ศ นย การเร ยนร ภ ม ป ญญาไทย จ.สม ทรปราการ

๒ คำนำ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาสมุทรปราการ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการดำเนินงานและ การจัดทำแผนของ สถานศกึ ษาในสงั กัด และหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง เพ่ือให้บรรลเุ ป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ตอบสนองความเปลี่ยนแปลง โดยมีเป้าหมายในปี พ.ศ. 2570 โดยเชื่อมโยงสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศกึ ษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ทั้งนี้ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับนี้ ได้กำหนดเป้าหมายภาพรวมและตัวชี้วัด ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2570 ที่สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สมุทรปราการ และหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้อง สามารถนำไปกำหนดแผนปฏิบัตกิ ารในการขับเคล่อื นให้เหมาะสม ในแต่ละปี และสามารถนำแนวทางพัฒนาที่กำหนดไว้ ไปเลือกปรับใช้ตามบริบทของตนเอง เพื่อให้บรรลุ คา่ เปา้ หมายภายในปี พ.ศ. 2570 ตอ่ ไป สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาสมุทรปราการ ธนั วาคม 256๕

๓ สารบัญ หนา้ 1 เรื่อง 1 ๑ สว่ นที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ๒ ๓ ๑. ความเปน็ มา 4 ๔ ๒. อำนาจหนา้ ท่ี ๑6 ๒3 ๓. สถานท่ีต้งั ๒4 ๒4 ๔. การบริหารและจัดการศึกษา ๒5 ๒5 ๕. บุคลากรทางการศกึ ษา ๒6 ๒9 ๖. สถานศกึ ษาและนกั เรียนในสังกัด ๒9 30 ๗. ดา้ นการศกึ ษา ๓1 ๓2 ๘. ด้านมาตรฐานสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ๓๔ สว่ นท่ี 2 ยทุ ธศาสตร์ แผนสำคัญทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ๓๔ ๑.พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ ๓๖ ๒. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ๓๖ 3. แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) ๓๖ 4. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 ๓๗ 5. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ 6. นโยบายการจดั การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๖๖ 7. นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 8. จดุ เนน้ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๙. แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สว่ นท่ี 3 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ สว่ นที่ 4 การขับเคล่ือนแผนพัฒนาการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ๔๗ ภาคผนวก - คำสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ. 256๖ - ๒๕๗๐ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสมทุ รปราการ

๑ สว่ นที่ ๑ ข้อมลู ทั่วไป ๑. ความเป็นมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ จัดตั้งขึ้น ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกำหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. ๒๕64 ประกอบด้วยท้องที่จังหวัดสมุทรปราการ ให้สำนักงานเขต พืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ตัง้ อยูท่ ี่อำเภอเมืองสมทุ รปราการ ๒. อำนาจหนา้ ท่ี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้ การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่ดำเนินการ ให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และมาตรา37 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2564 และตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง การแบง่ สว่ นราชการภายใน สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา พ.ศ. 2560 ข้อ 5 ให้สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามีอำนาจหน้าที่ดำเนินการ ให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศกึ ษาธิการ ดงั ต่อไปนี้ 1. จัดทำนโยบายแผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศกึ ษาให้สอดคล้องกบั นโยบายมาตรฐานการศึกษาแผนการศึกษาแผนพัฒนาการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานและความต้องการของทอ้ งถิ่น 2. วิเคราะหก์ ารจัดตั้งงบประมาณเงนิ อุดหนนุ ท่วั ไปของสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานในเขตพื้นที่ การศึกษาและแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบรวมทั้งกำกับตรวจสอบ ตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานดังกล่าว 3. ประสานสง่ เสริมสนบั สนุนและพัฒนาหลักสตู รร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา 4. กำกบั ดูแลติดตามและประเมินผลสถานศกึ ษาขน้ั พื้นฐานและในเขตพนื้ ที่การศึกษา 5. ศกึ ษาวเิ คราะห์วจิ ัยและรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นการศึกษาในเขตพื้นทก่ี ารศึกษา 6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมท้งั ทรพั ยากรบุคคลเพ่ือสง่ เสริมสนับสนุนการ จัดและพัฒนาการศกึ ษาในเขตพื้นที่การศึกษา 7. จดั ระบบประกันคุณภาพการศึกษาและประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา 8. ประสานส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นรวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอ่ืนที่จัด การศึกษารปู แบบท่หี ลากหลายในเขตพ้ืนที่การศกึ ษา

๒ 9. ดำเนินการและประสานส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่ การศกึ ษา 10. ประสานส่งเสรมิ การดำเนนิ การของคณะอนกุ รรมการและคณะทำงานด้านการศกึ ษา 11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆทั้งภาครัฐเอกชนและ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นในฐานะสำนกั งานผู้แทนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา 12. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษาที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าท่ี ของหนว่ ยงานใดโดยเฉพาะหรอื ปฏิบตั งิ านอน่ื ที่ไดร้ บั มอบหมาย ๓. สถานทต่ี ัง้ สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาสมุทรปราการ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 34/6 อาคารวีระ รอดเรือง ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ รหัสไปรษณีย์ 10270 บรหิ ารและจดั การการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานระดับมธั ยมศึกษาในท้องทจ่ี งั หวดั สมุทรปราการ มีโรงเรียนในสังกัด จำนวน 25 โรงเรียน

๓ ๔. การบริหารจัดการศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาสมุทรปราการ แบ่งสว่ นราชการตามกฎกระทรวง ว่าด้วย การกำหนดหลักเกณฑ์การแบง่ สว่ นราชการภายในสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา พุทธศักราช 2546 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560 ขอ้ 6 และประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง การแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษา พ.ศ. 2560 แบง่ เพิ่มเป็น 10 กลุ่มงาน โครงสร้างการบริหารงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสมุทรปราการ ผู้อำนวยกำรสำนกั งำนเขตพนื้ ทก่ี ำรศกึ ษำมัธยมศกึ ษำสมุทรปรำกำร คณะกรรมกำรตดิ ตำมตรวจสอบประเมินผล หน่วยตรวจสอบภำยใน รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสมุทรปราการ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาสมทุ รปราการ กล่มุ บริหารการเงนิ กลุม่ บริหารงาน กล่มุ สง่ เสรมิ การจดั กล่มุ สง่ เสรมิ กลุ่มนโยบาย และสนิ ทรัพย์ บคุ คล การศกึ ษา การศึกษาทางไกล และแผน 1. งำนบริหำรกำรเงนิ 1. งำนวำงแผนอตั รำกำลัง 1. งำนส่งเสรมิ กำรจดั 1. งำนจัดกำรศึกษำทำงไกล 1. งำนจัดทำนโยบำยและ 2. งำนบริหำรงำนบัญชี และกำหนดตำแหนง่ กำรศกึ ษำข้ันพน้ื ฐำน 2. งำนระบบข้อมลู แผนพัฒนำกำรศกึ ษำ 3. กลมุ่ งำนบรหิ ำรพัสดุ 2. งำนวทิ ยะฐำน 2. งำนสง่ เสริมกิจกำร สำรสนเทศเพื่อกำรบรหิ ำร 2. งำนงบประมำณ 4. กลุม่ งำนบริหำรสนิ ทรัพย์ 3. งำนสรรหำ บรรจุ และ นกั เรยี น และจดั กำรศึกษำ 3. งำนตรวจสอบ ติดตำม 5. งำนให้คำปรึกษำสถำน แต่งตงั้ ยำ้ ยโอน และลำออก 3. งำนส่งเสริมระบบดูแล 3. งำนระบบคอมพวิ เตอร์ กำรใชจ้ ำ่ ยงบประมำณ และ ศกึ ษำเก่ยี วกบั กำร 4. งำนประเมนิ ผลกำร ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น และเทคโนโลยสี ำรสนเทศ กำรปฏิบัตติ ำมนโยบำยและ ดำเนนิ กำรบริหำร กำรเงิน ปฏบิ ัติงำน กำรเลอื่ น 4. งำนส่งเสรมิ สวสั ดกิ ำร และกำรส่ือสำร แผน งำนบัญชี งำนพัสดุ และงำน เงินเดือน นักเรียน 4. งำนบริกำรเทคโนโลยี 4. งำนวิเครำะห์ และจัดทำ บริหำรสนิ ทรัพย์ 5. งำนบำเหน็จควำมชอบ 5. งำนอ่นื ๆ ท่ีไดร้ บั สำรสนเทศ ข้อมูลกำรจดั ตง้ั ยบุ รวม 6. งำนอื่น ๆ ทีไ่ ดร้ บั และทะเบียนประวัติ มอบหมำย 5. งำนอน่ื ๆ ท่ีไดร้ ับ เลิก และโอนสถำนศึกษำ มอบหมำย 6. งำนระบบจ่ำยตรง มอบหมำย 5. งำนธรุ กำร เงนิ เดือนและค่ำจ้ำงประจำ 6. งำนอื่น ๆ ทไ่ี ดร้ ับ กลมุ่ พัฒนาครูและ 7. งำนบริหำรและอำนวย มอบหมำย บคุ ลากรทางการศกึ ษา ควำมสะดวกในกำรออก หนังสอื รับรองต่ำง ๆ กลุ่มอำนวยการ กลมุ่ กฎหมายและคดี 1. งำนฝกึ อบรมกำรพฒั นำ 8. งำนอื่น ๆ ท่ีได้รับ กอ่ นแตง่ ตั้ง 2. งำนฝกึ อบรมพฒั นำเพื่อ มอบหมำย เพ่มิ ศักยภำพกำรปฏิบตั งิ ำน 3. งำนสง่ เสริมสนบั สนนุ กลมุ่ นิเทศติดตาม 1. งำนสำรบรรณสำนักงำน 1. งำนสนับสนุน พัฒนำ กำรมวี นิ ยั และรกั ษำวนิ ยั และยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ และประเมนิ ผลฯ เขตพืน้ ท่กี ำรศึกษำ 2. ดำเนินกำรตรวจสอบเกีย่ วกับเร่ืองร้องเรยี น 4. รำยกำรลำศึกษำต่อ 2. งำนชว่ ยอำนวยกำร 3. ดำเนนิ กำรตรวจสอบเกี่ยวกับวินัยและตรวจ ฝกึ อบรม หรือปฏิบตั กิ ำร 1. งำนประสำน สง่ เสริม สนับสนุน และพฒั นำหลักสตู ร 3. งำนอำคำร สถำนที่ และ พจิ ำรณำวินยั วิจยั 2. งำนศึกษำ วิเครำะห์ วิจยั เพือ่ พัฒนำหลกั สูตรกำรสอน ส่ิงแวดลอ้ ม 4. ดำเนนิ กำรเกี่ยวกับอุทธรณแ์ ละกำรพิจำรณำกำร 5. งำนระบบเครือข่ำยกำร และกระบวนกำรเรียนรู้ของผ้เู รียน 4. งำนยำนพำหนะ อุทธรณ์ พฒั นำครแู ละบุคลำกร 3. งำนวจิ ยั พฒั นำ ส่งเสรมิ ตดิ ตำม ตรวจสอบ และ 5. งำนกำรจัดระบบบรหิ ำร 5. ดำเนนิ กำรเกีย่ วกับกำรร้องทกุ ข์ กำรพิจำรณำกำร ทำงกำรศกึ ษำ ประเมนิ ผล สำนกั งำนเขตพ้นื ท่ี ร้องทุกข์ 6. งำนอืน่ ๆ ท่ไี ด้รบั 4. งำนวจิ ัย พฒั นำ สง่ เสริมมำตรฐำนกำรศกึ ษำและกำร กำรศกึ ษำ 6. ดำเนนิ กำรเก่ียวกับควำมรับผดิ ชอบละเมนิ ของ มอบหมำย ประกันคุณภำพกำรศึกษำ ประเมนิ ติดตำม และ 6. งำนประสำนงำน เจ้ำหนำ้ ท่ี ตรวจสอบคุณภำพกำรศึกษำ 7. งำนเลือกและสรรหำ 7. ดำเนนิ กำรเก่ียวกับงำนคดปี กครอง คดีแพง่ 5. งำนนิเทศติดตำม และประเมนิ ผลกำรศกึ ษำ กรรมกำร และอนกุ รรมกำร คดอี ำญำ และคดอี นื่ ๆ ของรฐั 6. งำนศึกษำ วเิ ครำะห์ วิจัย พฒั นำสง่ เสริม และพฒั นำ 8. งำนประชำสัมพันธ์ 8. ดำเนนิ กำรป้องกัน และปรำบปรำมกำรทจุ ริตและ สื่อวตั กรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ 9. งำนอืน่ ๆ ทีไ่ ดร้ ับ ประพฤตมิ ิชอบ 7. งำนเลขำนุกำรคณะกรรมกำรติดตำม ตรวจสอบ มอบหมำย 9. ศกึ ษำ วเิ ครำะห์ วิจยั จดั ทำข้อมูล และตดิ ตำม ประเมินผล และนเิ ทศกำรศกึ ษำ ประเมนิ ผลเพื่อพฒั นำงำนด้ำนกฎหมำยแลคดขี องรัฐ 10. งำนอน่ื ๆ ที่ได้รับมอบหมำย 8. งำนปฏิบตั ิกำรร่วมกับสนับสนุนกำรปฏบิ ัตงิ ำนของ หน่วยอ่นื 9. งำนอน่ื ๆ ท่ไี ดร้ ับมอบหมำย

