หล กส ตร การพ ฒนาตนเอง ช มชน ส งคม ม.ปลาย

หล กส ตร การพ ฒนาตนเอง ช มชน ส งคม ม.ปลาย

mediaksn586 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

หนังสือเรียนรายวิชาพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ให้สถานศึกษาสังกัด สำนักงาน กศน. ไว้ใช้ในการประกอบการเรียนการสอน

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

หนังสือเรียนรายวิชาพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

  • 1. สังคม (สค31003) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลิขสิทธิ์ เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 36/2554
  • 2. สังคม (สค31003) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ลิขสิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 36/2554
  • 3. เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรูและจากสื่ออื่นๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานที่คนควา และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานที่ไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานักงาน กศน.
  • 4. ชุมชน สังคม 1 เรื่องที่ 1 การพัฒนาตนเอง 2 เรื่องที่ 2 การพัฒนาชุมชน 6 เรื่องที่ 3 การพัฒนาสังคม 9 กิจกรรมบทที่ 1 12 บทที่ 2 ขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 14 เรื่องที่ 1 ความหมาย ของขอมูล ความสําคัญ และประโยชน 15 เรื่องที่ 2 ขอมูลตนเอง ครอบครัว 20 เรื่องที่ 3 ขอมูลชุมชน สังคม 21 กิจกรรมบทที่ 2 22 บทที่ 3 การจัดเก็บขอม฿ล และวิเคราะหขอมูล 23 เรื่องที่ 1 การจัดเก็บขอมูล 24 เรื่องที่ 2 การวิเคราะหขอมูล 26 เรื่องที่ 3 การนําเสนอขอมูล 28 กิจกรรมบทที่ 3 32 บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 34 เรื่องที่ 1 การวางแผน 35 เรื่องที่ 2 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม 38 กิจกรรมบทที่ 4 42 บทที่ 5 เทคนิคการมีสวนรวมในการจัดทําแผน 43 เรื่องที่ 1 เทคนิคการมีสวนรวมในการจัดทําแผน 44 เรื่องที่ 2 การจัดทําแผน 54 เรื่องที่ 3 การเผยแพรสูการปฏิบัติ 59 กิจกรรมบทที่ 5 62
  • 5. หนาที่ของผูนํา/สมาชิกที่ดีของชุมชน สังคม 63 เรื่องที่ 1 ผูนําและผูตาม 64 เรื่องที่ 2 ผูนํา ผูตามในการจัดทําแผนพัฒนาชุมชน สังคม 70 เรื่องที่ 3 ผูนํา ผูตามในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาคนเอง ชุมชน สังคม 73 กิจกรรมบทที่ 6 74 แนวเฉลยกิจกรรม 75 บรรณานุกรม 85
  • 6. สังคม ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษาการศึกษานอก ระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ผูเรียนควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ ขอบขายเนื้อหา 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลวตรวจสอบกับแนวเฉลยกิจกรรมทายเลม ถาผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจ ในเนื้อหานั้นใหม ใหเขาใจกอนที่จะศึกษาเรื่องตอไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายบทของแตละบท เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหา ในเรื่องนั้น ๆ อีกครั้ง 4. หนังสือเรียนเลมนี้มี 6 บท คือ บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทที่ 2 ขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บทที่ 3 การจัดเก็บ และวิเคราะหขอมูล บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บทที่ 5 เทคนิคการมีสวนรวมในการจัดทําแผน บทที่ 6 บทบาท หนาที่ของผูนํา/สมาชิกที่ดีของชุมชน สังคม ก
  • 7. เปนการพัฒนาความสามารถของตนเองใหมีศักยภาพ สมรรถนะที่ทันตอ สภาพความจําเปนตามความกาวหนา และการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพื่อใหตนเองมีชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้น การที่จะพัฒนาตนอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมไดจะตองมีความรู ความเขาใจหลักการ พัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ความสําคัญของขอมูล ประโยชนของขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ในดานตาง ๆ รูวิธีการจัดเก็บ วิเคราะหขอมูลดวยวิธีการที่หลากหลาย และการเผยแพรขอมูล การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม รูเทคนิคการมีสวนรวมในการ จัดทําแผนครอบครัว ชุมชน สังคม เขาใจบทบาทหนาที่ของผูนําชุมชน ในฐานะผูนํา และผูตามใน การจัดทํา และขับเคลื่อน แผนพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เพื่อใหผูเรียนสามารถมีความรู ความเขาใจหลักการพัฒนาชุมชน สังคม 2. บอกความหมายและความสําคัญของแผนชีวิต และชุมชน สังคม 3. วิเคราะหและนําเสนอขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน/สังคม ดวยเทคนิคและวิธีการที่ หลากหลาย 4. จูงใจใหสมาชิกของชุมชนมีสวนรวมในการจัดทําแผนชีวิต และแผนชุมชน สังคมได 5. เปนผูนําผูตามในการจัดทําประชาคม ประชาพิจารณของชุมชน 6. กําหนดแนวทางในการดําเนินการเพื่อนําไปสูการทําแผนชีวิตครอบครัว ชุมชน สังคม 7. รวมพัฒนาแผนชุมชนตามขั้นตอน ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม บทที่ 2 ขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บทที่ 3 การจัดเก็บและวิเคราะหขอมูล บทที่ 4 การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บทที่ 5 เทคนิคการมีสวนรวมในการจัดทําแผน บทที่ 6 บทบาท หนาที่ของผูนํา/สมาชิกที่ดีของชุมชน สังคม ข
