้น การสกดั จับ - เทคโนโลยีท่ีเสรมิ สร้างงานปอู งกนั ปราบปรามอาชญากรรม - เชน่ ทีวีวงจรปดิ สญั ญาณเตอื นภยั หรอื Social media - งานตารวจสายตรวจ /- หลักการของตารวจ...

- ๒๗ - หมวดวิชา/รหัสวิชา/วชิ า ขอบเขตรายวชิ า - หลักการของตารวจสายตรวจ - อานาจหน้าทแี่ ละการปฏิบัตงิ านในหน้าท่ี - เวรยามสายตรวจ - อานาจหน้าที่ของตารวจยาม - การปฏิบตั หิ น้าทต่ี ามลักษณะงานของตารวจยาม - วัตถุประสงคแ์ ละความสาคัญของตารวจสายตรวจ - ประเภทและรปู แบบของงานสายตรวจ - อานาจหนา้ ท่ีของสายตรวจ - หลักและข้นั ตอนของการบริหารงานสายตรวจ - การปฏิบัติหน้าทีต่ ารวจสายตรวจและการระงับเหตตุ ่าง ๆ - การชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย และภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ - การจดั ทาแผนเผชิญเหตรุ ะดับสถานตี ารวจ - การเขยี นแผนทีส่ ถานท่เี กดิ เหตุ - การรักษาสถานท่เี กดิ เหตุ - การรายงานสายตรวจเสนอผู้บงั คบั บญั ชา - การปฏบิ ัติเกยี่ วกบั การเผชญิ เหตุ การระงับเหตุตา่ ง ๆ - การปฏิบัตงิ านตารวจสายตรวจ - การถวายความปลอดภัยสาหรบั พระมหากษัตริย์ พระราชินี พระรัชทายาท ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ผู้แทนพระองค์และ พระราชอาคันตกุ ะ - การชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภัย และภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ ๒. ปป.(CP)๒๔๐๒: - ความหมาย ชนิด ประเภทของยาเสพติด การปูองกันปราบปรามยาเสพติด - โทษของยาเสพติด - สถานการณก์ ารระบาดของยาเสพติดทเ่ี กดิ ข้นึ ในประเทศไทย - เทคนิคและวิธีการสงั เกตบุคคลทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับยาเสพติด - การตรวจพสิ ูจนย์ าเสพติด - การคดั กรองบุคคลต้องสงสัยและยานพาหนะเพ่ือตรวจคน้ - การจับกมุ ยาเสพตดิ - หลกั และวิธกี ารปอู งกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด - พระราชบัญญตั ยิ าเสพตดิ ให้โทษและกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง - การปฏิบตั ิเกย่ี วกับ การตรวจพสิ ูจน์ยาเสพตดิ การตรวจค้นบุคคลต้องสงสัย การตรวจค้นยานพาหนะ การจบั กุมยาเสพติด /๓ ปป.(CP)๒๔๐๓...

- ๒๘ - หมวดวิชา/รหัสวชิ า/วชิ า ขอบเขตรายวชิ า ๓. ปป.(CP)๒๔๐๓: - สทิ ธิเด็กตามอนุสัญญาว่าดว้ ยสทิ ธิเด็ก พ.ศ.๒๕๓๕ การปฏบิ ัตติ อ่ เด็กและสตรี - กฎหมายเกยี่ วกับการคุ้มครองเดก็ - กฎหมายเกี่ยวกบั ผถู้ กู กระทาด้วยความรนุ แรงในครอบครัว - สาเหตกุ ารกระทาผิดของเด็ก - การปูองกันการกระทาผิดของเด็ก - การสงเคราะหแ์ ละค้มุ ครองสวัสดภิ าพของเด็กตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ - การปฏิบัติต่อเด็กในส่วนท่ีเก่ียวกับคดีและในส่วนท่ีไม่เกี่ยวกับคดี การปฏิบตั แิ ละการค้มุ ครองสิทธิสตรี แนวทางการปฏิบัติในคดีเก่ียวกับเพศ ของเด็กและสตรี ๔. ปป.(CP)๒๔๐๔ : - หลักการและแนวคดิ เกี่ยวกบั กจิ การงานตารวจกับการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน การตารวจกับการมีส่วนร่วม - กฎหมาย ระเบยี บ และคาสงั่ ท่ีเกยี่ วข้องตามแนวนโยบายด้านการมสี ว่ นรว่ ม ของประชาชน ของประชาชนกับกิจการงานตารวจใหเ้ กดิ ผลในทางปฏบิ ตั ิ ได้แก่ ระเบียบ ก.