๔ ๕. บุคลากรทางการศกึ ษา ตารางที่ ๑ จำนวนครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ขอ้ มูล ณ พฤศจิกายน 6๕) ประเภท จำนวน ผอ.สพม.สป. 1 รอง ผอ.สพม.สป. ๒ ศึกษานเิ ทศก์ 8 บคุ ลากร 38 ค(2) ๙ ผบู้ ริหารสถานศึกษา(ผอ.ร.ร.และรอง) ๙6 ครู ๒,๒๖๘ ธรุ การโรงเรียน ๑๐ พนกั งานราชการ 3๙ ลูกจ้างประจำ 2๙ ลูกจา้ งชว่ั คราว ๕๔๙ รวมทั้งสนิ้ ๒,๙๘๒ ๖. สถานศึกษาและนกั เรยี นในสงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาสมทุ รปราการแบง่ การบรหิ ารออกเปน็ ๔ สหวทิ ยาเขต ดงั น้ี ตารางที่ ๒ ข้อมลู สหวิทยาเขตและจำนวนโรงเรยี นในเครอื ข่าย ท่ี สหวิทยาเขต จำนวนโรงเรียนในเครอื ขา่ ย ๑ สหวิทยาเขตเมืองปราการ ๖ ๒ สหวทิ ยาเขตสวุ รรณภมู ปิ ราการ ๗ ๓ สหวิทยาเขตวทิ ยปราการ ๖ ๔ สหวิทยาเขตปอ้ มปราการ ๖

๕ ตารางท่ี ๓ ศูนยแ์ ม่ขา่ ย และเครือข่ายในแตล่ ะสหวทิ ยาเขต ศูนย์แม่ขา่ ย โรงเรยี นท่ีเปน็ เครือข่าย 1. สหวิทยาเขตเมอื งปราการ 1. โรงเรยี นสตรีสมุทรปราการ 2. โรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ สมทุ รปราการ 3. โรงเรยี นบางแกว้ ประชาสรรค์ 4. โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษาน้อมเกล้า สมุทรปราการ 5. โรงเรยี นมธั ยมวดั ด่านสำโรง 6. โรงเรยี นปทุมคงคา สมุทรปราการ 2. สหวิทยาเขตสุวรรณภูมิ 1. โรงเรียนราชวนิ ิตบางแกว้ ปราการ 2. โรงเรยี นบางบอ่ วทิ ยาคม 3. โรงเรยี นราชวนิ ติ สุวรรณภูมิ 4. โรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ เตรียมอุดมศกึ ษาพัฒนาการ 5. โรงเรยี นบางพลรี าษฎรบ์ ำรุง 6. โรงเรียนเปร็งวิสุทธาธิบดี 7. โรงเรยี นพลู เจริญวิทยาคม ๓. สหวิทยาเขตวิทยปราการ 1. โรงเรยี นสมทุ รปราการ 4. สหวิทยาเขตป้อมปราการ 2. โรงเรียนหาดอมราอักษรลักษณ์วิทยา 3. โรงเรยี นมธั ยมวัดศรีจนั ทรป์ ระดิษฐ์ ในพระบรมราชานเุ คราะห์ 4. โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ศิ สวนกุหลาบวิทยาลยั สมทุ รปราการ 5. โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ 6. โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สงิ ห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ 1. โรงเรียนวิสุทธกิ ษตั รี 2. โรงเรียนปอ้ มนาคราชสวาทยานนท์ 3. โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝ่ายมัธยมรชั ดาภิเษก ในพระบรม ราชปู ถัมภ์ 4. โรงเรยี นวัดทรงธรรม 5. โรงเรียนสาขลาสุทธีราอปุ ถมั ภ์ 6. โรงเรียนมธั ยมวัดใหมส่ มุทรกจิ วทิ ยาคม

๖ ตารางที่ ๔ ทตี่ ้ังสถานศกึ ษาในสังกัด ท่อี ยู่ ท่ี โรงเรยี น 497 ถนนสขุ ุมวิท ต.ปากนำ้ อ.เมอื งสมทุ รปราการ 1 โรงเรยี นสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 498 ถนนสขุ ุมวทิ ต.ปากนำ้ อ.เมอื งสมทุ รปราการ 2 โรงเรียนสตรสี มุทรปราการ จ.สมทุ รปราการ 799 หมทู่ ่ี 6 ถนนเทพารักษ์ ต.บางเมืองใหม่ 3 โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ สมุทรปราการ อ.เมืองสมทุ รปราการ จ.สมทุ รปราการ 973 หม่ทู ี่ 8 ถนนสุขุมวทิ ต.สำโรงเหนือ อ.เมืองสมุทรปราการ 4 โรงเรยี นมัธยมวัดด่านสำโรง จ.สมทุ รปราการ 4 หมทู่ ี่ 2 ถนนสุขุมวิท ต.บางปใู หม่ อ.เมืองสมุทรปราการ 5 โรงเรียนมัธยมวัดศรจี ันทร์ประดษิ ฐ์ จ.สมทุ รปราการ ในพระบรมราชานเุ คราะห์ 234 หมูท่ ี่ 4 ถนนทา้ ยบ้าน ต.ท้ายบ้าน อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 6 โรงเรยี นหาดอมราอกั ษรลกั ษณว์ ิทยา 261 หม่ทู ี่ 3 ถนนสขุ มุ วิท ต.บางปู อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมทุ รปราการ 7 โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ สวนกุหลาบ 1126 ต.ตลาด อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ วิทยาลัย สมุทรปราการ 71 ถนนทรงเมือง ต.ตลาด อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ หมู่ท่ี 1 ต.บางจาก อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 8 โรงเรียนวดั ทรงธรรม 9 โรงเรยี นวิสุทธิกษตั รี 18/1 หมู่ที่ 15 ต.บางหัวเสือ อ.พระประแดง 10 โรงเรียนราชประชาสมาสยั ฝา่ ยมัธยม จ.สมุทรปราการ 168 หมู่ที่ 3 ต.ปากคลองบางปลากด อ.พระสมทุ รเจดยี ์ รชั ดาภิเษกในพระบรมราชปู ถัมภ์ จ.สมทุ รปราการ 11 โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษานอ้ มเกล้า 106 หมู่ที่ 5 ต.ในคลองบางปลากด อ.พระสมทุ รเจดีย์ จ.สมทุ รปราการ สมทุ รปราการ 198 หมู่ท่ี 4 ต.นาเกลือ อ.พระสมทุ รเจดยี ์ จ.สมุทรปราการ 12 โรงเรยี นปอ้ มนาคราชสวาทยานนท์ 55/5 ถนนพุทธรกั ษา ต.แพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ 13 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่สมุทรกจิ วทิ ยาคม จ.สมทุ รปราการ 154 หม่ทู ี่ 8 ถนนสุขาภิบาล ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี 14 โรงเรยี นสาขลาสุทธีราอุปถัมภ์ จ.สมุทรปราการ 15 โรงเรยี นปทมุ คงคา สมุทรปราการ 31 หมู่ท่ี 13 ถนนบางนา - ตราด ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 16 โรงเรียนบางพลีราษฎรบ์ ำรงุ 48 หม่ทู ี่ 2 ถนนหนามแดง - บางพลี ต.บางแกว้ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 17 โรงเรียนราชวนิ ิตบางแก้ว ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 18 โรงเรียนบางแกว้ ประชาสรรค์

๗ ท่ี โรงเรียน ที่อยู่ 19 โรงเรียนพลู เจรญิ วิทยาคม 16 หมูท่ ่ี 1 ถนนบางนา - ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมทุ รปราการ 20 โรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ 99/9 หมู่ที่ 2 ต.หนองปรอื อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 21 โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม 23 หมทู่ ี่ 3 ถนนบางนา - ตราด ต.บางบ่อ อ.บางบอ่ 22 โรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ เตรยี มอดุ ม จ.สมทุ รปราการ ศกึ ษาพัฒนาการ สมทุ รปราการ 99 หมทู่ ี่ 7 ถนนบางนา - ตราด ต.บางบ่อ อ.บางบ่อ จ.สมทุ รปราการ 23 โรงเรยี นหลวงพ่อปานคลองดา่ นอนุสรณ์ 600 หมู่ที่ 13 ถนนปานวถิ ี ต.คลองด่าน อ.บางบอ่ จ.สมุทรปราการ 24 โรงเรียนเปรง็ วิสุทธาธิบดี 35 หมูท่ ี่ 4 ถนนออ่ นนุช ต.เปร็ง อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ 25 โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสน)ี 119/22 หมทู่ ี่ 13 ถนนเทพารกั ษ์ ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ ตารางท่ี ๕ จำนวนโรงเรยี น / ครู / นักเรียน / หอ้ งเรียน ปีการศึกษา 2565 (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มถิ ุนายน 2565) จังหวดั จำนวน จำนวนนักเรยี น ปกี ารศึกษา 2565 รวม หอ้ งเรยี น ครู โรงเรียน 50,993 สมทุ รปราการ กอ่ นประถม ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย 50,993 1,371 2,319 รวม 25 - - 28,292 22,701 1,371 2,319 25 - - 28,292 22,701 ตารางที่ ๖ จำนวนของสถานศึกษา นักเรียน ครูและห้องเรียน จำแนกตามอำเภอที่ตัง้ ของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2565 อำเภอ สถาน มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม ครู ศกึ ษา นักเรียน หอ้ ง นักเรียน ห้อง นกั เรียน หอ้ ง เมอื งสมุทรปราการ 8 10,109 267 8,086 216 18,195 483 816 บางบอ่ 4 4,486 117 2,896 83 7,382 200 324 บางพลี 5 6,241 168 5,069 136 11,310 304 534 พระประแดง 4 5,004 131 4,829 124 9,833 255 445 พระสมุทรเจดยี ์ 3 1,181 39 990 34 2,171 73 105 บางเสาธง 1 1,271 31 831 25 2,102 56 95 25 28,292 753 22,701 618 50,993 1,371 2,319 รวมทง้ั สิ้น

๘ ตารางที่ ๗ แสดงจำนวนของสถานศึกษา นักเรียน ครูและห้องเรียน จำแนกตามสหวิทยาเขต ปีการศึกษา 2565 สหวิทยาเขต สถาน มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รวม ครู ศกึ ษา นักเรยี น หอ้ ง นักเรียน ห้อง นกั เรยี น ห้อง เมอื งปราการ 6 7,742 200 6,242 163 13,984 363 616 วิทยปราการ 6 6,815 187 4,922 141 11,737 328 535 ป้อมปราการ 6 4,656 129 4,586 126 9,242 255 427 สุวรรณภมู ปิ ราการ 7 9,079 237 6,951 188 16,030 425 741 รวมทงั้ สนิ้ 25 28,292 753 22,701 618 50,993 1,371 2,319 ตารางที่ ๘ จำนวนนกั เรียน หอ้ งเรยี น จำแนกตามระดับช้ัน ปกี ารศกึ ษา 2565 ชัน้ จำนวนนกั เรียน ปีการศึกษา 2565 จำนวนห้อง มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 9,459 255 มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 9,679 252 246 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 9,154 753 รวมมัธยมศึกษาตอนตน้ 28,292 214 7,838 205 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 199 618 มธั ยมศึกษาปีที่ 5 7,541 1,371 มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 7,322 รวมมธั ยมศึกษาตอนปลาย 22,701 รวม 50,993

๙ ตารางท่ี ๙ จำนวนขนาดโรงเรยี น ปีการศึกษา 2565 ที่ โรงเรียน จำนวน ขนาด ขนาด ขนาด ขนาด นกั เรียน เลก็ กลาง ใหญ่ ใหญ่พิเศษ ๑ โรงเรยี นสาขลาสทุ ธรี าอุปถัมภ์ ๗๙ ✓ ๒ โรงเรยี นมัธยมวัดใหมส่ มทุ รกิจวทิ ยาคม 280 ✓ ๓ โรงเรียนเปร็งวิสุทธาธิบดี 246 ✓ ๔ โรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ 1,479 ✓ ๕ โรงเรยี นมัธยมวดั ศรจี นั ทร์ประดษิ ฐ์ ในพระบรม 1,220 ✓ ราชานเุ คราะห์ 1,183 ✓ ๖ โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนสุ รณ์ ๗ โรงเรียนหาดอมราอักษรลกั ษณว์ ิทยา 1,072 ✓ ๘ โรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ 616 ✓ ๙ โรงเรียนปทมุ คงคา สมทุ รปราการ 2,292 ✓ ๑๐ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมทุ รปราการ 2,102 ✓ ๑๑ โรงเรยี นวัดทรงธรรม 2,026 ✓ ๑๒ โรงเรยี นมัธยมวดั ด่านสำโรง 1,854 ✓ ๑๓ โรงเรยี นป้อมนาคราชสวาทยานนท์ 1,812 ✓ ๑๔ โรงเรียนวสิ ทุ ธกิ ษตั รี 1,804 ✓ ๑๕ โรงเรยี นสมทุ รปราการ 3,501 ✓ ✓ ๑๖ โรงเรยี นราชวินิตบางแก้ว 3,387 ✓ ✓ ๑๗ โรงเรียนราชประชาสมาสยั ฝ่ายมธั ยมฯ 3,241 ✓ ✓ ๑๘ โรงเรียนบางพลรี าษฎร์บำรงุ 3,134 ✓ ✓ ๑๙ โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ 3,019 ✓ ✓ ๒๐ โรงเรยี นบางบอ่ วิทยาคม 2,934 ✓ ๒๑ โรงเรียนสตรสี มุทรปราการ 2,891 ๑๑ ๒๒ โรงเรียนเทพศริ นิ ทร์ สมทุ รปราการ 2,706 ๒๓ โรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษานอ้ มเกลา้ สมุทรปราการ 2,762 ๒๔ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย 2,659 สมุทรปราการ ๒๕ โรงเรยี นพูลเจริญวิทยาคม 2,694 รวม 50,993 ๓ ๕ ๖