  • 8. สังคม สาระสําคัญ การพัฒนาเปนการทําใหดีขึ้น ใหเจริญขึ้น เปนการเพิ่มคุณคาของสิ่งตาง ๆ พัฒนาจาก สิ่งที่มีอยูเดิม หรือสรางสรรคสิ่งใหมขึ้นมา ดังนั้น การพัฒนาจึงเริ่มตนดวยการพัฒนาตนเอง ตอจากนั้นเปนการพัฒนาชุมชน และทายสุดเปนการพัฒนาสังคม ซึ่งจะตองเรียนรู ความหมาย ความสําคัญ แนวคิด หลักการ วิธีการ พัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เมื่อศึกษาบทที่ 1 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมาย ความสําคัญของการพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคมได 2. อธิบายหลักการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การพัฒนาตนเอง เรื่องที่ 2 การพัฒนาชุมชน เรื่องที่ 3 การพัฒนาสังคม
  • 9. ความหมายของ “การพัฒนา” (Development) การพัฒนา (Development) หมายถึง การทําใหดีขึ้น ใหเจริญขึ้น เปนการเพิ่ม คุณคาของสิ่งตาง ๆ การพัฒนาอาจพัฒนาจากสิ่งที่มีอยูเดิม หรือสรางสรรคสิ่งใหมขึ้นมาก็ได 1.2 ความหมายของ “การพัฒนาตนเอง” การพัฒนาตนเอง (Self Development) หมายถึง ความตองการของบุคคล ในการที่จะพัฒนาความรู ความสามารถของตนจากที่เปนอยู ใหมีความรู ความสามารถเพิ่มขึ้น เกิด ประโยชนตอตน และหนวยงาน อีกทั้งยังเปนการพัฒนาตนเองตามศักยภาพของตนใหดีขึ้นทั้งทาง รางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา เพื่อเปนสมาชิกที่มีประสิทธิภาพของสังคม เปน ประโยชนตอผูอื่น ตลอดจนเพื่อการดําเนินชีวิตอยางมีความสุข 1.3 หลักการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเองเปนการพัฒนาคุณสมบัติที่อยูในตัวบุคคล เปนการจัดการตนเองให มีเปาหมายชีวิตที่ดี ทั้งในปจจุบันและอนาคต การพัฒนาตนเอง จะทําใหบุคคลสํานึกในคุณคาความ เปนคนไดมากยิ่งขึ้น ชาญชัย อาจินสมาจาร (ม.ป.ป.) ไดกลาวถึง การพัฒนาตนเองเปนการเปลี่ยนแปลง ตนเองจากศักยภาพเดิมที่มีอยูไปสูศักยภาพระดับที่สูงกวา โดย 1.31) บุคคลตองสามารถปลดปลอยศักยภาพระดับใหมออกมา 1.3.2) มีสิ่งทาทายภายนอกที่เหมาะสม 1.3.3) คนที่มีการพัฒนาตนเอง ควรรับรูความทาทายในตัวคนทั้งหมด (Total self) 1.3.4) เปนการริเริ่มดวยตัวเอง แรงจูงใจเบื้องตนเกิดขึ้นผานผลสัมฤทธิ์ของตัวเอง และ การทําใหบรรลุความสําเร็จดวยตนเอง รางวัลและการลงโทษจากภายนอกเปนเรื่องที่รองลงมา 1.3.5) การพัฒนาตนเอง ตองมีการเรียนรู มีการหยั่งเชิงอยางสรางสรรค 1.3.6) การพัฒนาตนเอง ตองเต็มใจที่จะเสี่ยง 1.3.7) ตองมีความตั้งใจที่เขมแข็งเพียงพอที่จะผานขึ้นไปสูศักยภาพใหม 1.3.8) การพัฒนาตนเองตองการคําแนะนํา และการสนับสนุนของนักพัฒนาตนเองที่มี วุฒิภาวะมากกวา ดังนั้น การพัฒนาตนเองจะประสบความสําเร็จได เมื่อมีความตองการที่เกิดจากงาน บุคคลควรมีความตองการในการปรับปรุงเพื่อใหเปนผูทําใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ปราณี รามสูต และจํารัส ดวงสุวรรณ (2545 :125-129) ไดกลาวถึง หลักการพัฒนา ตนเอง แบงออกเปน 3 ขั้นตอนคือ
  • 10. เปนความตองการในการที่ จะพัฒนาตนเอง เพื่อชีวิตที่ประสบความสําเร็จ คือ การพัฒนาตนเองในแงความรูและในทุกดานให ดีขึ้นมากที่สุด เทาที่จะทําได ขั้นที่ 2 เปนขั้นการวิเคราะหตนเอง โดยการสังเกตตนเอง ประเมินตนเอง และสังเกต พฤติกรรมของผูอื่น รวมทั้งเปรียบเทียบบุคลิกภาพที่สังคมตองการ ขั้นที่ 3 การวางแผนพัฒนาตนเองและการตั้งเปาหมาย 1.4 แนวทางการพัฒนาตนเอง นอกจากหลักการพัฒนาตนเองที่กลาวมาแลว ยังมีแนวทางการพัฒนาตนเอง ดังนี้ 1.4.1 การพัฒนาดานจิตใจ หมายถึง การพัฒนาสภาพของจิตที่มีความรูสึกที่ดี ตอตนเองและสิ่งแวดลอม มองโลกในแงดี เชิงสรางสรรค 1.4.2 การพัฒนาดานรางกาย หมายถึง การพัฒนารูปรางหนาตา กริยาทาทาง การ แสดงออก น้ําเสียงวาจา การสื่อความหมายรวมไปถึงสุขภาพอนามัย และการแตงกายเหมาะกับ กาลเทศะ รูปรางและผิวพรรณ 1.4.3 การพัฒนาดานอารมณ หมายถึง การพัฒนาความสามารถในการควบคุม ความรูสึกนึกคิดและการแสดงออก ควบคุมอารมณที่เปนโทษตอตนเองและผูอื่น 1.4.4 การพัฒนาดานสติปญญา และความเฉลียวฉลาดทางอารมณ หมายถึง การ พัฒนาความรอบรู ความฉลาด ไหวพริบ ปฏิภาณ การวิเคราะห การตัดสินใจ ความสามารถในการ แสวงหาความรู และฝกทักษะใหม ๆ เรียนรูวิถีทางการดําเนินชีวิตที่ดี 1.4.5 การพัฒนาดานสังคม หมายถึง การพัฒนาปฏิบัติตน ทาทีตอสิ่งแวดลอม ประพฤติตนตามปทัสฐานทางสังคม 1.4.6 การพัฒนาดานความรู ความสามารถ หมายถึง การพัฒนาความรู ความสามารถที่มีอยูใหกาวหนายิ่งขึ้น 1.4.7 การพัฒนาตนเองสูความตองการของตลาดแรงงาน หมายถึง การพัฒนา ความรูความสามารถ ทักษะ ความชํานาญทางอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของ ตลาดแรงงาน การพัฒนาคนในองคการ จึงจําเปนตองสรางวัฒนธรรมองคการที่สงเสริมการเรียนรู เพิ่มเติมอยูเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งการแสวงหาความรูโดยการอาน และการคิด เพราะความรูเปน ทรัพยสินที่มีคาที่สามารถสรางคุณคาและประโยชนใหแกตนเองและองคการ