ต.ช. วา่ ดว้ ยคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบริหารงานตารวจ พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบียบ ก.ต.ช. วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ ีการส่งเสริม ใหท้ อ้ งถิ่นและชุมชน มีส่วนร่วมในกิจการตารวจ พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบยี บ ก.ต.ช. ว่าดว้ ยการรับคารอ้ งหรอื ข้อเสนอแนะของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๙ ระเบียบ ตร.ว่าด้วยการสง่ เสริมให้ประชาชน ชมุ ชน ท้องถนิ่ และองคก์ ร- มีส่วนรว่ มในกิจการตารวจ พ.ศ.๒๕๕๑ คาส่ัง ตร.ท่ี๕๑๓/๒๕๕๔ ลงวนั ที่ ๒๓ ส.ค.๒๕๕๔ เรื่องโครงการตารวจชมุ ชน - ความเป็นมาของงานตารวจชมุ ชน - ความสาคัญของงานชุมชน - ลกั ษณะงานชมุ ชนสัมพนั ธ์ ได้แกก่ ารประชาสัมพนั ธ์การให้บรกิ ารแก่ชุมชน และการมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมต่าง ๆในชมุ ชน - ยทุ ธวธิ ีและข้ันตอนการดาเนินงานชมุ ชน - การดาเนินงานตามโครงการตารวจชุมชน - การฝกึ ปฏิบัตกิ ิจกรรมการมสี ่วนรว่ มของประชาชน ๕. ปป.(CP)๒๔๐๕:ยุทธวธิ ตี ารวจ - ยุทธวิธีการรอดพ้นอันตรายของเจ้าหน้าท่ี (Officer Survival Tactics) ได้แก่ องค์ประกอบการรอดพ้นอันตรายของเจ้าหน้าที่ ระดับการใช้กาลัง ของเจ้าหน้าที่ การยืนในท่าเตรียมพร้อมและหลักการเผชิญหน้า-คุ้มกัน การตรวจค้นตัวบคุ คล การนาคนร้าย ลงพ้ืน (Take Down) และการจับกุม การควบคุมและการใช้ เคร่อื งพันธนาการ - ยุทธวิธกี ารปอู งกันตวั และแก้ปญั หาของเจ้าหนา้ ที่ ได้แก่ การปูองกันตัว เมื่อถูกแทงด้วยมดี การปูองกันเมื่อถูกตีหรอื ฟนั การแก้ปัญหาเมื่อถูกแย่งปนื จากซอง การแกป้ ัญหาเม่ือถูกจ้ดี ว้ ยปืน /- ยุทธวธิ กี ารปอู งกันตวั ...

- ๒๙ - หมวดวิชา/รหัสวิชา/วิชา ขอบเขตรายวชิ า - การใช้อาวธุ ทางยุทธวิธี ได้แก่ การใช้กระบองทางยุทธวธิ กี ารใช้อาวุธปนื ทางยทุ ธวธิ ี - การหยุดยานพาหนะและการควบคุมผู้ครอบครอง (Vehicle Stops and Occupants Control) ได้แก่ การตั้งจุดตรวจ และจุดสกัด การไล่ติดตาม การส่งั หยดุ รถประเภทตา่ งๆ การวางตาแหนง่ รถผู้ปฏิบัติการ การลงจากรถ ปฏิบัติการเดินเข้าหาผู้กระทาผิดที่มีความเส่ียงซึ่งไม่ทราบที่มา การปฏิบัติ ของเจ้าหน้าท่ีในการสั่งรถที่มีความเสี่ยงย่ิงข้ึน การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ในการส่งั หยุดรถในกรณพี ัวพันกบั การกระทาผิดอุกฉกรรจ์ - การตรวจค้นอาคารสถานท่ี ได้แก่ จุดมุ่งหมายและความสาคัญ หลักพื้นฐานการตรวจค้นอาคารสถานที่ ทัศนสัญญาณในการปฏิบัติ ตรวจค้นอาคารสถานท่ี ยทุ ธวิธีการเขา้ ห้องแบบตา่ งๆ - การแก้ไขปัญหาวิกฤติและการเจรจาต่อรอง ได้แก่ ความหมายของ เหตุวิกฤติ แนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุวิกฤติ ความหมายและจุดมุ่งหมาย ของการเจรจาต่อรอง เทคนิคในการเจรจาต่อรอง หลักการเจรจาทั่วไปของ เจ้าหน้าที่เจรจาเบ้ืองต้น ข้อแนะนาในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ ท่ีประสบเหตุกรณจี ับตัวประกัน - การรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคัญ ได้แก่ ความมุ่งหมายของการรักษา ความปลอดภยั บุคคลสาคัญ ยุทธวธิ ใี นการรักษาความปลอดภัยบุคคลสาคญั หมวดการสบื สวน ๑. สส.