๑๐ ตารางที่ 1๐ โรงเรียนเปิดหอ้ งเรยี นพิเศษ ท่ี โรงเรยี น อำเภอ จังหวัด ปีทเ่ี ปิดหอ้ งเรียนพิเศษ EP IEP MEP 1 โรงเรยี นนวมินทราชินูทิศ บางบ่อ สมทุ รปราการ 2556 2556 เตรยี มอุดมศกึ ษาพฒั นาการ (ม.ต้น) (ม.ปลาย) 2 โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษา พระประแดง สมุทรปราการ 2552 น้อมเกล้า สมุทรปราการ บางบอ่ สมุทรปราการ (ม.ต้น) 3 โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม 2558 2554 (ม.ต้น) (ม.ต้น) 2558 4 โรงเรียนราชวินติ บางแกว้ บางพลี สมุทรปราการ 5 โรงเรียนพูลเจรญิ วิทยาคม บางพลี สมทุ รปราการ (ม.ปลาย) 6 โรงเรียนบางพลีราษฎร์บำรงุ บางพลี สมุทรปราการ 2546 (ม.ตน้ ) 7 โรงเรียนสมทุ รปราการ เมอื ง สมทุ รปราการ 2554 (ม.ต้น) 8 โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ เมือง สมุทรปราการ 2557 (ม.ปลาย) 2555 (ม.ตน้ /ม.ปลาย) 2557 (ม.ตน้ /ม.ปลาย) 2558 (ม.ต้น) ตารางท่ี 1๑ ศนู ย์ ERIC ตำบล ท่ีตงั้ อำเภอ/จังหวดั ท่ี ชือ่ โรงเรียน บางพลี ปากคลองบางปลากด บางพล/ี สมุทรปราการ ศนู ย์ ERIC จงั หวัดสมุทรปราการ พระสมุทรเจดีย/์ สมทุ รปราการ 1 โรงเรยี นบางพลรี าษฎร์บำรุง 2 โรงเรยี นปอ้ มนาคราชสวาทยานนท์ ตารางท่ี 1๒ โรงเรียนต้นแบบการจัดการเรยี นรวม ท่ี ช่อื โรงเรยี น ตำบล ทตี่ ้งั ระดับชน้ั ที่เปดิ สอน ท้ายบ้าน อำเภอ/จังหวดั 1 โรงเรียนหาดอมราอกั ษรลักษณ์วทิ ยา ม.ต้น-ม.ปลาย 2 โรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ บางแก้ว เมือง/สมุทรปราการ ม.ตน้ -ม.ปลาย บางพล/ี สมทุ รปราการ

๑๑ ตารางที่ 1๓ โรงเรยี นทเี่ ปิดหลักสตู ร EIS ระดับช้ันท่ีเปดิ สอน จำนวนหอ้ ง ท่ี ช่อื โรงเรยี น ม.1-ม.3 2 ม.1-ม.3 , ม.4-ม.6 ระดับละ 9 หอ้ ง 1 โรงเรยี นราชประชาสมาสยั ฝา่ ยมัธยมฯ 2 โรงเรยี นนวมินทราชนิ ูทิศ เตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ ม.1-ม.3 11 3 โรงเรียนพลู เจริญวิทยาคม ม.4-ม.6 7 ม.1-ม.3 2 4 โรงเรียนบางแก้วประชาสรรค์ ม.1-ม.3 , ม.4-ม.6 ระดบั ละ 1 หอ้ ง 5 โรงเรยี นหาดอมราอกั ษรลักษณว์ ทิ ยา ม.1-ม.3 2 6 โรงเรยี นบางพลีราษฎร์บำรงุ ม.4-ม.6 1 ม.1-ม.3 , ม.4-ม.6 ระดับละ 1 หอ้ ง 7 โรงเรียนราชวนิ ติ สวุ รรณภมู ิ ตารางท่ี 1๔ โรงเรยี นโครงการ Education Hub อำเภอ จงั หวดั บางพลี สมทุ รปราการ ท่ี ชอื่ โรงเรยี น 1 โรงเรยี นพูลเจริญวทิ ยาคม (Science - Maths Bilingual Program (SMBP) ตารางท่ี ๑๕ โรงเรียนคพู่ ฒั นา ท่ี ชื่อโรงเรยี น อำเภอ จงั หวัด โรงเรียนคูพ่ ฒั นำ อำเภอ จงั หวัด 1 สตรสี มทุ รปราการ เมือง สมทุ รปรำกำร ปทมุ คงคำ เมอื ง สมทุ รปรำกำร สมุทรปรำกำร สมทุ รปรำกำร สมทุ รปรำกำร

๑๒ ตารางที่ ๑๖ โรงเรยี นมาตรฐานสากลของสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสมทุ รปราการ ท่ี ชอ่ื โรงเรียนมาตรฐานสากล รนุ่ ท่ี จังหวดั 1 โรงเรยี นสมทุ รปราการ 1 สมทุ รปราการ 2 โรงเรียนสตรสี มทุ รปราการ 1 สมุทรปราการ 3 โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ิศ สวนกหุ ลาบวิทยาลัยสมุทรปราการ 1 สมทุ รปราการ 4 โรงเรียนวดั ทรงธรรม 1 สมุทรปราการ 5 โรงเรียนราชประชาสมาสัย ฝา่ ยมัธยม รัชดาภเิ ษก 1 สมุทรปราการ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 1 สมุทรปราการ 6 โรงเรยี นนวมินทราชนิ ูทศิ เตรยี มอุดมศึกษาพฒั นาการ 1 สมุทรปราการ 7 โรงเรียนบางพลรี าษฎรบ์ ำรงุ 1 สมทุ รปราการ 8 โรงเรยี นราชวินิตบางแก้ว 2 สมทุ รปราการ 9 โรงเรยี นพูลเจรญิ วิทยาคม 2 สมุทรปราการ 10 โรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสนี สมุทรปราการ) 2 สมุทรปราการ 11 โรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ 2 สมทุ รปราการ 12 โรงเรียนเตรยี มอุดมศึกษานอ้ มเกล้า สมุทรปราการ ตารางท่ี ๑๗ ศนู ยพ์ ัฒนาวิชาการจังหวัดสมทุ รปราการ ท่ี ศูนยพ์ ฒั นาวชิ าการ ทต่ี งั้ ศูนย์ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จงั หวดั สมุทรปราการ โรงเรยี นราชประชาสมาสยั ฝา่ ยมัธยม รชั ดาภิเษก ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2 กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรยี นสตรสี มทุ รปราการ จังหวัดสมทุ รปราการ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชวนิ ติ บางแกว้ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จังหวดั สมุทรปราการ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นสมทุ รปราการ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จงั หวดั สมทุ รปราการ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา โรงเรยี นวัดทรงธรรม และวัฒนธรรม จงั หวดั สมทุ รปราการ 6 กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา โรงเรียนนวมินทราชนิ ทู ิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย จงั หวัดสมุทรปราการ สมุทรปราการ 7 สาระดนตรี จงั หวัดสมทุ รปราการ โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษานอ้ มเกลา้ สมุทรปราการ 8 สาระนาฏศลิ ป์ จงั หวัดสมุทรปราการ โรงเรยี นวสิ ทุ ธิกษัตรี 9 สาระทัศนศิลป์ จงั หวัดสมุทรปราการ โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) สมุทรปราการ

๑๓ 10 กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ โรงเรยี นหลวงพอ่ ปานคลองดา่ นอนสุ รณ์ จงั หวัดสมุทรปราการ โรงเรยี นบางพลีราษฎรบ์ ำรุง 11 ภาษาองั กฤษ จังหวัดสมุทรปรากร โรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์ 12 ภาษาต่างประเทศที่ ๒ จังหวดั สมุทรปราการ โรงเรยี นมัธยมวดั ดา่ นสำโรง 13 กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน จังหวัดสมทุ รปราการ โรงเรยี นนวมินทราชนิ ูทศิ เตรยี มอุดมศกึ ษา 14 กจิ กรรมแนะแนวจงั หวดั สมุทรปราการ พัฒนาการ โรงเรยี นเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ ๑๕ สาระเทคโนโลยี จงั หวัดสมทุ รปราการ ตารางท่ี ๑๘ โรงเรียนในฝนั ของสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสมทุ รปราการ ท่ี รายชอื่ โรงเรียนในฝนั รุ่นท่ี ทตี่ ้ัง อำเภอ จงั หวัด 1 โรงเรียนหาดอมราอกั ษรลักษณว์ ิทยา 2 โรงเรียนป้อมนาคราชสวาทยานนท์ 1 เมอื งสมุทรปราการ สมทุ รปราการ 3 โรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษานอ้ มเกล้า สมุทรปราการ 4 โรงเรยี นบางแก้วประชาสรรค์ 1 พระสมทุ รเจดยี ์ สมทุ รปราการ 5 โรงเรยี นบางบอ่ วทิ ยาคม 6 โรงเรียนหลวงพอ่ ปานคลองด่านอนสุ รณ์ 1 พระประแดง สมุทรปราการ 1 บางพลี สมทุ รปราการ 1 บางบ่อ สมทุ รปราการ 3 บางบอ่ สมุทรปราการ ตารางท่ี ๑๙ สถานศกึ ษาพอเพียง ของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาสมทุ รปราการ ท่ี ช่ือสถานศึกษาพอเพียง อำเภอ จังหวดั ปที เ่ี ปน็ 2550 1 โรงเรยี นหาดอมราอกั ษรลกั ษณ์วทิ ยา เมืองสมุทรปราการ สมทุ รปราการ 2554 2555 2 โรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสน)ี สมทุ รปราการ บางเสาธง สมทุ รปราการ 2555 3 โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษาน้อมเกลา้ สมุทรปราการ พระประแดง สมุทรปราการ 2555 2555 4 โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สวนกหุ ลาบวิทยาลัย เมอื งสมุทรปราการ สมุทรปราการ 2555 สมทุ รปราการ 2558 2558 5 โรงเรียนราชวนิ ิตบางแก้ว บางพลี สมุทรปราการ 6 โรงเรียนมธั ยมวัดศรจี ันทรป์ ระดษิ ฐ์ เมอื งสมุทรปราการ สมทุ รปราการ ในพระบรมราชานุเคราะห์ 7 โรงเรยี นบางแกว้ ประชาสรรค์ บางพลี สมุทรปราการ 8 โรงเรยี นวิสทุ ธิกษัตรี พระประแดง สมทุ รปราการ 9 โรงเรยี นสตรสี มุทรปราการ เมอื งสมุทรปราการ สมุทรปราการ

๑๔ ตารางท่ี 2๐ จำนวนโรงเรยี นทว่ั ไป ตามระบบจดั ต้ังงบประมาณ สพฐ. ท่ี โรงเรียน ตำบล อำเภอ ๑. เปรง็ วิสทุ ธาธิบดี เปร็ง บางบอ่ ๒. หลวงพอ่ ปานคลองด่านอนุสรณ์ คลองด่าน บางบอ่ ๓. บางแก้วประชาสรรค์ บางแก้ว บางพลี ๔. มัธยมวัดดา่ นสำโรง สำโรงเหนือ เมอื งสมทุ รปราการ ๕. ปทมุ คงคา สมทุ รปราการ แพรกษาใหม่ เมืองสมุทรปราการ ๖. พลู เจริญวทิ ยาคม บางโฉลง บางพลี ๗. เทพศิรนิ ทร์ สมุทรปราการ บางเมืองใหม่ เมอื งสมุทรปราการ ตารางที่ 2๑ จำนวนโรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล ตามระบบจัดตง้ั งบประมาณ สพฐ. ท่ี โรงเรยี น ตำบล อำเภอ ๑. สาขลาสุทธรี าอปุ ถัมภ์ นาเกลอื พระสมทุ รเจดีย์ ๒. มัธยมวดั ใหมส่ มุทรกจิ วิทยาคม ในคลองบางปลากด พระสมุทรเจดยี ์ ๓. สมทุ รปราการ ปากนำ้ เมอื งสมุทรปราการ ๔. สตรีสมุทรปราการ ปากน้ำ เมืองสมุทรปราการ ๕. เตรียมอุดมศกึ ษาน้อมเกล้า สมุทรปราการ บางหวั เสือ พระประแดง ๖. วิสทุ ธิกษตั รี ตลาด พระประแดง ๗. บางพลีราษฎร์บำรงุ บางพลใี หญ่ บางพลี ๘. บางบอ่ วิทยาคม บางบอ่ บางบอ่ ๙. วดั ทรงธรรม ตลาด พระประแดง ๑๐. ป้อมนาคราชสวาทยานนท์ ปากคลองบางปลากด พระสมทุ รเจดยี ์ ๑๑. บดินทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี สมุทรปราการ บางเสาธง บางเสาธง

๑๕ ตารางท่ี 2๒ จำนวนโรงเรยี นคณุ ภาพ (โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรยี นมัธยมดีสมี่ ุมเมอื ง) ตามระบบจดั ต้ังงบประมาณ สพฐ. ท่ี โรงเรียน ตำบล อำเภอ ๑. หาดอมราอักษรลกั ษณว์ ิทยา ทา้ ยบ้าน เมืองสมุทรปราการ ตารางที่ 2๓ จำนวนโรงเรยี นพระราชดำริฯ ตามระบบจัดต้งั งบประมาณ สพฐ. ท่ี โรงเรียน ตำบล อำเภอ ๑. มัธยมวดั ศรีจนั ทรป์ ระดษิ ฐ์ ในพระบรมราชานเุ คราะห์ บางปูใหม่ เมืองสมุทรปราการ พระประแดง ๒. รเเาเคชรปาระะหช์าสมาสัยฝ่ายมธั ยมฯ บางจาก ๓. นวมนิ ทราชนิ ทู ศิ เตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการ บางบ่อ บางบอ่ ๔. นวมนิ ทราชนิ ทู ศิ สวนกหุ ลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ บางปู เมืองสมทุ รปราการ ๕. ราชวนิ ติ บางแก้ว บางแกว้ บางพลี ๖. ราชวินิตสุวรรณภูมิ หนองปรือ บางพลี

๑๖ ๗. ดา้ นการศกึ ษา ตารางท่ี ๒๔ พัฒนาการของค่าเฉลยี่ และ T-Score ของผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ แผนภาพท่ี ๑ พฒั นาการ T-Score ของผลการทดสอบระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓

๑๗ ตารางท่ี ๒๕ พฒั นาการของคา่ เฉล่ยี และ T-Score ของผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ แผนภาพท่ี ๒ พัฒนาการ T-Score ของผลการทดสอบระดบั ชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖

๑๘ ตารางท่ี ๒๖ เปรยี บเทียบพัฒนาการข T-Score ของผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ (ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔) แผนภาพท่ี ๓ เปรยี บเทียบ T-Score ผลการทดสอบระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔

๑๙ ตารางที่ ๒๗ เปรียบเทยี บพัฒนาการ T-Score ของผลการทดสอบระดบั ชาตขิ น้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ (ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ - ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔) แผนภาพท่ี ๔ เปรียบเทยี บ T-Score ของผลการทดสอบระดบั ชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๖ (ปีการศึกษา ๒๕๖๓ - ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔)

๒๐ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียน ปกี ารศึกษา 2564 ตารางที่ ๒๘ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษาสมทุ รปราการ ทีม่ ผี ลการเรียนระดับ 3 ขน้ึ ไป และมผี ลการเรียน 0, ร, มส จำนวนและร้อยละของนกั เรยี นทีไ่ ด้รับการตัดสินผลการเรยี น ก ุล่มสาระการเรียน ู้ร จำนวนนักเรียน ่ีทลงทะเบียนเรียน จำนวนและร้อยละของนักเรียน ี่ท ไม่ไ ้ดรับการ ัตด ิสนผลการเรียน (ร, มส) ร้อยละของนักเรียน ี่ทมีผลการเรียนระ ัดบ 3 ขึ้นไป ร้อยละของนักเรียน ี่ทมีผลการเรียน 0, ร, มส 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ภาษาไทย 126,145 53,626 13,885 14,001 9,419 9,204 6,787 11,811 4,355 3,057 66.22 5.88 (43.57) (11.28) (11.37) (7.65) (7.48) (5.51) (9.60) (3.54) 6.15 5.56 คณติ ศาสตร์ 153,574 62,486 16,863 15,613 12,676 11,912 8,737 15,835 5,253 4,199 63.57 5.67 (41.83) (11.29) (10.45) (8.49) (7.97) (5.85) (10.60) (3.52) 4.81 5.62 วิทยาศาสตร์และ 299,779 141,181 34,003 29,502 21,139 19,023 13,082 25,167 8,668 8,014 70.15 7.26 เทคโนโลยี (48.39) (11.65) (10.11) (7.25) (6.52) (4.48) (8.63) (2.97) (2.75) 5.65 สังคมศึกษาฯ 251,266 116,572 26,657 23,748 18,005 16,973 12,166 22,889 7,414 6,842 68.31 5.71 (47.69) (10.91) (9.72) (7.37) (6.94) (4.98) (9.36) (3.03) (2.80) สุขศกึ ษาฯ 184,960 110,168 16,776 14,850 8,654 9,040 5,111 11,456 4,620 4,285 78.48 (60.98) (9.29) (8.22) (4.79) (5.00) (2.83) (6.34) (2.56) (2.37) ศลิ ปะ 145,966 81,264 12,096 11,906 8,066 8,368 5,232 10,830 4,295 3,909 74.10 (57.21) (8.51) (8.38) (5.68) (5.89) (3.68) (7.62) (3.02) (2.75) การงานอาชพี 103,022 49,848 10,339 9,649 6,758 6,310 4,247 8,387 3,615 3,869 70.43 (50.27) (10.43) (9.73) (6.82) (6.36) (4.28) (8.46) (3.65) (3.90) ภาษาตา่ งประเทศ 261,301 120,282 26,676 24,583 18,529 16,935 12,592 26,936 7,251 7,517 67.59 (47.40) (10.51) (9.69) (7.30) (6.67) (4.96) (10.61) (2.86) (2.96) รวม 157,29 143,85 103,24 133,31 1,526,013 735,427 5 2 6 97,765 67,954 1 45,471 41,692 69.83 ร้อยละ (49.55) (10.60) (9.69) (6.96) (6.59) (4.58) (8.98) (3.06) (2.81) จากตารางที่ ๒๘ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ในสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ โดยภาพรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีนักเรียน ส่วนใหญ่ได้ผลการเรียนอยู่ในระดับ 4 คิดเป็นร้อยละ 49.55 โดยที่มีจำนวนนักเรียนได้ผลการเรียน ระดับ 3 ข้นึ ไป ร้อยละ 69.83 และมจี ำนวนนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรยี น 0, ร, มส ร้อยละ 5.71

๒๑ เมอื่ พิจารณาเป็นรายกล่มุ สาระการเรยี นรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียน ระดับ 4 คิดเป็น ร้อยละ 43.57 โดยที่มีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 66.22 และมีจำนวนนักเรยี นทีไ่ ด้ ผลการเรียน 0, ร, มส รอ้ ยละ 5.88 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียน ระดับ 4 คิดเป็น ร้อยละ 41.83โดยที่มีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 63.57 และมีจำนวนนักเรยี นทีไ่ ด้ ผลการเรียน 0, ร, มส รอ้ ยละ 6.15 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียน ระดับ 4 คิดเป็นร้อยละ 48.39 โดยที่นักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 70.15 และ มจี ำนวนนักเรยี นทไ่ี ด้ผลการเรยี น 0, ร, มส ร้อยละ 5.56 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม นกั เรียนสว่ นใหญ่มผี ลการเรียน ระดับ 4 คิดเป็นร้อยละ 47.69 โดยที่มีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 68.31 และ มีจำนวนนักเรยี นทีไ่ ดผ้ ลการเรียน 0, ร, มส รอ้ ยละ 5.67 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียน ระดับ 4 คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.98 โดยที่มีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึน้ ไป ร้อยละ 78.48 และมจี ำนวนนักเรยี น ที่ไดผ้ ลการเรยี น 0, ร, มส ร้อยละ 4.81 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียน ระดับ 4 คิดเป็น ร้อยละ 57.21 โดยท่ีมีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 74.10 และมีจำนวนนักเรียนที่ได้ ผลการเรยี น 0, ร, มส ร้อยละ 5.62 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ นักเรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียน ระดับ 4 คิดเป็น ร้อยละ 50.27 โดยที่มีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 70.43 และมีจำนวนนักเรียน ทไี่ ด้ผลการเรยี น 0, ร, มส ร้อยละ 7.26 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ นักเรยี นสว่ นใหญ่มีผลการเรยี น ระดบั 4 คิดเป็น ร้อยละ 47.40 โดยที่มีนักเรียนได้ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ 67.59 และมีจำนวนนักเรียน ทไ่ี ด้ผลการเรยี น 0, ร, มส ร้อยละ 5.65 ดังแผนภาพที่ ๕-๖ แผนภาพท่ี ๕ รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นทไ่ี ดผ้ ลการเรียนระดบั 0 – 4 ของโรงเรยี นในสังกัด สำนักงานเขต พ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสมทุ รปราการ

๒๒ แผนภาพท่ี ๖ รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทีไ่ ด้ผลการเรยี นระดับ 3 ขึ้นไป และมีผลการเรยี น 0, ร, มส ของโรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาสมทุ รปราการ

๒๓ ๘. ด้านมาตรฐานสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสมุทรปราการ ตารางท่ี ๒๙ ผลการติดตามและประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ตามมาตรฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๐) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี/้ ประเด็นการพจิ ารณา ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี ๑ การบรหิ ารจดั การองคก์ ารส่คู วามเปน็ เลศิ (ใช้ผลการประเมณิ การเปน็ ระบบราชการ ๔.๐ ของ กพร.สพฐ.) มาตรฐานที่ ๒ การบรหิ ารและการจัดการศึกษาท่ีมปี ระสิทธภิ าพ (ใช้ผลการประเมินการเปน็ ระบบราชการ๔.๐ ของ กพร.สพฐ.) มาตรฐานท่ี ๓ สัมฤทธผิ ลการบริหารและการจดั การศึกษา ตวั บ่งชท้ี ี่ ๑ สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามผี ลงานทีแ่ สดงความสำเร็จแลเปน็ แบบอยา่ ง ดมี าก ตัวบ่งชี้ที่ ๒ สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการ ดเี ยี่ยม ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ตวั บง่ ช้ีที่ ๓ ผ้เู รยี นระดับปฐมวัยและระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมคี ณุ ภาพตามหลกั สูตร ประกอบดว้ ย ๑) ผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กปฐมวยั ๒) การทดสอบความสามารถขนั้ พ้นื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ(National Test : NT) ดีเย่ยี ม ๓) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน(O-NET) ๔) ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๕) ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ และการเขียน ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ประชากรวัยเรียนได้รับสิทธิและโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานเท่าเทียมกัน ศึกษาต่อ ในระดับทสี่ ูงข้นึ หรือมคี วามรู้ทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชพี ประกอบด้วย ๑) จำนวนประชากรวัยเรยี นท่มี ีอายุถงึ เกณฑก์ ารศกึ ษาภาคบงั คบั ได้เขา้ เรยี นช้นั ป.๑ ๒) อัตราการออกกลางคนั ลดลง ดีเยย่ี ม ๓) อัตราการศกึ ษาต่อในระดับทส่ี ูงข้ึนของผู้เรียนทจ่ี บชนั้ ป.๖/ม.๓/ม.๖ ๔) ผู้เรียนระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานที่มีความต้องการพิเศษได้รบั การดแู ลชว่ ยเหลอื และส่งเสริมให้ได้รับ การศกึ ษาเตม็ ตามศกั ยภาพ ได้แก่ เด็กพกิ ารเรียนรวม เด็กด้อยโอกาส และเด็กทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษ ๕) ผู้เรยี นช้นั ม.๓ มีความรูแ้ ละทกั ษะพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อสายอาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ ลูกจ้างในสำนักงานเขตพื้นท่ี ดเี ยี่ยม การศึกษา มผี ลงานเชิงประจักษ์ตามเกณฑ์ ได้รบั การยกย่องเชดิ ชูเกยี รติ ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพึงพอใจในการบริหารและการจัดการศึกษา ดีเย่ยี ม รวมทง้ั การให้บริการ สรปุ ภาพรวมมาตรฐานที่ ๓ ดเี ยยี่ ม

๒๔ สว่ นที่ 2 ยทุ ธศาสตร์ แผนสำคัญที่เก่ียวขอ้ ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ได้ศึกษาวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ แผนท่ีเก่ียวข้องประกอบด้วยพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณพ.ศ.256๖ และนโยบายจุดเน้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ ผลวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักงานเขตพื้นที่กำหนดเป็นสาระสำคัญ ของแผนพัฒนาการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ.256๖ ของสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสมทุ รปราการ ดังนี้ 1. พระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐ การศกึ ษาตอ้ งม่งุ สรา้ งพ้ืนฐานใหแ้ ก่ผ้เู รียน ๔ ดา้ น ๑. มีทศั นคตทิ ี่ถูกตอ้ งต่อบา้ นเมือง ๑) มคี วามรคู้ วามเข้าใจต่อชาตบิ ้านเมอื ง ๒) ยดึ มน่ั ในศาสนา ๓) มน่ั คงในสถาบนั พระมหากษตั ริย์ ๔) มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน ๒. มพี ื้นฐานชวี ิตทม่ี ่ันคง มีคณุ ธรรม ๑) ใหร้ ู้จกั แยกแยะสิง่ ที่ผดิ -ทีถ่ กู ส่งิ ชัว่ -ส่งิ ดี ๒) ปฏบิ ตั ิแตส่ ่ิงทชี่ อบ สิง่ ทีด่ ีงาม ๓) ปฏิเสธสง่ิ ที่ผิดท่ชี ่วั ๔) ชว่ ยกันสร้างคนดใี หแ้ ก่บ้านเมือง ๓. มงี านทำ มีอาชพี ๑) การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัวหรือการฝึกอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและ เยาวชนรกั งาน ส้งู าน ทำจนงานสำเร็จ ๒) การฝึกอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทำงานเป็น และมงี านทำในท่สี ุด ๔. เปน็ พลเมอื งดี ๑) การเป็นพลเมอื งดเี ป็นหน้าที่ของทุกคน ๒) ครอบครวั – สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทกุ คนมโี อกาสทำหน้าที่ พลเมืองดี

๒๕ 2. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) วิสัยทัศน์ประเทศคือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” 1. ดา้ นความมน่ั คง : ประเทศไทยมคี วามมน่ั คงประชาชนมสี ุข 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน : ยกระดับศกั ยภาพในหลากหลายมติ ิ 3. ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ : พัฒนาคนในทกุ มติ ิ และทุกช่วงวยั ใหเ้ ป็นคนดี เก่งและมีคณุ ภาพ 4. ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม : สร้างความเป็นธรรม ลดความเหล่อื มลำ้ ทกุ มิติ 5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม : เติบโต สมดุล ยั่งยนื ทงั้ เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ้ ม และคณุ ภาพชวี ติ 6. ด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั : ภาครัฐของประชาชน เพ่อื ประชาชน และประโยชนส์ ว่ นรวม 3. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ มีเป้าหมาย ระดับประเด็น คือ คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้ที่มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 รกั การเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ และมีแผนย่อยที่เกยี่ วขอ้ งกบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2 แผนยอ่ ย ไดแ้ ก่ 1. แผนย่อยการพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย แนวทางการพัฒนา ที่เกี่ยวข้อง กับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ดีสมวัยทุกด้าน โดยการพัฒนาหลักสูตรการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ที่เน้นการพัฒนาทักษะสำคัญด้านต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะ ด้านความคิดความจำ ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จัก ประเมินตนเอง ควบคูก่ ับการยกระดบั บุคลากรในสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ให้มีความพร้อมทง้ั ทักษะ ความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ เป้าหมายของแผนย่อย คอื เด็กเกิดอยา่ งมคี ุณภาพมีการพัฒนาการสมวัย สามารถเข้าถึงบริการทมี่ ีคุณภาพมากขน้ึ 2. แผนยอ่ ยการพฒั นาช่วงวัยเรียน/วัยรุน่ แนวทางพฒั นา ได้แก่ 1) จัดให้มีการพัฒนาทักษะที่สอดรับ กับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะด้าน การคดิ วิเคราะห์สังเคราะห์ความสามารถในการแกป้ ญั หาที่ซับซ้อน ความคิดสรา้ งสรรคก์ ารทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ 2) จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยี ท่สี อดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ 3) จัดให้มีการพัฒนาทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจนทักษะ ทเ่ี ชื่อมตอ่ กบั โลกการทำงาน 4) จัดให้มีพัฒนาทักษะอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การบ่มเพาะ การเป็นนักคิด นักนวัตกร และการเป็นผู้ประกอบการใหม่ รวมทั้งทักษะชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมกัน และทำงานภายใตส้ งั คมที่เป็นพหวุ ัฒนธรรม