  • 11. ๆ มีจุดมุงหมายที่จะพัฒนาบุคลากรของตน ใหมีประสิทธิภาพ สูงสุด เปนผูทรงคุณคา การที่บุคลากรไดรับการพัฒนานั้น จะเปนหลักประกันไดวา หนวยงานนั้น จะสามารถรักษาบุคลากรไวไดยาวนาน และเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคาสูงขององคกรนั้นตอไป ซึ่ง มีวิธีการพัฒนาตนเองโดยการฝกอบรม ตามหลักวิชาการ ดังนี้ 1. การลงมือฝกปฏิบัติจริง 2. การบรรยายในหองเรียน 3. การลงมือปฏิบัติงานจริง นอกเวลางานควบคูกันไป 4. การอบรมเพิ่มเติม 5. การฝกจําลองเหตุการณ และใชวิธีการอื่น ๆ 6. การศึกษา คนควาหาความรูดวยตนเองจากแหลงความรูตางๆ แลวนํามาประยุกตใช ใหเปนประโยชนอยูเสมอ เมื่อบุคคลไดมีการพัฒนาตนเองไดอยางสมบูรณแลวจะกอใหเกิดประโยชน ตาง ๆ กับตนเอง รวมถึงประโยชนจากการเกี่ยวของกับบุคคลอื่นและสังคม ดังนี้ 1. ประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับตนเอง 1.1 การประสบความสําเร็จในการดํารงชีวิต 1.2 การประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพการงาน 1.3 การมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ 1.4 การมีความเชื่อมั่นในตนเอง 1.5 การมีความสงบสุขทางจิตใจ 2. ประโยชนจากการเกี่ยวของกับบุคคลอื่นและสังคม 2.1 การไดรับความเชื่อถือและไววางใจจากเพื่อนรวมงานและบุคคลอื่น 2.2 ความสามารถรวมมือและประสานงานกับบุคคลอื่น 2.3 ความรับผิดชอบและความมานะอดทนในการปฏิบัติงาน 2.4 ความคิดริเริ่มสรางสรรคเพื่อพัฒนางาน ความเปนอยูและสภาพแวดลอม 2.5 ความจริงใจ ความเสียสละ และความซื่อสัตยสุจริต 2.6 การรักและเคารพหมูคณะ และการทําประโยชนเพื่อสวนรวม 2.7 การไดรับการยกยอง และยอมรับจากเพื่อนรวมงาน
  • 12. ดังตอไปนี้ 1. การหาความรูเพิ่มเติม อาจกระทําโดย 1.1 การอานหนังสือเปนประจําและอยางตอเนื่อง 1.2 การเขารวมประชุมหรือเขารับการฝกอบรม 1.3 การสอนหนังสือหรือการบรรยายตาง ๆ 1.4 การรวมกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชนหรือองคการตาง ๆ 1.5 การรวมเปนที่ปรึกษาแกบุคคลหรือหนวยงาน 1.6 การศึกษาตอหรือเพิ่มเติมจากสถาบันการศึกษาหรือมหาวิทยาลัยเปด 1.7 การพบปะเยี่ยมเยียนบุคคลหรือหนวยงานตาง ๆ 1.8 การเปนผูแทนในการประชุมตาง ๆ 1.9 การจัดทําโครงการพิเศษ 1.10 การปฏิบัติงานแทนหัวหนางาน 1.11 การคนควาหรือวิจัย 1.12 การศึกษาดูงาน 2. การเพิ่มความสามารถและประสบการณ อาจกระทําโดย 2.1 การลงมือปฏิบัติจริง 2.2 การฝกฝนโดยผูทรงคุณวุฒิหรือหัวหนางาน 2.3การอานการฟงและการถามจากเอกสารและหรือผูทรงคุณวุฒิหรือหัวหนางาน 2.4 การทํางานรวมกับบุคคลอื่น 2.5 การคนควาวิจัย 2.6 การหมุนเวียนเปลี่ยนงาน
  • 13. เปนการนําคําสองคํามารวมกัน คือ คําวา “การพัฒนา” กับคําวา “ชุมชน” ซึ่งความหมายของคําวา “การพัฒนา” ไดกลาวถึงแลวในเรื่องของการพัฒนาตนเอง ในที่นี้ จะกลาวถึงความหมายของชุมชน 2.1 ความหมายของ “ชุมชน” (Community) ชุมชน (Community) หมายถึง กลุมคนที่อาศัยอยูในอาณาเขตเดียวกัน มีความรูสึก เปนพวกเดียวกัน มีความศรัทธา ความเชื่อ เชื้อชาติ การงาน มีความสนใจ และปฏิบัติตนในวิถี ชีวิตประจําวันที่คลายคลึงกัน มีความเอื้ออาทรตอกัน 2.2 ความหมายของ “การพัฒนาชุมชน” การพัฒนาชุมชน (Community Development) หมายถึง การทําใหชุมชนมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น หรือเจริญขึ้น ทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนใหดีขึ้น ประชาชนในชุมชนนั้น ๆ รวมกันวางแผนและลงมือกระทําเอง กําหนดวากลุมของตนและของแตละคนตองการ และมีปญหา อะไร เพื่อใหไดมาในสิ่งที่ตองการและสามารถแกไขปญหานั้น โดยใชทรัพยากรในชุมชนใหมาก ที่สุด ถาจําเปนอาจขอความชวยเหลือจากรัฐบาลและองคกรตาง ๆ สนับสนุน ดังนั้น เมื่อนําคําวา “การพัฒนา” รวมกับ “ชุมชน” แลวก็จะไดความหมายวา การ พัฒนาชุมชน ก็คือ การเปลี่ยนแปลงชุมชนใหดีขึ้น หรือใหเจริญขึ้นในทุก ๆ ดานนั่นเอง นั่นคือ จะตองพัฒนาคน กลุมชน สิ่งแวดลอมทางวัตถุหรือสาธารณสมบัติ และพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ และสังคม เพื่อใหบังเกิดผลดีแกประเทศชาติโดยสวนรวม 2.3 ปรัชญาขั้นมูลฐานของงานพัฒนาชุมชน ปรัชญาขั้นมูลฐานของงานพัฒนาชุมชน สรุปไดดังนี้ 2.3.1 บุคคลแตละคนยอมมีความสําคัญ และมีความเปนเอกลักษณที่ไมเหมือนกัน จึงมีสิทธิอันพึงไดรับการปฏิบัติดวยความยุติธรรม และอยางบุคคลมีเกียรติในฐานะที่เปนมนุษย ปุถุชนผูหนึ่ง 2.3.2 บุคคลแตละคนยอมมีสิทธิ และสามารถที่จะกําหนดวิธีการดํารงชีวิตของ ตนไปในทิศทางที่ตนตองการ 2.3.3 บุคคลแตละคนถาหากมีโอกาสแลว ยอมมีความสามารถที่จะเรียนรู เปลี่ยนแปลงทัศนะ ประพฤติปฏิบัติและพัฒนาขีดความสามารถใหมีความรับผิดชอบตอสังคม สูงขึ้นได