(CI)๒๕๐๑ : การสบื สวน - ความหมาย/บทบาทหน้าท่ี - หลกั การ/ประเภทของการสบื สวน - คณุ สมบัตขิ องผู้สืบสวน - เทคนิค/วิธีการสืบสวน ได้แก่ การสืบสวนหาข่าว การสังเกตและจดจา การอาพราง การซักถาม การลวงถาม การสารวจสถานท่ี การเฝูาจุด/ สังเกตการณ์ การสะกดรอยติดตาม แหล่งข่าว/สายลับ อุปกรณ์การสืบสวน การติดตอ่ ประสานงาน - การดาเนินการภายหลังการสืบสวน ได้แก่ การจัดทาบันทึกประเภทต่างๆ การจัดเก็บข้อมูลการสืบสวน(ก่อนเกิดเหต)ุ เชน่ บคุ คลท้องถิ่น/พื้นที่ บุคคล ตามหมายจับ บุคคลพ้นโทษ แผนประทุษกรรม กลุ่มบุคคล/กลุ่มกิจกรรม เป็นต้น การจัดทาสรุปผล(แฟูมสืบสวน) ระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การสืบสวน เช่น ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ข้อมูลสิทธิในการรักษาพยาบาล ข้อมูลสิทธิประกันสังคม ข้อมูลขนส่ง ข้อมูลโทรศัพท์(พ้ืนฐาน/เคลื่อนที่) ขอ้ มูลธนาคาร ขอ้ มลู จากหน่วยราชการ ขอ้ มลู จากภาคเอกชน - กรณศี ึกษา(CASE STUDY) ได้แก่ คดีฆาตกรรม คดีลักทรพั ย์/ว่งิ ราวทรพั ย์ คดีชิงทรพั ย์/ปลน้ ทรัพย์ คดเี กีย่ วกับเพศ คดยี าเสพติด คดีการพนัน คดีจบั กมุ ตามหมายจับ /๒. สส.(CI)๒๕๐๒...

- ๓๐ - หมวดวิชา/รหสั วชิ า/วชิ า ขอบเขตรายวิชา ๒. สส.(CI)๒๕๐๒ : - ความหมาย ประโยชน์ ประวัติ ความเป็นมาของการพิสจู นห์ ลักฐาน นติ ิวทิ ยาศาสตร์ - การตรวจพิสูจนห์ ลักฐานจากพยานวตั ถุ สถานทเี่ กดิ เหตุ - ประเภทของวัตถุพยานทางวิทยาศาสตร์ - การตรวจเอกลกั ษณ์บุคคล - การรกั ษาสถานทเ่ี กิดเหตุ - เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์ท่ีสนับสนุนการปฏิบัติงานสืบสวน สอบสวน งานสืบสวนปราบปราม งานปกครองปูองกัน และงานจราจร ได้แก่ เครื่องมือตรวจหาปริมาณแอลกอฮอล์ และเครื่องมือตรวจหาสารเสพติด ในปัสสาวะ - พยานหลักฐานจากลายพิมพ์นิ้วมือแฝง เส้นผม เส้นขน รอยเท้าอวัยวะต่าง ๆ ของผู้ต้องสงสัยและผู้เสียหายวัตถุพยานอื่นๆ ในสถานท่ีเกิดเหตุ ข้อควร ปฏบิ ัติในการรักษาสถานทีเ่ กดิ เหตแุ ละวัตถุพยาน - การฝึกปฏิบัติ ได้แก่ การเก็บวัตถุพยาน ลายน้ิวมือแฝงการปูองกันและ รกั ษาสถานทเ่ี กิดเหตุ ๓. สส.(CI)๒๕๐๓ : - ระบบงานการทะเบียนประวัติอาชญากร ได้แก่ แผนประทุษกรรม การทะเบยี นประวัติอาชญากร สมุดภาพคนรา้ ย ประวตั อิ าชญากร - การพิมพม์ อื บคุ คลทัว่ ไป ผตู้ อ้ งสงสัยและผูต้ ้องหา - การสอดสอ่ งคนพน้ โทษ คนพกั การลงโทษ ผรู้ ้ายท้องถิน่ - การใช้งานทะเบียนประวัติอาชญากรสนับสนุนงานสืบสวนสอบสวน ให้เกิดประสทิ ธิภาพ - การนาวิทยาการตารวจและเทคโนโลยีการสืบสวนสอบสวนคดีอาญามาใช้ ในงานด้านการทะเบียนประวัติอาชญากร ได้แก่ ระบบฐานข้อมูลประวัติ อาชญากรรม CDOS ระบบตรวจสอบ ลายพิมพ์นิ้วมืออัตโนมัติ AFIS ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบภาพใบหน้าคนร้าย PICASSO - การสืบสวนคดีโดยใช้ระบบเทคนิคของคนร้าย - แบบรายงานอาชญากรรม - ฝึกปฏิบัติ การพิมพ์ลายน้ิวมือการเขียนแบบรายงานหมายจับ ผ้รู า้ ยหลบหนี ผรู้ า้ ยพลดั ถิ่น /หมวดการจราจร...