๒๖ 5) ส่งเสริมและสนับสนุน ระบบบริการสุขภาพและอนามัยที่เชื่อมต่อกันระหว่างระบบ สาธารณสุขกับโรงเรียนหรือสถานศึกษา เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพด้านความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา และ ความฉลาดทางอารมณ์ตลอดจนภูมคิ ุ้มกันดา้ นตา่ ง ๆ ในการดำเนนิ ชวี ิต ของกลมุ่ วยั เรียน/วัยรุ่น เป้าหมาย ของแผนย่อย คือ วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหาปรับตัว ส่ือสาร และทำงานรว่ มกับผูอ้ น่ื ได้อย่างมปี ระสทิ ธิผลตลอดชีวิตดขี ึ้น แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ มีเป้าหมาย ระดบั ประเดน็ 2 เปา้ หมาย คอื 1) คนไทยมีการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขึ้น มีทักษะที่จำเป็นของโลก ศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปัญหาปรับตัว สื่อสาร และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผล เพิ่มขึน้ มนี ิสัยใฝเ่ รียนรู้ อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ และ 2) คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัดและความสามารถ ของพหปุ ญั ญาดขี ้นึ มแี ผนยอ่ ย 2 แผน ดงั น้ี 1. แผนย่อยการปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมี แนวทางการพัฒนา โดย 1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สำหรับ ศตวรรษที่ 21 2) เปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่ 3) เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหาร จดั การศกึ ษาในทุกระดบั ทกุ ประเภท 4) พฒั นาระบบ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ และ 5) สรา้ งระบบการศกึ ษา เพอ่ื เปน็ เลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ และมีเปา้ หมาย ให้คนไทยมีการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และมีทักษะที่จำเป็นของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเข้าถึงการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตดีขึ้น 2. แผนย่อยการตระหนักถงึ พหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ซึ่งมีแนวทางการพัฒนา คื อ 1) พฒั นาและสง่ เสริมพหปุ ญั ญา 2) สรา้ งเสน้ ทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทำงาน และระบบสนับสนุนท่ี เหมาะสม สำหรับผู้มีความสามารถพิเศษ และมีเป้าหมายของแผนย่อย คือ ประเทศไทยมีระบบขอ้ มูลเพ่อื การสง่ เสริม การพฒั นาศกั ยภาพตามพหุปัญญา เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและการส่งต่อการพฒั นาให้เต็ม ตามศักยภาพเพ่ิมขึน้ ๔. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 13

๒๗ เป้าหมายการพฒั นา หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลงั คนสมรรถนะสูง มุ่งเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง ตอบโจทย์การพฒั นาแหง่ อนาคต หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ตอบโจทย์การพัฒนาแหง่ อนาคต มุ่งตอบสนองเป้าหมายหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 จำนวน 2 เป้าหมาย ได้แก่ การพัฒนาคนสำหรับยุคใหม่ โดยการพัฒนาคนทุกช่วงวัยได้รับการพัฒนาในทุกมิติ การ พัฒนากำลังคนสมรรถนะสูงสอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิต เป้าหมาย สามารถสร้างงาน อนาคต และสร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะที่มีความสามารถในการสร้างและใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งการมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม ด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งการพัฒนา ระบบนเิ วศเพอื่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ และพัฒนาทางเลือกในการเข้าถงึ การเรียนรูส้ ำหรบั ผทู้ ีไ่ ม่สามารถเรียน ในระบบการศกึ ษาปกติ นอกจากน้ี หมุดหมายที่ 12 ยังมคี วามสอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าตใิ น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ยุทธศาสตร์ ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ในประเด็นเป้าหมาย ประเทศไทยมีขดี ความสามารถในการ แข็งขันสงู ขน้ึ ด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ในประเด็นเปา้ หมาย คนไทยเป็นคน ดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสำหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 และสังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและ สนับสนุนต่อ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต และด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ใน ประเด็นเป้าหมาย สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติ และ กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมเพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกำลังของการ พฒั นาประเทศในทุกระดับ

๒๘ เป้าหมายที่ 1 คนไทยได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในทุกช่วงวัย มีสมรรถนะที่จำเป็น สำหรับโลกยุคใหม่ มีคุณลักษณะตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม และมีภูมิคุ้มกัน ต่อการเปล่ยี นแปลงอยา่ งพลิกโฉมฉับพลนั ของโลก สามารถดำรงชวี ิตร่วมกันในสงั คมไดอ้ ยา่ งสงบสขุ ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.1 ดัชนพี ัฒนาการเด็กสมวยั เพ่มิ ข้ึนเปน็ รอ้ ยละ 88 ณ ส้ินสุดแผนฯ ตัวชีว้ ัดท่ี 1.2 ร้อยละของนักเรียนทมี่ สี มรรถนะไมถ่ ึงระดบั พนื้ ฐานของทง้ั 3 วิชาในแตล่ ะ กลุ่มโรงเรยี นลดลงร้อยละ 8 เม่ือส้ินสุดแผนฯ ตัวชี้วัดที่ 1.3 ทุนชวี ติ เด็กและเยาวชนไทยเพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 3 เม่ือสนิ้ สดุ แผนฯ ตัวชี้วัดที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาบัณฑิตฐาน สมรรถนะเพิ่มเปน็ ร้อยละ 30 ตวั ช้วี ัดท่ี 1.5 ผลติ ภาพแรงงานไมต่ ำ่ กว่ารอ้ ยละ 4 ต่อปี ตัวชี้วัดที่ 1.6 จำนวนผู้สูงอายุที่ประสบปัญหาความยากจนหลายมิติลดลงร้อยละ 20 ของจำนวนผสู้ งู อายุทีย่ ากจนตอ่ ปี เป้าหมายที่ 2 กำลังคนมีสมรรถนะสูง สอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิตเป้าหมาย และสามารถสร้างงานอนาคต ตัวชี้วัดที่ 2.1 ดัชนีความสามารถในการแข่งขันของสภาเศรษฐกิจโลก 6 ด้านทักษะ คะแนนเพม่ิ ข้ึนรอ้ ยละ 20 เมอื่ ส้ินสุดแผนฯ ตัวชี้วัดที่ 2.2 การจัดอันดับในด้านบุคลากรผูม้ ีความสามารถสถาบันการศกึ ษาดา้ นการ บริหารธรุ กิจมีคะแนนเพมิ่ ข้นึ ร้อยละ 3 ต่อปี ตวั ชวี้ ัดท่ี 2.3 จำนวนและมลู คา่ ของธุรกิจสตาร์ทอัพเพม่ิ ขึน้ เปา้ หมายท่ี 3 ประชาชนทกุ กลุม่ เขา้ ถึงการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ตัวชี้วัดที่ 3.1 การประเมินสมรรถนะผู้ใหญ่ในระดับนานาชาติ ของคนไทยในทุกด้านไม่ต่ำ กว่าค่าเฉลี่ยของประเทศทเี่ ขา้ รบั การประเมิน ตัวชี้วัดที่ 3.2 กลุ่มประชากรอายุ 15 – 24 ปี ที่ไม่ได้เรียน ไม่ได้ทำงาน หรือไม่ได้ ฝึกอบรม ไม่เกนิ ร้อยละ 5 เมื่อสิ้นแผนฯ กลยุทธก์ ารพฒั นา (เฉพาะท่ีเกีย่ วข้อง) กลยุทธ์ท่ี 1 การพฒั นาคนไทยทกุ ชว่ งวัยในทุกมิติ กลยุทธ์ย่อยที่ 1.2 พัฒนาผู้เรียนระดับพื้นฐานให้มีความตระหนักรู้ในตนเอง มีสมรรรถนะที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ การดำรงชีวิตและการทำงาน โดย การพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะและขบั เคลอื่ นสูก่ ารปฏบิ ตั ิ (1) การแก้ไขภาวะการถดถอยของความรใู้ นวัยเรียน (2) การพัฒนาระบบแนะแนวให้มีประสทิ ธภิ าพ (3) พัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ พน้ื ท่ปี ลอดภัยของผเู้ รยี นทุกคน (4) การปรบั ปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา (5) การกระจายอำนาจ (6) การส่งเสรมิ ผ้มู คี วามสามารถพิเศษ (7) ผ้มู ีความตอ้ งการพเิ ศษได้รบั โอกาสและเข้าถึงการศกึ ษาและแหลง่ เรียนรทู้ ่ี หลากหลาย

๒๙ ๕. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ วิสยั ทัศน์ “คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชวี ติ อย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสขุ สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑” วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพและมีประสิทธิภาพ ๒. เพื่อพฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกบั บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ ๓. เพื่อพัฒนาสังคมไทยใหเ้ ปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามคั คี และร่วมมอื ผนกึ กำลังมุ่งสู่การพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การศกึ ษาเพือ่ ความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 2.การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้าง ขีดวามสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศกึ ษา ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สร้างเสริมคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา ๖. นโยบายการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 กระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนา ศกั ยภาพคน ตลอดช่วงชีวติ การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มท่ีเออื้ ตอ่ การพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพมนษุ ย์ การ พัฒนาเด็ก ตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับ ศักยภาพวัยแรงงาน รวมถงึ การสง่ เสริมศักยภาพวัยผู้สงู อายุ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญหาของมนุษย์ที่หลากลาย และประเด็นอื่นทีเ่ กี่ยวข้อง จึงกำหนด นโยบายและจุดเนน้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็น 4 เรื่อง ได้แก่ 1) การจัดการศึกษาเพ่ือความ ปลอดภัย 2) การยกระดับคุณภาพการศึกษา 3) การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศกึ ษาทุกช่วงวัย 4) การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะอาชพี และเพิม่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั

๓๐ ๗. นโยบายสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ 1. ดา้ นความปลอดภยั 1.1 พัฒนาสถานศกึ ษาให้เป็นพืน้ ทีป่ ลอดภัยของผูเ้ รียนทกุ คน พร้อมเสริมสร้างระบบและกลไก ในการดูแลความปลอดภัยอย่างเข้มข้น ให้กับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา จากโรคภัยต่าง ๆ ภัย พบิ ตั แิ ละภัยคกุ คามทกุ รปู แบบ 1.2 ส่งเสริมการจดั สภาพแวดลอ้ มท่เี ออ้ื ตอ่ การมีสขุ ภาวะท่ีดแี ละเป็นมติ รกับสิง่ แวดล้อม 1.3 สร้างภูมิคุ้มกัน การรู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ในการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวิตวิถปี กติต่อไป (Next Normal) 2. ด้านโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยที่มีอายุ 3 - 6 ปีทุกคน เข้าสู่ระบบการศึกษาสร้าง สภาพแวดล้อมทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้และการดูแลปกป้อง เพื่อให้มีพัฒนาการครบทุกด้าน โดยการมีส่วนรว่ ม ของหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง 2.2 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และไดร้ ับการพฒั นาให้มีสมรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพในอนาคตให้สอดคล้องกับ ความตอ้ งการของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ 2.3 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้เข้าถึงโอกาส ความเสมอภาค และ ไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ 2.4 ส่งเสริมเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและจัดหาทางเลือก ในการเข้าถงึ การเรียนรู้ การฝกึ อาชีพ เพือ่ ใหท้ ักษะในการดำเนนิ ชีวิต สามารถพ่ึงตนเองได้ 2.5 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นรายบุคคล เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารจัดการศึกษา โดยเฉพาะการดูแลและป้องกันไม่ให้นักเรียนออกจาก ระบบการศึกษา และชว่ ยเหลือเดก็ ตกหลน่ เด็กออกกลางคนั ใหก้ ลับเขา้ สู่ระบบ 3. ด้านคณุ ภาพ 3.1 ส่งเสริม สนับสนนุ สถานศกึ ษาท่ีมคี วามพรอ้ ม ให้นำหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ที่เน้นสมรรถนะไปใช้ตามศักยภาพของสถานศึกษา ให้สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความ ต้องการและบรบิ ท 3.2 พฒั นาผเู้ รียนให้เกิดสมรรถนะท่ีเหมาะสมตามช่วงวัย สามารถจดั การตนเอง มีการคิดข้ันสูง มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถจัดระบบและกระบวนการทำงานของตนเองและร่วมกับผู้อื่น โดยใช้การรวมพลังทำงานเป็นทีม เป็นพลเมืองที่ดี มีศีลธรรม และอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอยา่ ง ยั่งยืน รวมทั้งมีความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ ยึดมั่นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข 3.3 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 นำไปสู่การมีอาชีพ มีงานทำ และสง่ เสริมความเป็นเลศิ ของผู้เรียนให้เตม็ ตามศกั ยภาพ เพอ่ื เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขัน 3.4 ส่งเสริม และพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลคุณภาพผู้เรียน ให้ควบคู่การเรียนรู้ นำไปสกู่ ารพัฒนาการเรียนร้แู ละสมรรถนะของผู้เรียนเป็นรายบคุ คล รวมทัง้ สง่ เสริมการนำระบบธนาคารหนว่ ย กิตมาใชใ้ นการเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณต์ ่าง ๆ ของผู้เรียนในสถานศกึ ษา