  • 14. และความคิดใหม ๆ ซึ่งซอนเรนอยู และพลังความสามารถเหลานี้สามารถเจริญเติบโต และนําออกมาใชได ถาพลังที่ ซอนเรนเหลานี้ไดรับการพัฒนา 2.3.5 การพัฒนาพลังและขีดความสามารถของชุมชนในทุกดานเปนสิ่งที่พึง ปรารถนา และมีความสําคัญยิ่งตอชีวิตของบุคคล ชุมชน และรัฐ 2.4 แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน การศึกษาแนวคิดพื้นฐานของงานพัฒนาชุมชน เปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหเจาหนาที่ หรือนักพัฒนาไดลงไปทํางานกับประชาชนไดอยางถูกตอง และทําใหงานมีประสิทธิภาพ ซึ่ง แนวคิดพื้นฐานงานพัฒนาชุมชน มีดังนี้ 2.4.1 การมีสวนรวมของประชาชน (People Participation) เปนหัวใจของการ พัฒนาชุมชน โดยยึดหลักของการมีสวนรวมที่วา ประชาชนมีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ วางแผน การปฏิบัติการ รวมบํารุงรักษา ติดตามและประเมินผล 2.4.2 การชวยเหลือตนเอง (Aide Self-Help) เปนแนวทางในการพัฒนาที่ยึดเปน หลักการสําคัญประการหนึ่ง คือ ตองพัฒนาใหประชาชนพึ่งตนเองไดมากขึ้น โดยมีรัฐคอยใหการ ชวยเหลือสนับสนุน ในสวนที่เกินขีดความสามารถของประชาชน ตามโอกาสและหลักเกณฑที่ เหมาะสม 2.4.3 ความคิดริเริ่มของประชาชน (Initiative) ในการทํางานกับประชาชนตองยึด หลักการที่วา ความคิดริเริ่มตองมาจากประชาชน ซึ่งตองใชวิถีแหงประชาธิปไตย และหาโอกาส กระตุนใหการศึกษา ใหประชาชนเกิดความคิด และแสดงออกซึ่งความคิดเห็นอันเปนประโยชนตอ หมูบาน ตําบล 2.4.4 ความตองการของชุมชน (Felt-Needs) ในการพัฒนาชุมชนตองใหประชาชน และองคกรประชาชนคิด และตัดสินใจบนพื้นฐานความตองการของชุมชนเอง เพื่อใหเกิดความคิด ที่วางานเปนของประชาชน และจะชวยกันดูแลรักษาตอไป 2.4.5 การศึกษาภาคชีวิต (Life-Long Education) ในการทํางานพัฒนาชุมชน ถือ เปนกระบวนการใหการศึกษาภาคชีวิตแกประชาชน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคน การใหการศึกษาตอง ใหการศึกษาอยางตอเนื่องกันไป ตราบเทาที่บุคคลยังดํารงชีวิตอยูในชุมชน 2.5 หลักการพัฒนาชุมชน จากปรัชญา และแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน ไดนํามาใชเปนหลักการ พัฒนาชุมชน ซึ่งนักพัฒนาตองยึดเปนแนวทางปฏิบัติ มีดังนี้
  • 15. และเปดโอกาสใหประชาชน ใชศักยภาพที่มีอยูใหมากที่สุด จึงตองใหโอกาสประชาชนในการคิด วางแผนเพื่อแกปญหาชุมชน ดวยตัวของเขาเอง นักพัฒนาควรเปนผูกระตุน แนะนํา สงเสริม 2.5.2 หลักการพึ่งตนเองของประชาชน ตองสนับสนุนใหประชาชนพึ่งตนเองได โดยการสรางพลังชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชน สวนรัฐบาลจะชวยเหลือ สนับสนุนอยูเบื้องหลัง และ ชวยเหลือในสวนที่เกินความสามารถของประชาชน 2.5.3 หลักการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวม คิด ตัดสินใจ วางแผน ปฏิบัติตามแผน และติดตามประเมินผลในกิจกรรม หรือโครงการใด ๆ ที่จะ ทําในชุมชน เพื่อใหประชาชนไดมีสวนรวมอยางแทจริงในการดําเนินงาน อันเปนการปลูกฝง จิตสํานึกในเรื่องความเปนเจาของโครงการ หรือกิจกรรม 2.5.4 หลักประชาธิปไตย ในการทํางานพัฒนาชุมชนจะตองเริ่มดวยการพูดคุย ประชุมหารือรวมกันคิด รวมกันตัดสินใจ และทํารวมกัน รวมถึงรับผิดชอบรวมกันภายใตความ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ตามวิถีทางแหงประชาธิปไตย นอกจากหลักการพัฒนาชุมชนดังกลาวแลว องคการสหประชาชาติ ยังไดกําหนด หลักการดําเนินงานพัฒนาชุมชนไว 10 ประการ คือ 1. ตองสอดคลองกับความตองการที่แทจริงของประชาชน 2. ตองเปนโครงการเอนกประสงคที่ชวยแกปญหาไดหลายดาน 3. ตองเปลี่ยนแปลงทัศนคติไปพรอม ๆ กับการดําเนินงาน 4. ตองใหประชาชนมีสวนรวมอยางเต็มที่ 5. ตองแสวงหาและพัฒนาใหเกิดผูนําในทองถิ่น 6. ตองยอมรับใหโอกาสสตรี และเยาวชนมีสวนรวมในโครงการ 7. รัฐตองเตรียมจัดบริการใหการสนับสนุน 8. ตองวางแผนอยางเปนระบบ และมีประสิทธิภาพทุกระดับ 9. สนับสนุนใหองคกรเอกชน อาสาสมัครตาง ๆ เขามามีสวนรวม 10. ตองมีการวางแผนใหเกิดความเจริญแกชุมชนที่สอดคลองกับความเจริญใน ระดับชาติดวย จากหลักการดังกลาว สรุปไดวา การพัฒนาชุมชนเปนกระบวนการที่จะพยายาม เปลี่ยนแปลงความคิด ทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนในชุมชนใหดีขึ้นกวาเดิม โดยรวมมือ กันพัฒนาใหชุมชนของตนเองเปนชุมชนที่ดี สรางความรูสึกรักและผูกพันตอชุมชนตนเอง เปาหมายสําคัญของการพัฒนาชุมชนจึงมุงไปยังประชาชน โดยผานกระบวนการใหการศึกษาแก ประชาชนและกระบวนการรวมกลุมเปนสําคัญ เพราะพลังสําคัญที่จะบันดาลใหการพัฒนาบรรลุผล สําเร็จนั้นอยูที่ตัวประชาชน