- ๓๑ - หมวดวชิ า/รหสั วชิ า/วชิ า ขอบเขตรายวิชา หมวดการจราจร ๑. จร.(TC)๒๖๐๑ : การจราจร - หลักและวิธีปฏบิ ัติเกยี่ วกับการจราจร - การจัดการและการควบคมุ จราจรในกรณีต่าง ๆ - การตัง้ จุดตรวจและสายตรวจจราจร - กฎหมาย ข้อกาหนดและระเบียบคาสั่ง ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติ จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่งทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ.๒๕๒๒ ข้อกาหนดสานักงานตารวจแห่งชาติ เรื่องการดาเนินการบันทึกคะแนน อบรม ทดสอบผู้ขับข่ีที่กระทาผิด การพักใชใ้ บอนญุ าตขบั ข่แี ละการเขียนใบสั่ง - การฝึกปฏิบัติ ได้แก่ การแต่งเคร่ืองแบบตารวจจราจร การใช้สัญญาณมือ และนกหวดี การตง้ั จุดตรวจ และการจัดการจราจร หมวดการฝกึ ตารวจ การฝึกพลศกึ ษา ๑. ตร.(PT)๒๗๐๑ : - การฝึกแบบฝกึ บคุ คลท่ามอื เปลา่ อยกู่ บั ท่ี การฝึกตามแบบฝึกตารวจ - การฝึกแบบฝึกบุคคลท่ามอื เปล่าเคล่อื นท่ี และการยงิ ปนื พก - การฝกึ สวนสนาม - วตั ถปุ ระสงค์ของการยงิ ปืนพกระบบกึ่งอตั โนมตั ิพน้ื ฐาน - กฎแห่งความปลอดภัยของการยิงปนื พกระบบกงึ่ อตั โนมตั ิพ้นื ฐาน - ส่วนประกอบของอาวุธปนื พกกง่ึ อตั โนมตั ิ - วิธปี ฏบิ ัติก่อนการยิงปืนพกระบบกึง่ อตั โนมัตพิ ้นื ฐาน - การถอดและการประกอบอาวุธปืนพกระบบกงึ่ อัตโนมตั ิ - การทาความสะอาดอาวธุ ปนื พกระบบกง่ึ อัตโนมัติ - การฝึกทกั ษะการยิงปืนพกระบบกงึ่ อัตโนมตั พิ น้ื ฐาน๑๕๐ นดั ตอ่ คน - การฝกึ แบบฝกึ บุคคลท่าประกอบอาวุธอยู่กับที่ - การฝึกแบบฝึกบุคคลท่าประกอบอาวธุ เคลอื่ นท่ี - วัตถปุ ระสงค์ของการยิงปืนพก - กฎแหง่ ความปลอดภัยของการยิงปืน - สว่ นประกอบของอาวธุ ปืน - วิธปี ฏบิ ตั ิก่อนการยงิ - การถอดและการประกอบอาวธุ - การบรรจกุ ระสุนปนื / - การเทปลอก...