๓๑ 3.5 พัฒนา ส่งเสริม ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งบุคลากรสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐานวิชาชพี 4. ดา้ นประสิทธภิ าพ 4.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใช้พื้นที่เป็นฐาน ท่มี ุง่ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ตามหลกั ธรรมาภิบาล 4.2 นำเทคโนโลยีดิจิทัลและการจัดการฐานข้อมูล มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัด การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน และการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.3 ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ใช้พื้นที่เป็นฐาน ใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน บริหารจัดการโดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน และแสวงหาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ เพอ่ื ใหป้ ระสบผลสำเรจ็ อย่างเปน็ รปู ธรรม 4.4 ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพในโรงเรียนที่มีวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะโรงเรียน ท่ีตงั้ ในพ้นื ที่ลักษณะพิเศษ และโรงเรียนในพื้นท่นี วัตกรรมการศกึ ษา 4.5 เพิ่มประสิทธิภาพการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และปรับกระบวนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สอดรับกับชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) และชีวิตวิถีปกติ ตอ่ ไป (Next Normal) ๘. จดุ เนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จุดเน้นที่ 1 เร่งแก้ปัญหากลุ่มผู้เรียนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโค วิด-19 โดยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา ฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ (Learning Loss Recovery) ใหก้ ับผเู้ รยี นทกุ ระดบั รวมทง้ั ลดความเครียดและสขุ ภาพจิตของผู้เรียน จุดเน้นที่ 2 เสริมสร้างระบบและกลไกในการดูแล ความปลอดภัยนักเรียน ด้วยระบบมาตรฐาน ความปลอดภยั กระทรวงศกึ ษาธิการ (MOE Safety Platform) จดุ เน้นท่ี 3 สง่ เสริมให้เดก็ ปฐมวัยทีม่ อี ายุ 3 - 6 ปี และผู้เรียนระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานเข้าถึง โอกาสทางการศึกษา และป้องกันการหลุดออกจากระบบ รวมทั้งช่วยเหลือเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคัน และเด็กพกิ าร ทค่ี น้ พบจากการปักหมุดบ้านเด็กพกิ าร ใหก้ ลับเขา้ สูร่ ะบบการศกึ ษา จุดเน้นที่ 4 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นสมรรถนะ และการจัดทำกรอบหลักสูตร รวมทั้ง จัดกระบวนการเรยี นรทู้ างประวตั ศิ าสตร์ หน้าที่พลเมืองและศลี ธรรม ให้เหมาะสมตามวัยของผ้เู รียน จุดเนน้ ท่ี 5 จดั การอบรมครโู ดยใช้พนื้ ทีเ่ ป็นฐานควบคกู่ ับการให้ความรู้ด้านการวางแผนและการสร้าง วนิ ยั ดา้ นการเงนิ และการออม เพ่ือแกไ้ ขปญั หาหนส้ี นิ ครู จุดเน้นที่ 6 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนมสี ่วนร่วม และมปี ฏิสมั พันธ์ กบั กิจกรรมการเรยี นรผู้ า่ นการปฏิบัติ ที่หลากหลายรูปแบบ (Active Learning) มีการวัด และประเมินผล เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment for learning) เพื่อให้เกิดสมรรถนะกับผู้เรียน ทุกระดับ จดุ เน้นท่ี 7 ยกระดับคณุ ภาพของนักเรียนประจำพกั นอน สำหรบั โรงเรียนท่อี ยูใ่ นพื้นทส่ี งู หา่ งไกล และถิน่ ทุรกันดาร จุดเนน้ ที่ 8 มุ่งเนน้ การใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพือ่ การเรียนรู้ทุกระดับ

๓๒ จดุ เนน้ ท่ี 9 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการศึกษา โดยการกระจายอำนาจและใชพ้ นื้ ท่ี เปน็ ฐานเพ่อื สร้างความเข้มแขง็ โดยการจดั สรรกรอบวงเงินงบประมาณ (Block Grant) ตามหลักธรรมาภิ บาล ให้กบั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษา ๙. แผนพฒั นาการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน วิสยั ทัศน์ “เด็กและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ ความสุข และมีเป้าหมาย ได้รับการพัฒนา ตนเอง เต็มศักยภาพ อยา่ งมคี ุณภาพ” พนั ธกจิ 1. สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือความเป็นเลิศของผเู้ รยี นใหม้ ีสมรรถนะตามศักยภาพ และ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตร และทักษะ ทจี่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21โดยใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Technology) 2. พัฒนาผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มคี วามเชีย่ วชาญในการจดั การศกึ ษา ท่ตี อบสนองทศิ ทางการพฒั นาประเทศ 3. พัฒนาสถานศึกษาและระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษาทกุ ระดับใหม้ ีความปลอดภยั และจัดการศกึ ษาเพือ่ บรรลุเป้าหมายการพฒั นาอย่างยง่ั ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เสริมสร้างความมั่นคงของมนุษย์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และเพิ่มโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการ ทางการศึกษาอยา่ งทวั่ ถงึ และเทา่ เทยี ม 4. พัฒนาระบบการบริหารจัดการของหน่วยงานในสังกัดให้มีประสิทธิภาพ และ ประสทิ ธิผลเหมาะสมกบั บรบิ ท เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกช่วงวยั ในระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มีความรักในสถาบนั หลักของชาติ และ ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและ หนา้ ท่ี อย่างมีความรบั ผิดชอบ มีจติ สาธารณะ มีความรักและความภมู ใิ จในความเปน็ ไทย 2. ผู้เรียนทุกช่วงวัยในระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาค มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน สอดคล้องกับศกั ยภาพ ให้เป็นผู้มีสมรรถนะและทกั ษะทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 3. เด็กกลุ่มเสี่ยงที่จะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ได้รับ การช่วยเหลือใหไ้ ด้รับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน 4. ผู้เรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา และสถานศึกษา ไดร้ บั การดูแลความปลอดภัย จากภัยคุกคาม 9 รูปแบบ ได้แก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติต่างๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติ ใหม่

๓๓ ฝุ่น PM 2.5 การค้ามนษุ ย์ การคกุ คามในชวี ติ และทรพั ยส์ ิน รวมถงึ อาชญากรรมไซเบอร์ สามารถปรบั ตวั ต่อ โรคอุบตั ิใหม่ โรคอุบตั ซิ ำ้ และรองรบั วถิ ชี ีวติ ใหม่ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมทีเ่ ออ้ื ต่อการมสี ุขภาวะที่ดี 5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการ เปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี มีสมรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมทงั้ จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู 6. สถานศึกษาจัดการศกึ ษาเพ่ือการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีการนำระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการอย่างมี ประสทิ ธิภาพ มีระบบการบรหิ ารจดั การทไ่ี ด้มาตรฐาน มีประสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บรบิ ท กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ที่ 1 สง่ เสรมิ การจัดการศกึ ษาใหผ้ ู้เรยี นมคี วามปลอดภัยจากภยั ทกุ รูปแบบ กลยุทธท์ ี่ 2 เพม่ิ โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาใหก้ บั ประชากรวัยเรยี นทกุ คน กลยทุ ธ์ที่ 3 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใหส้ อดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 กลยทุ ธ์ที่ 4 เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศึกษา

๓๔ สว่ นท่ี 3 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ได้ศึกษาวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ แผนสำคัญ นโยบายระดับต่าง ๆ และ ใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) เป็นเครื่องมือ ในการประเมินสถานการณ์ เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน ทั้งประเมินโอกาสและ ภัยคุกคามจากภายนอก รวมถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยยึดหลักการ มีส่วนรว่ ม ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและประเมนิ สถานการณ์ เพอื่ กำหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสมทุ รปราการ สรปุ ประเด็นสำคญั ทีพ่ บจากการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) ตารางที่ ๓๐ สรุปจุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ของสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา สมุทรปราการ ได้ดังนี้ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น - เขตพื้นที่การศึกษามีนโยบายและทิศทางการ - เขตพื้นที่การศึกษาขาดความคล่องตัวในการ ทำงานทช่ี ดั เจนสอดคล้องกบั นโยบายตน้ สังกัด เบกิ จา่ ยงบประมาณ เน่ืองจากยังไม่ไดร้ บั จดั ตั้งเป็น - มีศูนย์ HCEC สำหรับพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ หนว่ ยเบกิ ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา - บุคลากรปฏิบัติงานในสำนักงานเขตพื้นที่มีไม่ - มีเครือข่ายสหวิทยาเขตทำให้การบริหารงาน เพยี งพอ และการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษามี - สำนกั งานขาดบุคลากรทม่ี ีความเช่ยี วชาญในแต่ ประสิทธิภาพ ละกลมุ่ งาน - ผู้เรียนมีคะแนนการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ - วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการปฏิบัติงานมีไม่ เรียนระดับประเทศ (O-NET) สูงกว่าค่าเฉล่ีย เพียงพอต่อความต้องการ ระดับประเทศ - ขาดบุคลากรทีม่ ีทักษะและอปุ กรณเ์ ทคโนโลยี - มีเดก็ ผู้เรยี นทีอ่ อกกลางคันค่อนขา้ งน้อย ท่ีทันสมัย - โรงเรียนในสังกัดส่วนใหญ่มีการจัดตั้งห้องเรียน IT - อตั ราจบการศึกษาภาคบังคบั ของผเู้ รียนในสังกัด คอ่ นขา้ งสงู โอกาส อปุ สรรค - รัฐบาลมีการจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อผู้เรียน - นโยบายด้านการศกึ ษามีการเปล่ยี นแปลงอยู่ ยากจน เสมอ สง่ ผลให้การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาขาด - ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีเพิ่มโอกาสในการ ความตอ่ เน่ืองและมที ิศทางท่ีไม่ชัดเจน เรียนรู้ในรูปแบบทหี่ ลากหลาย - ประชากรวยั เรียนมแี นวโนม้ ลดลง - หน่วยงานภายนอกให้การสนับสนุนงบประมาณ ในการบริหารจดั การแก่โรงเรยี นในสงั กัด - ภาวะเศรษฐกจิ ท่ีถดถอยส่งผลกระทบต่อรายได้ ผู้ปกครอง

๓๕ จุดแข็ง จุดอ่อน - สังคมมคี วามแตกตา่ งดา้ นฐานะ อาชพี และ เชือ้ ชาติ เปน็ อุปสรรคตอ่ การพฒั นาทักษะชวี ติ ของ ผู้เรยี น - รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 ยกเลิกการเรียนฟรี ในระดับมัธยมศกึ ษา แผนภาพที่ ๗ ผลการ SWOT สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาสมทุ รปราการ

๓๖ ค่านยิ มองค์กร SMUT WELL Core Value S = Serviced Mind : มีจิตใจมุง่ บริการ M = Moral : มศี ลี ธรรมและความซ่อื สัตย์ U = Unity : ทำงานเป็นเอกภาพ T = Trust : สร้างความเชื่อมั่นและไวว้ างใจ W = Wisdom : เรยี นรแู้ ละสัง่ สมภมู ิปัญญา E = Effectiveness : ทำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ L = Loyalty : มคี วามเคารพ ยึดมน่ั และภกั ดีตอ่ องค์กร L = Liveliness : บุคลากรในองคก์ รทำงานอย่างมีความสุข วิสัยทัศน์ “องค์กรท่ีส่งเสริมการจัดการศึกษาสู่อนาคต ผู้เรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาตนเอง เตม็ ศกั ยภาพ อย่างมคี ณุ ภาพ” พนั ธกิจ 1. ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศของผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามศักยภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามหลักสูตร มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 โดยใช้เทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Technology) 2. ส่งเสริม ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญในการจัดการศึกษาที่ ตอบสนองทศิ ทางการพัฒนาประเทศ 3. สนบั สนนุ สถานศึกษาและระบบการบริหารจัดการศกึ ษาให้มคี วามปลอดภัย และจัดการศึกษา เพื่อบรรลเุ ป้าหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เสริมสร้างความมน่ั คง ของมนุษย์ และพฒั นาคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ิม โอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลื่อมล้ำ ให้ผู้เรียนทุกคนได้รับบริการทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และเท่าเทยี มอย่างมคี ุณภาพ 4. ส่งเสริมระบบการบริหารจัดการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาในสังกัด ใหม้ ปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผล ตามหลกั ธรรมาภิบาล เปา้ ประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่อย่างมีความรับผิดชอบ มีจิต สาธารณะ มีความรกั และความภมู ิใจในความเปน็ ไทย 2. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีเสมอภาค อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน สู่ความเป็นเลศิ สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพ ใหเ้ ปน็ ผมู้ สี มรรถนะและทกั ษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 3. เด็กกลุ่มเสี่ยงที่จะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ได้รับการ ชว่ ยเหลอื ใหไ้ ดร้ ับการศึกษาข้นั พื้นฐาน

๓๗ 4. ผูเ้ รียน ครู บคุ ลากรทางการศึกษา และสถานศกึ ษา ได้รับการดแู ลความปลอดภยั จากภัยคุกคาม 9 รูปแบบ ได้แก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติต่าง ๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติใหม่ ฝุ่น PM 2.5 การค้า มนษุ ย์ การคุกคามในชวี ิตและทรัพย์สนิ รวมถงึ อาชญากรรมไซเบอร์ สามารถปรับตัวตอ่ โรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติ ซำ้ และรองรบั วถิ ีชีวิตใหม่ รวมถงึ การจัดสภาพแวดล้อมที่เออื้ ต่อการมีสุขภาวะทด่ี ี 5. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของเทคโนโลยี มสี มรรถนะ ความรู้ ความเชี่ยวชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมท้งั จติ วญิ ญาณ ความเปน็ ครู 6. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลุเป้าหมายไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีการนำระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธภิ าพตามหลกั ธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาใหผ้ ้เู รยี นมีความปลอดภยั จากภยั ทุกรูปแบบ เปา้ ประสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธ์ 1. ผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการดูแลความปลอดภัยจากภัยคุกคาม 9 รูปแบบ ได้แก่ ภัยยาเสพติด ภัยความรุนแรง ภัยพิบัติต่าง ๆ อุบัติเหตุ โรคอุบัติใหม่ ฝุ่น PM 2.5 การค้ามนุษย์ การคกุ คามในชวี ิตและทรพั ยส์ นิ รวมถงึ อาชญากรรมไซเบอร์ 2. ผูเ้ รียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ บั การดูแลความปลอดภัยและสามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติ ใหม่ โรคอุบัตซิ ำ้ 3. สถานศึกษา ไดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีความปลอดภยั และจดั การศกึ ษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สถานศึกษา ได้รับการส่งเสริมให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เพื่อความ ปลอดภยั ของผเู้ รยี น ตวั ชว้ี ัด ท่ี ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมายปีงบประมาณ พ.ศ. เปา้ ประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ 1 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ความเข้าใจในภัย คกุ คามรูปแบบใหม่ทกุ รูปแบบ รู้เท่าทันส่ือและ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 1,2 เทคโนโลยีในการดำเนินชีวิตวิถีใหม่และชวี ติ วถิ ี 1,2 ถดั ไป 2 ร้อยละของผเู้ รยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ได้รบั ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 การดแู ลความปลอดภยั และสามารถปรับตัวต่อโรคอุบัติ ใหม่ โรคอุบัตซิ ้ำ