  • 16. ความหมายของการพัฒนาสังคม การพัฒนาสังคม (Social Development) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ดีทั้ง ในดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพื่อประชาชนจะไดมีชีวิตความ เปนอยูที่ดีขึ้นทั้งทางดานที่อยูอาศัย อาหาร เครื่องนุงหม สุขภาพอนามัย การศึกษา การมีงานทํา มี รายไดเพียงพอในการครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค ความยุติธรรม มีคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ประชาชนตองมีสวนรวมในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทุกขั้นตอนอยางมีระบบ 3.2 ความสําคัญของการพัฒนาสังคม เมื่อบุคคลมาอยูรวมกันเปนสังคม ปญหาตาง ๆ ก็ยอมจะเกิดตามมาเสมอ ยิ่งสังคม มีขนาดใหญ ปญหาก็ยิ่งจะมีมากและสลับซับซอนเปนเงาตามตัว ปญหาหนึ่งอาจจะกลายเปนสาเหตุ อีกหลายปญหาเกี่ยวโยงกันไปเปนลูกโซ ถาปลอยไวก็จะเพิ่มความรุนแรง เพิ่มความสลับซับซอน และขยายวงกวางออกไปเรื่อย ๆ ยากตอการแกไข ความสงบสุขของประชาชนในสังคมนั้นก็จะไม มี ดังนั้น ความสําคัญของการพัฒนาสังคม อาจกลาวเปนขอ ๆ ไดดังนี้ 1. ทําใหปญหาของสังคมลดนอยและหมดไปในที่สุด 2. ปองกันไมใหปญหานั้นหรือปญหาในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้นแกสังคมอีก 3. ทําใหเกิดความเจริญกาวหนาขึ้นมาแทน 4. ทําใหประชาชนในสังคมสมานสามัคคีและอยูรวมกันอยางมีความสุขตามฐานะ ของแตละบุคคล 5. ทําใหเกิดความเปนปกแผนมั่นคงของสังคม 3.3 แนวคิดในการพัฒนาสังคม การพัฒนาสังคมมีขอบเขตกวางขวาง เพราะปญหาของสังคมมีมาก และสลับซับซอน การแกปญหาสังคมจึงตองทําอยางรอบคอบ และตองอาศัยความรวมมือกันของบุคคลจากหลาย ๆ ฝาย และโดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนในสังคมนั้น ๆ จะตองรับรู พรอมที่จะใหขอมูลที่ถูกตองและ เขามามีสวนรวมดวยเสมอ การพัฒนาสังคมจึงตองเปนทั้งกระบวนการ วิธีการ กรรมวิธี เปลี่ยนแปลง และแผนการดําเนินงาน ซึ่งมีรายละเอียด คือ 1. กระบวนการ (Process) การแกปญหาสังคมตองกระทําตอเนื่องกันอยางมีระบบ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากลักษณะหนึ่งไปสูอีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งจะตองเปนลักษณะที่ดีกวาเดิม 2. วิธีการ (Method) การกําหนดวิธีการในการดําเนินงาน โดยเฉพาะเนนความรวมมือ ของประชาชนในสังคมนั้นกับเจาหนาที่ของรัฐบาลที่จะทํางานรวมกัน และวิธีการนี้ตองเปนที่ ยอมรับวา สามารถนําการเปลี่ยนแปลงมาสูสังคมไดอยางถาวรและมีประโยชนตอสังคม
  • 17. การพัฒนาสังคมจะตองทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงใหได และจะตองเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะเนนการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติของตน เพื่อใหเกิดสํานึกในการมีสวนรวมรับผิดชอบตอผลประโยชนของสวนรวม และรัก ความเจริญกาวหนาอันจะนําไปสูการเปลี่ยนแปลงทางวัตถุ 4. แผนการดําเนินงาน (Planning) การพัฒนาสังคมจะตองทําอยางมีแผน มีขั้นตอน สามารถตรวจสอบ และประเมินผลได แผนงานนี้จะตองมีทุกระดับ นับตั้งแตระดับชาติ คือ แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ลงมาจนถึงระดับผูปฏิบัติ แผนงานจึงมีความสําคัญและ จําเปนอยางยิ่งในการพัฒนาสังคม 3.4 การพัฒนาสังคมไทย การพัฒนาสังคมไทย สามารถกระทําไปพรอม ๆ กันทั้งสังคมในเมืองและสังคม ชนบท แตเนื่องจากสังคมชนบทเปนที่อยูอาศัยของชนสวนใหญของประเทศ การพัฒนาจึงทุมเทไป ที่ชนบทมากกวาในเมือง และการพัฒนาสังคมจะตองพัฒนาหลาย ๆ ดาน ไปพรอม ๆ กัน โดย เฉพาะที่เปนปจจัยตอการพัฒนาดานอื่น ๆ ไดแกการศึกษา และการสาธารณสุข การพัฒนาดานการศึกษา การศึกษาเปนปจจัยสําคัญที่สุด ในการวัดความเจริญของ สังคม สําหรับประเทศไทยการพัฒนาดานการศึกษายังไมเจริญกาวหนาอยางเต็มที่ โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสังคมในชนบทของไทย จะพบประชาชนที่ไมรูหนังสือ และไมจบการศึกษาภาคบังคับอยู คอนขางมาก ความสําคัญของการศึกษาที่มีตอบุคคลและสังคม การศึกษากอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ทําใหคนมีความรู ความเขาใจใน วิทยาการใหม ๆ กระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรค ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ตลอดทั้งมีเหตุผลในการ แกปญหาตาง ๆ การพัฒนาดานการศึกษา ก็คือ การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพของบุคคล และ เมื่อบุคคลซึ่งเปนสมาชิกของสังคมมีคุณภาพแลว ก็จะทําใหสังคมมีการพัฒนาตามไปดวย สถาบันที่ สําคัญในการพัฒนาการศึกษา ไดแก บาน วัด โรงเรียน หนวยงานอื่น ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน การพัฒนาดานสาธารณสุข การสาธารณสุข เปนการปองกันและรักษาโรค ทํานุบํารุง ใหประชาชนมีสุขภาพและพลานามัยที่ดี มีความสมบูรณทั้งทางรางกายและจิตใจ สังคมใดจะ เจริญรุงเรืองกาวหนาได จําเปนตองมีพลเมืองที่มีสุขภาพอนามัยดี อันเปนสวนสําคัญในการพัฒนา ประเทศ จึงจําเปนตองจัดใหมีการพัฒนาสาธารณสุขขึ้น เพราะมีความสําคัญทั้งตอตัวบุคคลและ สังคม การบริหารงานของทุกรัฐบาล เนนที่ ความกินดี อยูดี หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชน อยากใหคนมีความสุข มีรายไดมั่นคง มีสุขภาพดี ครอบครัวอบอุน มีชุมชนเขมแข็ง และ