- ๓๒ - หมวดวิชา/รหัสวิชา/วชิ า ขอบเขตรายวิชา - การเทปลอกกระสุนปืน ๒. พล.(PE)๒๗๐๒: - การเลกิ ยิง พลศึกษา/กายบรหิ าร/ - การทาความสะอาดอาวุธปืน ศิลปะการปูองกนั ตวั - หลักการยิงปนื พก ไดแ้ ก่ ท่าทางการยิงปนื การจับปนื การเลง็ การหายใจ การลนั่ ไก - การฝกึ การยงิ ปืนโดยไมใ่ ช้กระสุนปนื - การยิงปนื พกระบบ เอน็ อาร์ เอ จานวน ๑๖๐ นัดต่อคน - การยิงปืนพกระบบ ไอ พี ที จานวน ๑๐๐ นัดต่อคน - การเคล่ือนไหวเบอื้ งต้น - ศลิ ปะการปอู งกนั ตวั เบอ้ื งต้น - การแกไ้ ขเหตุเฉพาะหน้าจากการเขา้ ปะทะกบั อาวุธชนดิ ต่าง ๆ - การฝึกรปู แบบการเคล่อื นไหว ไดแ้ ก่ การหลบฉาก การปดั ปอู ง - การฝกึ ทักษะศิลปะการปูองกนั ตวั มวยไทย-มวยสากล ไดแ้ ก่ ฝึกการไหว้ครู การยืนคุม การต่อสู้ การเคล่ือนไหว การใช้กายาวุธ หมัด เข่า เท้า ศอก การรุก การปูองกัน การฝึกต่อสู้บนเวที ตลอดจนการทาการแขง่ ขนั - วิธีการใชก้ ายาวุธเพอ่ื ตอบโต้คตู่ อ่ สู้ - การตอ่ สู้ดว้ ยวธิ ีการจับลอ็ คแบบตา่ งๆ - การทุ่มแบบตอ่ เนอื่ ง - การใช้ทา่ ต่อสู้แบบหยุดย้งั - การฝกึ ลกั ษณะการเคล่อื นไหวอสิ ระเพื่อเสริมสรา้ งประสบการณ์ในการต่อสู้ จับกมุ - การฝกึ ยโู ด ได้แก่ ฝึกการล้มตัว ตบเบาะในลักษณะตา่ ง ๆ :ทา่ นงั่ ท่านอน ทา่ ยนื ตลอดจนหลกั การเคล่ือนที่ การทุ่มโดยการใช้ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย : ไหล่ สะโพก ขา รวมถงึ การล็อคในลักษณะตา่ ง ๆ /ภาค ๕...

- ๓๓ - ภาค ๕ หลกั เกณฑ์วธิ ีการวัดและประเมินผลการฝกึ อบรม ข้อ ๓๒ หลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการฝึกอบรมในหลักสูตรน้ี ให้วัดผลเป็นคะแนน ผู้สาเร็จ การฝกึ อบรมจะต้องได้คะแนนไมต่ า่ กว่าร้อยละ ๖๐ ขอ้ ๓๓ วธิ กี ารวดั ผลการฝกึ อบรม ๓๓.๑ ภาควชิ าการและการฝกึ ๓๓.๑.๑ เมื่อได้ทาการฝึกอบรมใกล้จะเสร็จสิ้นภาควิชาการและการฝึก ให้จัดมีการวัดผล สมั ฤทธทิ์ างการเรียนทกุ รายวิชาทีเ่ ปดิ การฝึกอบรม การวัดผลจะใช้วิธีการสอบข้อเขียน หรือทดสอบการปฏิบัติ หรือ ทงั้ สอบข้อเขียนและทดสอบการปฏิบตั ิ อย่างใดอย่างหนงึ่ ก็ได้ แล้วแต่กรณแี ละความเหมาะสม ๓๓.๑.๒ การวดั ผลแต่ละหมวดวชิ า ๓๓.๑.๒.๑ หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป หมวดวิชากฎหมาย และหมวดวิชา บรหิ ารงานตารวจ ให้แบ่งเป็น ๒ สว่ น ส่วนที่ ๑ ครู-อาจารย์ผู้สอน จะใช้วิธีการใดวิธีการหน่ึงตามข้อ ๓๓.๑.๑ ทดสอบผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม วัดผลเป็นคะแนนเก็บในระหว่างการฝึกอบรมหลังจากจบบทเรียนในหัวข้อใด หวั ขอ้ หนง่ึ หรอื จบบทเรยี นในรายวชิ านั้น ๆ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๕ ของคะแนนเตม็ ส่วนท่ี ๒ จัดให้มีการสอบโดยใช้ข้อสอบของสถานฝึกอบรม ตามความเหมาะสม แบบปรนัย หรืออัตนัย วิธีหน่ึงวิธีใด หรือทั้ง ๒ วิธีก็ได้ ซ่ึงการให้คะแนนส่วนที่ ๒ น้ีให้คิดเป็น ร้อยละ ๗๕ ของคะแนนเต็มในวิชาน้ัน ๆ ๓๓.๑.๒.๒ หมวดวิชาปูองกนั ปราบปราม หมวดวิชาสืบสวน และหมวดวิชาจราจร แบง่ เป็น ๒ ลักษณะ (๑) วชิ าทฝี่ กึ อบรมเฉพาะภาคทฤษฎี หรือฝึกอบรมภาคปฏบิ ตั ิ น้อยกวา่ ภาคทฤษฎี(ไม่มภี าคสนาม) ใหแ้ บง่ เป็น ๒ สว่ น ส่วนที่ ๑ ครู-อาจารย์ผู้สอน จะใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่งตามข้อ ๓๓.๑.๑ ทดสอบผู้เข้ารับการฝกึ อบรม วัดผลเป็นคะแนนเก็บในระหว่างการฝึกอบรมหลังจากจบบทเรียนในหัวข้อใด หวั ข้อหนึง่ หรือจบบทเรยี นในรายวชิ า น้ัน ๆ คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๕ ของคะแนนเตม็ ส่วนที่ ๒ จัดให้มีการสอบโดยใช้ข้อสอบของสถานฝึกอบรม ตามความเหมาะสม แบบปรนัย หรืออัตนัย วิธีหนึ่งวิธีใด หรือทั้ง ๒ วิธีก็ได้ ซึ่งการให้คะแนนส่วนที่ ๒ นี้ให้คิดเป็น รอ้ ยละ ๗๕ ของคะแนนเต็มในวิชาน้นั ๆ (๒) วิชาท่ีมีเวลาการฝึกอบรมภาคปฏิบัติ(ภาคสนาม) มากกว่าเวลาการ ฝกึ อบรมภาคทฤษฎี ได้แก่ วชิ ายทุ ธวิธีตารวจ วชิ าการสบื สวน และวิชาการจารจร ใหแ้ บง่ เปน็ ๒ ส่วน /สว่ นที่ ๑ คร-ู อาจารย์...