๓๘ ท่ี ตัวชวี้ ัด คา่ เป้าหมายปงี บประมาณ พ.ศ. เป้าประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ 3 ร้อยละของสถานศึกษาที่มีแผน/มาตรการ ใน การจัดการภัยพิบัติภัยคุกคามทุกรูปแบบ โรคอุบัติ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 3 4 ใหม่และโรคอบุ ตั ิซำ้ รองรบั วถิ ีชีวิตใหม่(New Normal) 4 ร้อยละของสถานศึกษา มีความร่วมมือกับหน่วยงาน ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ 90 ภายนอกทเี่ ก่ยี วข้องเพ่อื ความปลอดภยั ของผู้เรยี น แนวทางการพฒั นา ผรู้ บั ผดิ ชอบ ตัวชีว้ ัด สพม.สป. 1 ท่ี แนวทางการพัฒนา 1,2 (สส.) 1 สนับสนุน พัฒนา และสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรู้เก่ียวกบั ภัยรปู แบบตา่ ง ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อ สพม.สป. 3,4 ความปลอดภัยในการดำเนินชีวิต เพื่อสามารถดำเนินชีวิตในวิถีใหม่และชีวิตวิถีถัดไปได้ (สส. ICT) อยา่ งถูกต้อง 4 สพม.สป. 3 2 พฒั นาระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภัยใหก้ ับผู้เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา (นผ.สส.) และสถานศึกษา ให้ได้รับความปลอดภัยจากภัยทั้ง 9 รูปแบบ และพร้อมปรับตัว ต่อการเปลย่ี นแปลง โดยเปดิ ใหม้ ชี อ่ งทางการร้องเรียนหรือแจง้ เหตุให้กับผู้เรยี น ผู้ปกครอง สพม.สป. ครู เพื่อสื่อสารกับ สพท. โดยตรง รวมถึงการใช้ข้อมลู และแอปพลิเคชันในการเฝ้าระวงั (สส.อก.นผ.) เชิงรุก เพื่อสามารถคาดการณ์ภัยที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต และส่งเสริมการเชื่อมโยง ฐานข้อมูลของหน่วยงาน สถานศึกษาในสังกัด และหน่วยงานภายนอก ให้สามารถแก้ไข สพม.สป. ปัญหาด้านความปลอดภัยไดอ้ ย่างทนั ท่วงที (สส.อก.) 3 พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยสำหรับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยการสนับสนุนหรือประสานการสนบั สนนุ ทรพั ยากรเพ่อื ใหอ้ าคารเรยี นอาคารประกอบ ของสถานศึกษาให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และความปลอดภัยของผู้เรียน ครู และบุคลากร ทางการศึกษา รวมถึงส่งเสริม และประสานการสนับสนุนบุคลากรด้านจิตวิทยา และ บคุ ลากรด้านความปลอดภัย เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภัยกบั ผู้เรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา 4 ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษา ให้มีความร่วมมือกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานจังหวัด , องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, สาธารณสุขจังหวัด และสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เป็นต้น เพื่อเสริมสร้าง ความปลอดภัยของผู้เรยี นให้มีทกั ษะในการปอ้ งกันและปรับตัว 5 ส่งเสริมให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัย และจัดทำแผนบริหารจัดการ ด้านความปลอดภัย ของสถานศึกษาในสังกัด รวมถึงแผนรองรับภัยพิบัติฉุกเฉิน และ จดั ระบบความปลอดภัยในภาพรวมให้เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่

๓๙ กลยุทธท์ ่ี 2 เพม่ิ โอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษาให้กับผเู้ รียนทุกคน เป้าประสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ๑. ผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอภาคจนจบการศึกษา ภาคบังคบั ๒. ผ้เู รียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ได้รบั การส่งเสรมิ ใหไ้ ดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอย่างเสมอ ภาคจนจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ๓. เดก็ พกิ ารและเด็กดอ้ ยโอกาส ได้รบั โอกาสทางการศึกษาท่มี คี ุณภาพอย่างเสมอภาค ๔. ผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๕. เด็กกลุ่มเสี่ยงที่จะออกจากระบบการศึกษา เด็กตกหล่น และเด็กออกกลางคัน ได้รับการ ชว่ ยเหลือให้ได้รับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ตวั ชว้ี ัด ท่ี ตัวช้วี ัด คา่ เป้าหมายปงี บประมาณ พ.ศ. เปา้ ประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ ๑ ร้อยละการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษา ๕๐ ๕๕ ๖๐ ๖๕ ๗0 1 ตอนต้นสังกดั สำนักงานเขตพื้นที่ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ 100 1 ๖๐ ๖๕ ๗๕ ๘๕ 9๕ 2 2 ร้อยละการจบการศึกษาภาคบังคับสุทธิระดับ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 1-4 มธั ยมศึกษาตอนตน้ สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ี ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ ๘0 ๔ 3 ร้อยละของนกั เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ 100 ๕ จบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ 8๐ ๓ 4 ร้อยละของสถานศึกษาที่ส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการเรียนรู้ 5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษได้รับ การพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความถนัด และ ความสามารถ ตามหลักพหุปัญญา 6 ร้อยละของเด็กออกกลางคัน เด็กตกหล่น กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาหรือได้รับการศึกษา ดว้ ยรปู แบบที่เหมาะสม 7 ร้อยละของผ้เู รยี นท่ีเป็นผู้พกิ าร ผ้ดู ้อยโอกาสเข้าถึง บริการทางการศึกษา และพัฒนาสมรรถภาพ หรอื บรกิ ารทางการศึกษาทเ่ี หมาะสม ตามความ จำเป็น

๔๐ แนวทางการพฒั นา ผรู้ บั ผิดชอบ ตวั ช้ีวัด ท่ี แนวทางการพัฒนา 2,๔ 4,5 • การสนับสนนุ โครงสร้างพ้ืนฐาน ๑-5 ๑-๕ 1 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นรายบุคคล สพม.สป. 2,๔,๕, ๑-๕ เปน็ ฐานขอ้ มูลในการบริหารจัดการศึกษา รวมทัง้ บรู ณาการและเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับ (นผ.ICT) ๕ หน่วยงานอื่นท่เี กย่ี วขอ้ ง เพ่อื ดแู ลและปอ้ งกันไม่ใหผ้ ้เู รยี นออกจากระบบการศึกษา ๓ ๕ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของสังคมอย่างต่ อเนื่อง ประสานงานกับ สพม.สป. ๑-๕ ๒ หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และระดมทรัพยากรเพื่อแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ (นผ. สส. อก.) ทางการศึกษา 3 ส่งเสริม สนับสนุนให้มีเทคโนโลยีดิจิทัล หรือนวัตกรรม ในการสร้างโอกาส สพม.สป. ทางการศึกษา ใหผ้ เู้ รยี นทกุ คน ทกุ พื้นทีเ่ ข้าถงึ การจัดการศกึ ษาที่มคี ุณภาพ (นผ.ICT) 4 พฒั นาระบบสนับสนนุ การจัดการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน โดยบุคคล ครอบครัว (Home School) สพม.สป. องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ และสถานประกอบการในศูนย์การเรียน (สส.นผ.กง.ศน.) ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 5 พัฒนาระบบแพลตฟอร์มในการส่งต่อ ติดตาม และค้นหาผู้เรียน เพื่อช่วยเหลือเด็ก สพม.สป. ตกหล่น เด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา หรือได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบ (นผ.สส.ICT) ที่เหมาะสม 6 กำหนดแนวทาง และกระบวนการในการส่งตอ่ ผู้เรยี นให้ได้รับการศึกษาในระดบั ทสี่ งู ขึ้น สพม.สป. หรอื มีทกั ษะอาชพี ในการดำรงชีวิต (สส.) 7 พัฒนารูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก สพม.สป. สื่อบริการและความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา รวมทั้งกระบวนการวัดและ (ศน.สส.ICT) ประเมินผลทีเ่ หมาะสมกับการพฒั นาศักยภาพของเด็กพกิ าร • ดแู ล ส่งเสริมการเขา้ ถึงโอกาสทางการศึกษาของผู้เรียน 8 จัดการศึกษาให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม สพม.สป. ศักยภาพ (สส.ศน.) สพม.สป. ๙ สง่ เสรมิ เดก็ พกิ ารและเด็กดอ้ ยโอกาส มโี อกาสได้รับการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ มีทักษะชีวิต (สส.ศน.) ทักษะวิชาการ และทกั ษะวิชาชีพ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการจำเป็นสามารถพ่ึงตนเอง ได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล สพม.สป. (สส.ศน.) 1๐ ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้มีคุณภาพ และเกิดการบูรณาการ อย่างยั่งยืน • เพม่ิ โอกาสการเข้าถึงสถานศึกษาท่มี คี ุณภาพทกุ แหง่ 1๑ พัฒนาโรงเรียนคุณภาพ ให้สามารถเพิ่มโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียนได้ สพม.สป. อย่างมีคุณภาพ (นผ.ศน.ICT)

๔๑ กลยุทธท์ ี่ 3 ยกระดบั คุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 เปา้ ประสงค์เชิงกลยุทธ์ 1. ผู้เรียน มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้าที่อย่างมีความรับผิดชอบ มีจิต สาธารณะ มคี วามรักและความภมู ิใจในความเปน็ ไทย 2. ผ้เู รียนไดร้ ับการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ ตามมาตรฐาน สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพ ให้เป็นผู้มีสมรรถนะ และทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 3. ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีมีสมรรถนะ ความรู้ ความเชีย่ วชาญ จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ รวมท้งั จิตวิญญาณความเปน็ ครู 4. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)และสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. สถานศกึ ษามีระบบการวดั และประเมินผลเพ่ือพัฒนาการเรยี นรขู้ องผู้เรียน (Assessment for Learning) ด้วยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย เพื่อสง่ เสริมการเรียนรเู้ ป็นรายบคุ คล (Personalized Learning) 6. สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนที่ยืดหยุ่นตอบสนองต่อความถนัดและความสนใจ ของผเู้ รียน ตัวชวี้ ดั ท่ี ตัวชี้วัด คา่ เปา้ หมายปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ 1 ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕๐ ๖๐ ๗๐ ๘๐ 90 1 ระดบั ดีข้ึนไป 2 2 2 ร้อยละของผเู้ รยี นทไี่ ดร้ ับการคดั กรองหรอื ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 2 สง่ ต่อเพือ่ พฒั นาพหปุ ัญญารายบุคคล 3 3 ร้อยละของผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มี ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ 80 สมรรถนะ และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษ ที่ 21 4 ร้อยละของผู้เรียนสามารถเข้าถึงแพลตฟอร์ม ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ 80 การเรียนร้อู ัจฉรยิ ะ ท่รี วบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนที่ มีคุณภาพสูง และการประเมินและพัฒนา ผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็นรายบุคคล (Personalized Learning) สำหรบั ผเู้ รยี น 5 ร้อยละของครผู ูส้ อนจดั การเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนา ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ 80 สมรรถนะผู้เรียนแบบถักทอความรู้ ทักษะ

๔๒ ท่ี ตัวช้ีวัด คา่ เป้าหมายปงี บประมาณ พ.ศ. เป้าประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ เจตคติค่านิยม และคุณลักษณะผู้เรียนเข้า 3 ด้วยกันด้วยการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ 6 ( Competency-Based Instruction) แ ล ะ 5 การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) 5 6 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ ๕๐ ๕๕ ๖๐ ๖๕ 70 ไดร้ ับการพัฒนาให้มีสมรรถนะด้านภาษาและ ความรพู้ ื้นฐานด้านดิจิทัล 7 ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัด ที่มีหลักสตู ร ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 สถานศกึ ษาท่ียดื หยุน่ ตอบสนองตอ่ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน 8 ร้อยละของสถานศึกษา มีระบบการวัดและ ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 ประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน (Assessment For Learning) ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เป็น รายบุคคล (Personalized Learning) 9 ร้อยละของสถานศึกษาที่เสริมสร้างศักยภาพ ๖๐ ๖๕ ๗๐ ๗๕ 80 ด้านการประเมินใหก้ บั ครูผู้สอนให้สามารถสร้าง และใช้เครือ่ งมือประเมินสมรรถนะความฉลาดรู้ ของผู้เรียนด้านการอา่ น ด้านวิทยาศาสตร์ และ ด้านคณิตศาสตร์ในระดับชั้นเรียนเพื่อการ พฒั นาการเรียนรู้ แนวทางการพฒั นา ท่ี แนวทางการพัฒนา ผรู้ ับผดิ ชอบ ตัวชว้ี ัด 1,3 • คุณภาพผเู้ รยี น 1,3 ๑ ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่ สพม.สป. จำเป็นในศตวรรษที่ 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดีมีวินัย มีความรักในสถาบันหลัก (ศน.สส.) ของชาติ ยึดมั่น การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข และน้อมนำพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ส่กู ารปฏบิ ตั ิ ๒ พฒั นาและสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นให้ได้รบั การพัฒนาพหุปัญญารายบคุ คล โดยมีเคร่อื งมอื คัดกรอง / สพม.สป. (ศน.) สำรวจแวว /วดั ความสามารถ ความถนดั สถานศกึ ษาจัดการเรียนรูท้ ่ีหลากหลายตอบสนอง ความแตกต่างทางพหุปัญญาของผู้เรียน โดยครูออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