  • 18. ในดานการพัฒนาทางสังคมนั้น อาจ กลาวไดวา ทําไปเพื่อใหคนมีความมั่นคง 10 ดาน คือ ดานการมีงานทําและรายได ดานครอบครัว ดานสุขภาพอนามัย ดานการศึกษา ดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน (สวนบุคคล) ดานที่อยู อาศัยและสิ่งแวดลอม ดานสิทธิและความเปนธรรม ดานสังคม วัฒนธรรม ดานการสนับสนุนทาง สังคม ดานการเมือง ธรรมาภิบาล หรือมีความมั่นคงทางสังคมนั่นเอง
  • 19. บอกความหมายของคําตอไปนี้ 1) การพัฒนาตนเอง หมายถึง............................................................................... ............................................................................... ............................................................................ 2) การพัฒนาชุมชน หมายถึง.............................................................................. ............................................................................... ............................................................................ 3) การพัฒนาสังคม หมายถึง ............................................................................. ............................................................................... ............................................................................ ขอ 2 บอกวิธีการพัฒนาตนเองของตัวทาน ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ขอ 3 บอกหลักการพัฒนาตนเอง ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ขอ 4 บอกประโยชนที่ไดรับจากการพัฒนาตนเองที่เกิดขึ้นกับตนเอง ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ขอ 5 บอกวิธีการพัฒนาตนเองดวยการหาความรูเพิ่มเติม กระทําไดโดยวิธีใด ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................
  • 20. 6 อธิบายแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ขอ 7 อธิบายหลักการพัฒนาชุมชน ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ขอ 8 อธิบายแนวคิดของการพัฒนาสังคม ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................ ............................................................................... ............................................................................
  • 21. ชุมชน สังคม สาระสําคัญ ขอมูล คือ ขอเท็จจริงของบุคคล สัตว สิ่งของ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นซึ่งอาจเปน ขอความ ตัวเลข หรือภาพก็ได ขอมูลมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย มนุษยนําขอมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม มาใชประโยชนในชีวิตประจําวันและการปฏิบัติงาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เมื่อศึกษาบทที่ 2 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. บอกความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของขอมูลได 2. บอกขอมูลของตนเองและครอบครัวได 3. บอกขอมูลของชุมชนและสังคมได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของขอมูล เรื่องที่ 2 ขอมูลตนเอง ครอบครัว เรื่องที่ 3 ขอมูลชุมชน สังคม
  • 22. ความสําคัญ และประโยชนของขอมูล ขอมูล (Data) หมายถึง กลุมตัวอักขระที่เมื่อนํามารวมกันแลวมีความหมายอยางใดอยางหนึ่ง และมีความสําคัญควรคาแกการจัดเก็บเพื่อนําไปใชในโอกาสตอ ๆ ไป ขอมูลมักเปนขอความที่อธิบายถึงสิ่ง ใดสิ่งหนึ่ง อาจเปนตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณใด ๆ ที่สามารถนําไปประมวลผลดวยคอมพิวเตอรได (IT Destination Tech Archive [00005] : 1) ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริงของสิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา ไมวาจะเปนคน สัตว สิ่งของ สถานที่ตาง ๆ ธรรมชาติทั่วไป ลวนแลวแตมีขอมูลในตนเอง ทําใหเรารูความเปนมา ความสําคัญ และประโยชนของสิ่งเหลานั้น ดังนั้นขอมูลของทุก ๆ สิ่งจึงมีความสําคัญมาก (ภิรมย เกตขวัญชัย, 2552 : 1 ) ไพโรจน ชลารักษ (2552 : 1) กลาววา ขอมูล (data) หมายถึง ขอเท็จจริง (facts) หรือ ปรากฏการณธรรมชาติ(phenomena) หรือ เหตุการณ (events) ที่เกิดขึ้นหรือมีอยูเปนอยูเองแลวตามปกติ และไดรับการตรวจพบและบันทึกหรือเก็บรวบรวมไวใชประโยชน หากขอเท็จจริง หรือปรากฏการณหรือ เหตุการณเหลานั้นไมมีผูใดไดพบเห็น ไดมีการบันทึกรวบรวมไวดวยวิธีการใด ๆ ก็ตาม ความเปนขอมูลก็ ไมเกิดขึ้น ตัวอยางเชน ทุก ๆ เชา มีนักศึกษา เดินทางไปเรียน คนทั้งหลายไปทํางาน มีลมพัดแรงบาง เบา บาง อากาศรอนบาง เย็นบาง เปนปกติแตหากมีใครบางคนทําการสังเกตแลวบันทึกวาโรงเรียนใดมี