- ๓๔ - ส่วนท่ี ๑ ครู-อาจารย์ผู้สอนให้เก็บคะแนนการวัดผล จากการ ทดสอบภาคปฏิบัติของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมเพยี งอย่างเดียว และให้คิดคะแนนการวัดผลเป็นร้อยละ ๖๐ ของคะแนน เต็มในวิชานั้นๆ โดยแบ่งคะแนนเก็บ ออกเป็น ๒ ส่วน ประกอบด้วย ส่วนแรกคิดจากเวลาท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรม เข้าเรียนสม่าเสมอ มีความสนใจและใส่ใจในบทเรียน ตลอดจนหม่ันฝึกฝนปฏิบัติอยู่เสมอ คิดเป็นร้อยละ ๑๐ และ ส่วนทีส่ องคดิ คะแนนจากการทดสอบการปฏิบัติ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๐ ส่วนท่ี ๒ จัดให้มีการสอบโดยใช้ข้อสอบของสถานฝึกอบรม ตามความเหมาะสม แบบปรนัย หรืออัตนัย วิธีหน่ึงวิธีใด หรือท้ัง ๒ วิธีก็ได้ ซ่ึงการให้คะแนนส่วนท่ี ๒ นี้ให้คิดเป็น รอ้ ยละ ๔๐ ของคะแนนเตม็ ในวชิ าน้นั ๆ ๓๓.๑.๒.๓ หมวดวชิ าการฝึกตารวจ การฝึกพลศึกษา ให้แบง่ เป็น ๒ ลักษณะ (๑) การยิงปืนพก สามารถวัดผลเป็นคะแนนได้ ให้ครู-อาจารย์ผู้สอน ให้คะแนนตามเกณฑ์ทีก่ าหนดโดยต้องผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ๖๐ ขน้ึ ไป (๒) การฝึกตามแบบฝึกตารวจ พลศึกษา/กายบริหาร/ศิลปะ การปูองกันตัว และการเสริมสร้างสุขภาพกายและจิต เป็นการฝึกทักษะเฉพาะบุคคล ไม่สามารถวัดผลเป็นคะแนน ได้ชัดเจน โดยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนมีคะแนน ๑๐๐ คะแนน ในแต่ละรายวิชา การวัดประเมินผล ให้ทาเปน็ รูปคณะกรรมการรว่ มกันพิจารณาโดยตดั คะแนนขอ้ บกพร่องหรอื ข้อผิดพลาดตามเกณฑท์ ่ีกาหนด ๓๓.๑.๓ การตัดสนิ การวัดผล (๑) การวัดผลคะแนนรายวชิ าสาหรับวชิ าทว่ั ไปไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๕๐ และวชิ าเฉพาะ ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ จึงถือว่าสอบได้ โดยคิดคะแนนได้หรือตกเป็นรายวิชา (๒) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ท่ีสอบผ่านในแต่ละรายวิชาตามข้อ ๓๓.๑.๓ (๑) จึงจะถือว่าสอบได้ในภาควิชาการและการฝึกสาหรับผู้ที่สอบตกในรายวิชาของภาควิชาการน้อยกว่าร้อย ๕๐ ของจานวนรายวิชา ให้มีสิทธิสอบแก้ตัวได้โดยในการสอบแก้ตัว ให้สอบได้เฉพาะส่วนที่ ๒ ตามข้อ ๓๓.๑.๒ ยกเว้น วิชายุทธวิธีตารวจ วิชาการสืบสวน และวิชาการจราจร ให้สอบแก้ตัวได้เฉพาะส่วนท่ี ๑ คือ การทดสอบการปฏิบัติ เป็นเกณฑใ์ นการวดั ผล (๓) ใหจ้ ัดใหม้ ีการสอบแกต้ ัว โดยผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมทส่ี อบแก้ตัวได้ มสี ิทธิ ไดค้ ะแนนสอบในวิชาทัว่ ไปไม่เกนิ ร้อยละ ๕๐ และวิชาเฉพาะไม่เกินร้อยละ ๖๐ (๔) ให้ผู้อานวยการสถานฝึกอบรมต้ังคณะกรรมการดาเนินการสอบแก้ตัว ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมตามสิทธิในขอ้ ๓๓.๑.