๔๓ ท่ี แนวทางการพัฒนา ผรู้ ับผิดชอบ ตวั ช้ีวัด สอดคล้องตามบริบทและวัฒนธรรม คำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคลตามความถนัด 2,3,6,7 ความสนใจ ส่งผลต่อการพฒั นาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ สพม.สป. 3,4 (สส.ศน.) ๓ จัดการศึกษาตามขีดความสามารถของผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ความถนัดและ 3 ศักยภาพของแตล่ ะบุคคล วางรากฐานการศกึ ษาเพ่ืออาชีพ ให้สอดคล้องกับบริบทพ้นื ท่ี สพม.สป. 1 ความต้องการของตลาดแรงงานและการพฒั นาประเทศ (ศน.สส.) 6 ๔ พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง นวัตกรรม สพม.สป. ๖ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน (ศน. ICT) 6 เช่ือมโยงสอู่ าชพี และการมีงานทำ มีทักษะอาชพี ท่ีสอดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ สพม.สป. (ศน. ICT.สส.) 9 ๕ ส่งเสริม พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลและด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่นำไปสู่ Digital Life & สพม.สป. 3 Learning (ศน. สส.) 4 3 ๖ ส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นนำความร้ดู ้านเทคโนโลยมี าใช้ในชีวิตประจำวันและหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น สพม.สป. (พค.ศน.) ๗ ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สพม.สป. สง่ิ แวดล้อม (บค.พค.กม.) สพม.สป. • คุณภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (ศน.พค.) ๘ สง่ เสรมิ ใหค้ รูสามารถจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) และเป็นผสู้ รา้ งสรรคน์ วตั กรรม สพม.สป. (Co-creation) ให้กบั ผเู้ รียนในทุกระดบั ช้นั (ศน.ICT.) ๙ ส่งเสริม สนับสนุนครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีการพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ สพม.สป. อยา่ งต่อเนอ่ื ง มจี รรยาบรรณ และจิตวญิ ญาณความเป็นครู (ศน.) 1๐ พัฒนาศักยภาพครูในด้านการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน สพม.สป. (ศน.ICT) (Assessment For Learning) ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นรายบคุ คล (Personalized Learning) เชน่ การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการแบบ Intensive สพม.สป. Training การอบรมแบบออนไลน์ (Online Training) การอบรมแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง (สส.) (e-learning) เปน็ ตน้ • หลักสตู รและอืน่ ๆ 1๑ พัฒนาระบบคลงั ข้อสอบมาตรฐานในการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ น เพอ่ื ให้บริการแก่ สถานศึกษาในรปู แบบออนไลน์ 1๒ พัฒนาและส่งเสริมนวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของผู้เรียน และสมรรถนะของผู้เรียน 1๓ พัฒนาและส่งเสริมให้มีแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้อัจฉริยะ ที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอนที่มีคุณภาพ และการประเมินและพัฒนา ผูเ้ รียนเพือ่ สง่ เสริมการเรียนรเู้ ปน็ รายบคุ คล (Personalized learning) สำหรับผ้เู รยี น 1๔ บูรณาการการศึกษาเพื่อการศึกษาต่อด้านอาชีพและการประกอบอาชีพ หรือการมีงานทำ ตามความตอ้ งการและความถนดั ของผู้เรยี น

๔๔ ท่ี แนวทางการพัฒนา ผรู้ ับผดิ ชอบ ตวั ชว้ี ัด สพม.สป. 6 1๕ สนับสนุนการปรับปรุงหลักสูตรและการพัฒนาครู ให้สอดคล้อง กับบริบทพื้นที่ (พค.) สนับสนุนการพัฒนาระบบและกระบวนการบริหารจัดการกระบวนการฝึกประสบการณ์ 6 วชิ าชีพครู และระบบการนเิ ทศการศึกษา และการสอนงานของครูพเ่ี ลี้ยงในสถานศึกษา สพม.สป. 6 (บค.พค.) 1๖ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาชีพ พัฒนาครูและ สพม.สป. บุคลากรทางการศึกษาโดยใช้พ้ืนท่ีเป็นฐาน (ศน.) ๑๗ พัฒนา รูปแบบ วิธีการนิเทศที่ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพ่ือตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 กลยุทธท์ ี่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การศึกษา เปา้ ประสงค์เชิงกลยทุ ธ์ 1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีการนำระบบข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยี ดิจทิ ลั มาใชใ้ นการบริหารจัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 2. สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา สถานศึกษา มรี ะบบการบรหิ ารจัดการทไี่ ด้มาตรฐาน 3. สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา สถานศึกษา มีการบริหารงบประมาณทีม่ ีประสิทธิภาพ เหมาะสม กบั บรบิ ท 4. สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา สถานศึกษา มีการบรหิ ารงานบคุ คลท่ีมีประสิทธภิ าพ เหมาะสม กบั บรบิ ท 5. สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา มีการพฒั นาระบบการบริหารจดั การและการมีส่วน รว่ ม ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ เหมาะสมกบั บริบท ๖. สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา สถานศกึ ษา มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด ค่าเปา้ หมายปีงบประมาณ พ.ศ. เป้าประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ ท่ี ตวั ช้ีวัด ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 1 1 ร้อยละของสถานศกึ ษาในสงั กัดมรี ะบบบริหาร จัดการที่เปน็ ดิจิทัล - สพท.และสถานศกึ ษามีและใชร้ ะบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ - สพท.และสถานศกึ ษามีและใช้ระบบริหาร จดั การที่เปน็ ระบบดิจิทัล 4 ด้าน (บริหารทัว่ ไป / บคุ ลากร / งบประมาณ / วิชาการ) - สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามีและใช้ระบบริ หารจัดการท่ีเป็นระบบดิจิทัล 4 ด้าน (บริหาร ทว่ั ไป / บุคลากร / งบประมาณ / วิชาการ)

๔๕ ท่ี ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายปงี บประมาณ พ.ศ. เป้าประสงค์ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ - สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนทเ่ี ป็น ระบบดจิ ิทัล 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีคะแนนตามเกณฑ์ ๓๐๐ ๓๒๐ ๓๕๐ ๔๐๐ 450 2 การประเมินราชการ 4.0 3 คะแนนการประเมินเกณฑ์มาตรฐานสำนักงานเขต 200 250 300 350 400 2 พน้ื ทีก่ ารศกึ ษา ๔ ร้อยละของการประเมินตัวชี้วัดตามมาตรการ 80 85 90 95 100 ๒ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ สพท. ๕ ร้อยละของสถานศึกษาที่ผ่านเกณฑ์การประกัน ๖๐ ๗๐ ๘๐ ๙๐ 100 2 คุณภาพภายในไมต่ ่ำกว่าระดับดีในทุกมาตรฐาน ๖ รอ้ ยละของการใช้จา่ ยงบประมาณของสำนักงานเขต ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ 95 3 พื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ได้ตามมาตรการเบิก จา่ ยเงินงบประมาณของรฐั ๗ ร้อยละของ สถานศึกษาที่มีบุคลากรตามกรอบ ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ 95 4 อตั รากำลงั ท่ีกำหนด ๘ ร้อยละของความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการ ๗๕ ๘๐ ๘๕ ๙๐ ๙๕ 3-6 จดั การศึกษาของสำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา ๙ ร้อยละของคะแนนการประเมินคุณธรรมและ ๙๔ ๙๕ ๙๖ ๙๗ ๙๘ 6 ความโปร่งใสในการดำเนนิ งาน แนวทางการพฒั นา ตัวชว้ี ัด ท่ี แนวทางการพัฒนา ผู้รับรบั ผดิ ชอบ 1 1 • สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษามกี ารนำระบบขอ้ มูลสารสนเทศ และเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ ในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธภิ าพ 1 1 พัฒนาระบบสารสนเทศในหน่วยงานให้มีระบบข้อมูลจัดการและรายงาน (ปพ. Online /ระบบ สพม.สป. รายงานผลต่อ พระราชบญั ญัติอำนวยความสะดวก / พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (ทกุ กลุ่ม) / ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา/ สพท. (ผู้เรียน ครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา สถานศึกษา (อาคาร ครภุ ัณฑ)์ /ดา้ นบคุ ลากร) 2 พัฒนาระบบพื้นฐานทางเทคโนโลยีให้ครอบคลุมทั้ง สพท. (การให้ความช่วยเหลือ สพม.สป. ด้านเทคโนโลยีพน้ื ฐาน พัฒนาบุคลากรใหม้ ีทักษะพื้นฐานดา้ นเทคโนโลยี การใช้โครงข่าย (พค.ICT) อินเทอรเ์ นต็ การใชอ้ ุปกรณ์ด้าน ICT ) อย่างคมุ้ คา่ และมปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ

๔๖ ท่ี แนวทางการพัฒนา ผู้รบั รับผดิ ชอบ ตวั ชว้ี ัด 1 3 ส่งเสริมการใช้ระบบบริหารด้านการจัดการศึกษาพื้นฐานที่ดีสำหรับสถานศึกษา สพม.สป. 2 เพอื่ ลดภาระงานครู ลดความซำ้ ซอ้ นของระบบงานและการจดั เก็บข้อมูล (นผ.ICT) 2 • สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษา มรี ะบบการบรหิ ารจดั การทีไ่ ด้มาตรฐาน 3 3 ๔ ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการที่ได้มาตรฐานของหน่วยงาน เช่น PMQA มาตรฐาน สพม.สป. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา หรือ (ทกุ กลุ่ม) มาตรฐานอื่นๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง • สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา สถานศกึ ษามีการบริหารงบประมาณ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เหมาะสมกับบริบท ๕ บริหารงบประมาณที่ได้รับจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับภารกิจ วัตถุประสงค์ สพม.สป. และบรบิ ทอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ล (นผ.) • สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา และสถานศกึ ษามกี ารบรหิ ารงานบคุ คล ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ เหมาะสมกับ 4 บรบิ ท 4 ๖ เสรมิ สร้างขวัญกำลังใจในความกา้ วหน้าทางวิชาชพี และการยกย่องเชดิ ชูเกียรติบุคลากร สพม.สป. 5 (พค.บค.) 5 5 ๗ พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมและ สพม.สป. 6 6 การปฏิบตั งิ านตามหลกั ธรรมาภิบาล (พค.กม.บค.) 6 • สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา และสถานศึกษามกี ารพฒั นาระบบการบริหารจดั การและการมีส่วนรว่ ม ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ เหมาะสมกบั บริบท ๘ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาทั้งในและนอกสังกัด เพื่อบูรณาการการใช้ทรัพยากร สพม.สป. ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยใช้พื้นที่เป็นฐานให้เกิดประสิทธิภาพ (สส. ICT) สูงสุด สามารถจัดการเรยี นรูไ้ ด้อย่างมีคณุ ภาพ โดยนำเทคโนโลยีเข้ามาสนบั สนุน ๙ ส่งเสริมทุกภาคส่วนใหม้ ีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา สพม.สป. (ทุกกลมุ่ ) ๑๐ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ การบริหารจัดการศึกษา สพม.สป. จากภาคส่วนต่าง ๆ (ทกุ กล่มุ ) • สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา และสถานศกึ ษา มกี ารบริหารจัดการตามหลักธรรมมาภิบาล ๑๑ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา มีระบบการบริหารการเงินและสินทรัพย์ สพม.สป. ท่ีชดั เจน เปนขน้ั ตอน ตรวจสอบได (ตสน.นผ.กง.) ๑๒ สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา สถานศึกษา สนับสนุน ส่งเสริมให้ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา สพม.สป. มสี ่วนร่วมในการกำหนดแผนงานของหน่วยงาน (ทุกกลมุ่ )

๔๗ ส่วนที่ 4 การขบั เคล่ือนแผนพฒั นาการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานสู่การปฏบิ ตั ิ แนวทางการบริหารแผนสู่การปฏิบัติ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาสมุทรปราการ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการดำเนินงานและ การจัดทำแผนของ สถานศกึ ษาในสงั กัด และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทีก่ ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงโดยมีเป้าหมายในปี พ.ศ. 2570 โดยเชื่อมโยงสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 และเพื่อให้การบริหารแผนสู่การปฏบิ ัตไิ ด้อย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผล สูงสุดทีส่ อดคล้องกับเปา้ หมายการใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษา และการพัฒนาคุณภาพทางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการจึงกำหนดแนวทางในการบริหารแผนสู่การปฏิบัติ ดังน้ี 1. สรา้ งการรับรู้และความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรในสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการทุกระดับ ในความเป็นมา และความเชื่อมโยงของแผนพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ กับนโยบาย และแผนที่สำคญั อื่น ๆ เพื่อให้เกดิ การรับรู้และเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั 2. เน้นย้ำให้ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดให้ความสำคัญในการพิจารณาแผนพัฒนาการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ เพื่อใช้เป็น กรอบในการกำหนดนโยบาย แผน และกรอบแนวทางในการดำเนินงานของหน่วยงาน 3. จัดทำแผนปฏิบัตกิ ารปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา สมุทรปราการ ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2566 - 2570 ของสำนักงาน เขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาสมุทรปราการ เพอื่ นำไปสู่การกำหนดนโยบาย มาตรการและโครงการสำหรับ การดำเนนิ งานท่เี ปน็ รปู ธรรม 4. กำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลการปฏิบัตงิ าน ตามแผนพฒั นาการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างเปน็ ระบบ ทั้งนี้ แผนพัฒนาการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานฉบับน้ี ไดก้ ำหนดเปา้ หมายภาพรวมและตัวช้ีวัดปลายทาง ในปี 2570 มีจำนวนตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ท่ีสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สมุทรปราการสามารถนำไปกำหนดแผนปฏิบัติการในการขับเคลื่อนให้เหมาะสมในแต่ละปี และสามารถนำ แนวทางพัฒนาที่กำหนดไว้ ไปเลือกปรับใช้ตามบริบทของตนเอง เพื่อให้บรรลุค่าเป้าหมายภายในปี 2570 ต่อไป