นักเรียนไปเรียนกี่คนในแตละวัน มีผูโดยสารรถไปทํางานวันละกี่คน มีรถวิ่งกี่เที่ยว ลมพัดดวยความเร็ว เทาใด เวลาใด อุณหภูมิแตละวันสูง ต่ํา เพียงใด ซึ่งที่ตรวจพบและบันทึกไวนี้เรียกวาขอมูล กัลยา วานิชยบัญชา (2549 : 9) กลาววา ขอมูล หมายถึง ความจริงที่เกิดขึ้นซึ่งอาจจะเปน ตัวเลขหรือขอความ หรือประกอบดวยขอมูลทั้งขอความ และตัวเลข เชน 1. “นางกัลยา วานิชยบัญชา จบปริญญาเอก สาขาสถิติ จาก University of Georgia ประเทศสหรัฐอเมริกา” ซึ่งเปนขอมูลที่แสดงความจริงของนางกัลยา ซึ่งอยูในรูปขอความเพียงอยางเดียว 2. “นางกัลยา วานิชยบัญชา รับราชการเปนอาจารยที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมี เงินเดือน 25,000 บาท” ซึ่งเปนขอมูลที่อยูในรูปขอความและตัวเลข 3. “ยอดขายรายวันของหางสรรพสินคา ก. ในสัปดาหที่ผานมาเปน 5.4, 3, 4.1, 6, 3.5, และ 4.3 ลานบาท” เปนขอมูลที่อยูในรูปตัวเลข สรุปไดวา ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริงของคน สัตว วัตถุ สิ่งของที่ไดจากการสังเกต ปรากฏการณ การกระทําหรือลักษณะตางๆ แลวนํามาบันทึกเปนตัวเลข สัญลักษณ เสียง หรือภาพ
  • 23. 2 ชนิด คือ 1.1 ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึง ขอมูลที่ไมสามารถบอกไดวามีคา มากหรือนอย แตสามารถบอกไดวาดีหรือไมดี หรือบอกลักษณะความเปนกลุมของขอมูล เชน เพศ ศาสนา สีผม อาชีพ คุณภาพสินคา ความพึงพอใจ ฯลฯ 1.2 ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) หมายถึง ขอมูลที่สามารถวัดคาไดวามีคามาก หรือนอยซึ่งสามารถวัดคาออกมาเปนตัวเลขได เชน อายุ สวนสูง น้ําหนัก อุณหภูมิ ฯลฯ 2. จําแนกตามแหลงที่มาของขอมูล แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ 2.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึง ขอมูลที่ผูใชเปนผูเก็บรวบรวมขอมูลเอง เชน การเก็บแบบสอบถาม การทดลองในหองทดลอง การสังเกต การสัมภาษณ เปนตน 2.2 ขอมูลทุติยภูมิ (Second Data) หมายถึง ขอมูลที่ผูใชนํามาจากหนวยงานอื่น หรือ ผูอื่นที่ไดทําการเก็บรวบรวมไวแลวในอดีต เชน รายงานประจําปของหนวยงานตาง ๆ ขอมูลทองถิ่น ซึ่ง แตละ อบต. เปนผูรวบรวมไว เปนตน ตัวอยางขอมูลในดานตาง ๆ ขอมูลดานภูมิศาสตร คือ ขอมูลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติกับสังคม เชน จํานวน ประชากร ลักษณะของภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ เขตการปกครองตําบล/อําเภอ/เทศบาล จังหวัด ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม แรธาตุ แหลงน้ํา การคมนาคมขนสงทางบก ทางน้ํา ทางอากาศ สังคม และวัฒนธรรม เชน เชื้อชาติของประชากร การนับถือศาสนา การตั้งถิ่นฐานของประชากร ความเชื่อ ขอบเขตของสถานที่ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ สภาพปญหาและภัยธรรมชาติ ขอมูลดานประวัติศาสตร คือ ขอมูลเหตุการณที่เปนมาหรือเรื่องราวของประเทศชาติตามที่บันทึกไวเปนหลักฐาน เชน ประวัติความเปนมาของหมูบาน/ตําบล/ชุมชน/จังหวัด สภาพความเปนอยูของคนในอดีต การปกครองใน อดีต สถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร เปนตน ขอมูลดานเศรษฐศาสตร คือ ขอมูลการผลิต การบริโภค การกระจายสินคาและบริการ
  • 24. ที่จะนําไปสูการตัดสินใจของกลุมคน คํานี้มักจะถูก นําไปประยุกตใชกับ3รัฐบาล3 แตกิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในทุกกลุมคนที่มีปฏิสัมพันธ กัน ซึ่งรวมไปถึงใน 3บรรษัท3, แวดวงวิชาการ และในวงการ3ศาสนา3 ขอมูลดานการเมือง เชน ผูนําชุมชน ผูนําทองถิ่น อาสาสมัคร พรรคการเมือง คณะกรรมการ เลือกตั้ง การแบงเขตเลือกตั้ง องคการบริหารสวนตําบล การมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมทาง การเมือง เปนตน ขอมูลดานการปกครอง เชน ผูบริหารองคกรทองถิ่น องคกรทองถิ่น ผูนําในดานตาง ๆ ของทองถิ่น เชน กํานัน ผูใหญบาน การแบงเขตการปกครอง ที่ตั้งและอาณาเขตของการปกครอง ขอมูลดานศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ดานศาสนา เชน ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ศาสนสถาน สถานที่ตั้งศาสนสถาน วันสําคัญ ทางศาสนา ดานวัฒนธรรม เชน คานิยม ความเชื่อ ภาษา โบราณสถาน โบราณวัตถุ ความรูและระบบ การถายทอดความรู สภาพปญหาที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม ดานประเพณี เชน การเกิด การบวชนาค การแตงงาน การทําบุญขึ้นบานใหม พิธีกรรมใน วันสําคัญ สภาพปญหาที่เกี่ยวของกับประเพณี ขอมูลดานหนาที่พลเมือง หนาที่ หมายถึง ภาระรับผิดชอบของบุคคลที่ตองปฏิบัติกิจที่ตองทํา กิจที่ควรทํา เปนสิ่งที่ กําหนดใหทํา หรือหามมิใหกระทํา พลเมือง หมายถึง พละกําลังของประเทศซึ่งมีสวนเปนเจาของประเทศ ขอมูลดานหนาที่พลเมือง เชน ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ความ รับผิดชอบตอหนาที่ ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตย ความเสียสละ ความอดทน การไมทําบาป ความสามัคคี การรักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย การปฏิบัติตามกฎหมาย การไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง การพัฒนาประเทศ การปองกันประเทศ การรับราชการทหาร การเสียภาษีอากร การชวยเหลือราชการ การศึกษาอบรม การพิทักษปกปองและสืบสานศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ และภูมิปญญาทองถิ่น การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