๓ (๒) ภายใน ๗ วนั นบั แตว่ นั ทราบผลการสอบ (๕) ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมทเ่ี ข้าทาการสอบแก้ตัวในวิชาใด เม่ือสอบแล้วได้คะแนน สอบในส่วนของวิชาน้ันต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดอีก หรือได้ไม่ถึงร้อยละ ๕๐ของจานวนรายวิชาให้ถือว่าสอบตก และ ให้ผอู้ านวยการสถานฝึกอบรมพจิ ารณาดาเนนิ การตามระเบียบท่ีกาหนด (๖) ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมที่ถือว่าเป็นผู้สอบได้ในภาควิชาการ คือผู้ท่ีสอบได้ระดับ คะแนนตามเกณฑแ์ ละวิธกี ารที่กาหนดไว้ ตามข้อ ๓๒ /๓๓.๑.๔...

- ๓๕ - ๓๓.๑.๔ การรายงานผลการสอบและการจดั ลาดบั ผู้มีรายวิชาสอบตก ๓๓.๑.๔.๑ การรายงานผลการสอบ ให้รายงานผลการสอบเป็นคะแนน ตามแบบบญั ชีรวมคะแนนการสอบ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ภาควิชาการ (แบบ รบ ๒) แนบท้ายหลักสูตร โดยให้นาคะแนนสอบทุกรายวิชาของ ภาควิชาการตามหลักสูตร รวมกับคะแนนความประพฤติท่ีเหลืออยู่ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม แล้วจัดลาดับตามคะแนน สงู สุดลงมาตามลาดับ ถา้ คะแนนรวมเท่ากนั ให้ตัดสนิ ตามลาดบั ดงั น้ี (๑) คะแนนรวมสว่ นวิชาเฉพาะ (๒) ถ้าคะแนนรวม ตามข้อ ๓๓.๑.๔.๑(๑) เท่ากันให้ดูระดับคะแนน รายวิชาส่วนวิชาเฉพาะ เรยี งตามลาดบั รายวิชาทีก่ าหนดไวใ้ นภาคผนวกท้ายหลักสูตร (๓) ถ้าคะแนนรายวิชาเฉพาะ ตามข้อ ๓๓.๑.๔.๑(๒) เท่ากัน ให้ดูระดับ คะแนนรายวิชาส่วนวิชาทวั่ ไป เรียงตามลาดับ รายวิชาทก่ี าหนดไว้ในภาคผนวกท้ายหลกั สตู ร ๓๓.๑.๔.๒ การจดั ลาดบั ผู้มรี ายวิชาสอบตก (๑) ผมู้ รี ายวิชาสอบตกให้จัดลาดบั ตอ่ ท้ายผทู้ ี่สอบได้ทุกวชิ า (๒) ผูท้ ีส่ อบตกรายวชิ านอ้ ยกว่าให้จดั ลาดับก่อนผสู้ อบตกรายวชิ ามากกวา่ (๓) ผ้ทู ่สี อบตกจานวนรายวิชาเทา่ กันใหจ้ ัดลาดบั ตามคะแนนรวม (๔) ถา้ คะแนนรวมเท่ากนั อีกใหจ้ ัดลาดับ ตามขอ้ ๓๓.๑.๔.๑ (๑) ถงึ (๓) ๓๓.๒ ภาคบูรณาการและกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร ๓๓.๒.๑ การวัดผลในภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร โดยข้าราชการตารวจ ช้ันสัญญาบัตรท่ีทาหน้าท่ีครู-อาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากรผู้สอนหรือข้าราชการตารวจช้ันประทวนที่ทาหน้าที่ครูฝึก เป็นผู้ประเมินหรือร่วมกันประเมินความรู้ท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้ฝึกปฏิบัติในงานด้านต่าง ๆ ท่ีเข้าฝึกแก้ไขสถานการณ์ หรอื กิจกรรม ๓๓.๒.๒ การวัดผลในภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ผู้สอบจะต้องได้คะแนน รวมในแต่ละงานการฝกึ หรอื กิจกรรม รอ้ ยละ ๖๐ขนึ้ ไป จึงจะถอื วา่ สอบได้ ๓๓.๒.๓ การวัดผลในภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตรน้ี ให้ถือ ได้/ตก โดยไม่นาคะแนน ไปรวมกบั ภาคอนื่ ๓๓.๓ ภาคการฝกึ หลักสตู รพิทกั ษ์สันติ ๓๓.๓.๑ เม่ือได้ทาการฝึกหลักสูตรพิทักษ์สันติน้ี ครบกาหนดระยะเวลาตามหลักสูตรแล้ว ใหผ้ ้อู านวยการสถานฝกึ อบรมตัง้ กรรมการสอบความรู้ ๓๓.๓.๒ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมผู้ใด มีเวลาการฝึกในภาคการฝึกหลักสูตรพิทักษ์สันติ ไม่ถึง ร้อยละ ๗๕ ให้ถอื ว่าผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมผนู้ ้ัน ไม่มสี ิทธเิ ขา้ สอบประเมนิ ความรู้ ตามข้อ ๓๓.๓.๑ ๓๓.๓.๓ การวัดและประเมินความรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ต้องได้คะแนนรวม ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป จึงจะถือวา่ สอบได้ /๓๓.๓.๔...

- ๓๖ - ๓๓.๓.๔ การไม่มีสิทธิเข้าสอบประเมินความรู้ ตามข้อ ๓๓.๓.๒ และการทาคะแนน จากการประเมนิ ความรไู้ มถ่ งึ เกณฑ์ท่กี าหนดตามข้อ ๓๓.๓.๓ ใหถ้ ือวา่ ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมผู้น้ัน สอบตก ๓๓.๓.๕ การวัดผลในภาคการฝึกหลักสูตรพิทักษ์สันติ ให้ถือ ได้/ตก โดยไม่นาคะแนน ไปรวมกับภาคอื่น ข้อ ๓๔ การสาเร็จการฝึกอบรม ๓๔.๑ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ท่ถี อื ว่าสาเร็จการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตารวจ และการฝึกอบรมบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตารวจช้ันประทวน (ปฏิบัติการปูองกันปราบปราม) เพอื่ ปฏิบัติงานในพ้นื ที่จังหวดั ชายแดนภาคใต้ จะต้องสอบให้ได้ตามเกณฑ์ต่อไปน้ี ๓๔.๑.๑ ต้องสอบผ่านท้ังภาควิชาการและการฝึก ภาคบูรณาการและกิจกรรมเสริมหลักสูตร และภาคการฝกึ หลกั สูตรพิทกั ษส์ ันติ ๓๔.๑.๒ จะต้องไมถ่ ูกตดั คะแนนความประพฤติเกินกวา่ ๔๐ คะแนน ๓๔.๒ การฝึกอบรมของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม หากปรากฏอย่างหนง่ึ อย่างใด ดังตอ่ ไปนี้ ๓๔.๒.๑ สอบตก หรือขาดสอบภาควชิ าการและการฝกึ ๓๔.๒.๒ สอบตกหรือขาดสอบ ในภาคบูรณาการและกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ภาคการฝึกหลักสูตรพทิ ักษส์ นั ติ ๓๔.๒.๓ หมดสทิ ธใิ นการสอบ เนอ่ื งจากเวลาเรยี นไม่พอ ตามขอ้ ๑๑ ๓๔.๒.๔ หมดสทิ ธิในการสอบ เน่อื งจากถกู ตดั คะแนนความประพฤติ ตามข้อ ๑๗ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้ารับการฝึกอบรมรุ่นต่อไปซ้าอีกคร้ังหนึ่ง ถ้ายังสอบตก หรือ ไมม่ ีสทิ ธสิ อบอกี ให้ผ้บู งั คับบญั ชาต้นสงั กัดผู้นัน้ รายงานเสนอสานกั งานตารวจแห่งชาติพจิ ารณาสั่งการต่อไป .............................................................................................. ตรวจแล้วถูกตอ้ ง วา่ ท่ี พ.ต.อ. สรุ ศักด์ิ เลศิ สนธิ์ ( สุรศักดิ์ เลศิ สนธ์ิ ) ผกก.ฝาุ ยพัฒนาหลักสูตร ๒ สศป. หมายเหตุ ตาม มตกิ ารประชุม อ.ก.ตร.บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ครัง้ ท่ี ๑๔/๒๕๕๕ เม่อื วันท่ี ๑๕ ต.ค.๒๕๕๕