  • 25. สิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา ทั้งสิ่งที่มีชีวิต สิ่งไมมีชีวิต เห็นไดดวยตาเปลา และไมสามารถเห็นไดดวยตาเปลา รวมทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยเปนผูสรางขึ้น หรือ อาจจะกลาวไดวาสิ่งแวดลอมจะประกอบดวยทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้นใน ชวงเวลาหนึ่งเพื่อสนองความตองการของมนุษยนั่นเอง 5 สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ไดแก สาธารณูปการตาง ๆ เชน ถนน เขื่อนกั้นน้ํา ฯลฯ หรือ ระบบของสถาบันสังคมมนุษยที่ดําเนินชีวิตอยู ฯลฯ สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ ไดแกบรรยากาศ น้ํา ดิน แรธาตุ และสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู บนโลก (พืช และสัตว) ฯลฯ ทรัพยากรธรรมชาติ5 ขอมูลดาน สิ่งแวดลอม ทรัพยากร เชน หมายถึง สิ่งตาง ๆ(สิ่งแวดลอม) ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย สามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลังงาน และกําลัง แรงงานมนุษย เปนตน 1. กลุมขอมูลดานธรณีวิทยา เชน โครงสรางของโลก สวนประกอบของโลก คุณสมบัติของ ดิน แผนดินไหว ภูเขาไฟ น้ําพุรอน แหลงแร หินและวัฏจักร การเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลก 2. กลุมขอมูลทางทะเล เชน อุณหภูมิของน้ําทะเล ตําแหนงที่ตรวจวัดอุณหภูมิ ตัวเลขที่ แสดงอุณหภูมิ 3. กลุมขอมูลนิเวศวิทยา เชน ตําแหนงที่ตั้งของสัตวหายาก สภาพภูมิประเทศ สภาพ ภูมิอากาศที่มักพบสัตวหายาก ลักษณะการตั้งถิ่นฐาน ฤดูกาลที่อพยพ 4. กลุมขอมูลเกี่ยวกับน้ํา เชน ปริมาณฝนตก ปริมาณความชื้นสัมพัทธในอากาศ ตําแหนง ที่ตั้งสถานีวัดปริมาณน้ําฝนในแตละภาค 5. กลุมขอมูลอากาศ เชน อุณหภูมิอากาศที่ระดับความสูงตาง ๆ 6. กลุมขอมูลเสน เชน ขอมูลเสนรอบจังหวัด ขอมูลเสนถนน และทางรถไฟ 7. กลุมขอมูลโทรสัมผัส (Remote Sensing) เชน ขอมูลภาพถายจากดาวเทียม ขอมูลทาง ดาวเทียมที่แสดงขอเท็จจริงของสภาพพื้นที่ของเกาะ หรือภูเขา ขอมูลดานสาธารณสุข เชน จํานวนโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานีอนามัยประจําตําบล จํานวนแพทย พยาบาล เจาหนาที่สาธารณสุข จํานวนคนเกิด คนตาย สาเหตุการตาย โรคที่พบบอย โรคระบาด
  • 26. รายชื่อสถานศึกษา จํานวนครู จํานวนนักเรียนใน สถานศึกษานั้น ๆ จํานวนผูจบการศึกษา สภาพปญหาดานการศึกษา 1.2 ความสําคัญของขอมูล ความสําคัญของขอมูลตอตนเอง 1. ทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวิตอยูรอดปลอดภัย มนุษยรูจักนําขอมูลมาใชในการดํารงชีวิต แตโบราณแลว มนุษยรูจักสังเกตสิ่งตาง ๆ ที่อยูรอบตัว เชน สังเกตวาดิน อากาศ ฤดูกาลใดที่เหมาะสม กับการปลูกพืชผักกินไดชนิดใด พืชชนิดใดใชเปนยารักษาโรคได สะสมเปนองคความรูแลวถายทอดสืบ ตอกันมา ขอมูลตาง ๆ ทําใหมนุษยสามารถนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชเปนอาหาร สิ่งของเครื่องใช ที่อยู อาศัย และยารักษาโรคเพื่อการดํารงชีพได 2. ชวยใหเรามีความรูความเขาใจเรื่องราวตาง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัว เชน เรื่องรางกาย จิตใจ ความตองการ พฤติกรรมของตนเอง และผูอื่น ทําใหมนุษยสามารถปรับตัวเอง ใหอยูรวมกับคนใน ครอบครัวและสังคมไดอยางมีความสงบสุข 3. ทําใหตนเองสามารถแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใหผานพนไปไดดวยดี การตัดสินใจตอการ กระทําหรือไมกระทําสิ่งใดที่ไมมีขอมูลหรือมีขอมูลไมถูกตองอาจทําใหเกิดการผิดพลาดเสียหายได ความสําคัญของขอมูลตอชุมชน/สังคม 1. ทําใหเกิดการศึกษาเรียนรู ซึ่งการศึกษาเปนสิ่งจําเปนตอการพัฒนาชุมชน/สังคมเปนอยางยิ่ง ชุมชน/สังคมใดที่มีผูไดรับการศึกษา การพัฒนาก็จะเขาไปสูชุมชน/สังคมนั้นไดงายและรวดเร็ว 2. ขอมูลตาง ๆ ที่สะสมเปนองคความรูนั้น สามารถรักษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุนตอ ๆ ไปในชุมชน/สังคม ทําใหเกิดความรูความเขาใจ วัฒนธรรมของชุมชน/สังคม ตนเอง และตางสังคมได กอใหเกิดการอยูรวมกันไดอยางสงบสุข 3. ชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ทั้งทางดานเทคโนโลยี การศึกษา เศรษฐศาสตร การคมนาคม การเกษตร การพาณิชย ฯลฯ ที่เปนพื้นฐานตอการพัฒนาชุมชน/ สังคม 1.3 ประโยชนของขอมูล 1. เพื่อการเรียนรู 2. เพื่อการศึกษาคนควา 3. เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา 4. เพื่อใชในการนํามาปรับปรุงแกไข 5. เพื่อใชเปนหลักฐานสําคัญตาง ๆ 6. เพื่อการสื่อสาร 7. เพื่อการตัดสินใจ