ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

(2) ��ǹ�������ͧ͢����ǵ����դ���͹����������ͧ�е���ж١�͡�������� NAD+ ������û�Сͺ������ �ͫ�൵ ��ԡ����ҹ�������þ�ѧ�ҹ�٧��ٻ�ͧ NADH

(3) �ҡ�����͹��� �� �������÷�������������� �����͹ؾѹ��ͧ�Ե��Թ�� �ж١��� �Դ�Ѻ�ͫ�൵���¾ѹ�з�������������������ͫԵ����� ������ͫԵ����� ������ �ͫ�൵ �������ѯ�ѡ��û�����Ͷ١�͡������������ҧ����

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

�ٻ��� 7.4 �������¹�ŧ����ǵ������ͫԵ����������������ѯ�ѡ��ú��

�ѯ�ѡ��û�� ��駪��͵�� �ҹ�� �û�� (Hans Krebs) �ѡ�Է����ʵ���ҧ��� ��Ū�������ѹ����觤鹾��ѯ�ѡù��������ҧ�� �.�. 1930-1940 �ѯ�ѡù���Сͺ���� ��ԡ��������¢�鹵͹���¡ѹ ���Т�鹵͹����¡����觢ͧ�͹�������������Ѻ���� ��ԡ����� �ͫԵ�� � �� ����������ѯ�ѡ��û�������Ѻ�͡�����ͫ�൵�Դ�繫��õ��� �ӻ�ԡ����ҵ����ա 8 ��鹵͹ �����͡�����ͫ�൵��Ѻ�׹�� ��÷����ҷӻ�ԡ����� �ء��������駼�Ե�Ţͧ��ԡ����ҷء�����ѯ�ѡ��û����ǹ�繡ô���¡ѹ��駹�� ��ԡ����� ��ǹ�˭�ͧ�ѯ�ѡ��û���繻�ԡ������մ͡����������þ�ѧ�ҹ�٧ NADH ��� FADH2 �͡�� ��觨ж١�����㹡�����ҧ ATP ���Ը��͡��ഷտ�������Ūѹ���� �ѯ�ѡ��û���ͧ����ö���ҧ ATP ���Ըտ������Ūѹ�дѺ�Ѻ��õ�������ǡѺ �Զ�����ԫ��

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

�ѯ�ѡ��û����������� �ͫյ��� �� �����ǡѺ �͡�����ͫ�൵ (oxaloacetate) ����� ���õ (citrate)�����͹��� �� (CoA-SH) ��觫��õ������¹�ŧ��� ��������ͧ�ѹ��� ��⫫��õ (isocitrate) ������ù����٭���¤���͹��͡䫴� ������ ��ſҤ�ⵡ�ٵ��õ (

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร
-ketoglutarate) ��觨��٭���¤���͹��͡䫴� �ա���˹�觡����� �Ѥ�Թ����� (succinyl CoA) �ҡ����繡������¹�Ѥ�չ����� ����� �Ѥ��๵ (succinate) �����ŵ (fumalate) ��� ���ŵ (malate) ����ӴѺ �ѯ�ѡ��û�����͹���������ö�������硵�͹�� NAD+ ��觨�����¹�� NADH ���������ԡ����� ��� ��⫫��õ�����è��� (isocitrate dehydrogenase) ��ſҤ��- ��ٵ��õ�����è��� (
ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร
-ketoglutarate dehydrogenase) ��� ���ŵ�����è��� (malate dehydrogenase) ����ѧ���͹��� �Ѥ��๵�����è��� (succinate dehydrogenase) �����������硵�͹�� FAD �Դ�� FADH2 �͡�ҡ����ѯ�ѡ��û���ѧ�� ��ԡ����� �Ѥ�Թ����ͫԹ���� (succinyl CoA synthetase) �������ö���ҧ GTP �������� ��ѧ�ҹ�٧���˹�觷���վ�ѧ�ҹ����з��������ҵðҹ��ҡѺ ATP ��鹨ҡ GDP ���Ը� �������Ūѹ�дѺ�Ѻ��õ

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

สารอาหารที่เป็นแหล่งของพลังงานคือ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน คาร์โบไฮเดรตเป็นพลังงานหลักของร่างกาย โดยเฉพาะน้ำตาลกลูโคส เป็นสารตั้งต้นหลักในการเริ่มปฏิกิริยาการหายใจระดับเซลล์หรือการสลายสารอาหารของเซลล์ เมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการสลายกลูโคสจะได้ พลังงานในรูป ATP แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

การสลายกลูโคสจะเกิดปฏิกิริยาเชื่อมต่อกันแบ่งออกได้เป็น 4 ขั้นตอนคือ

  1. ไกลโคไลซีส (glycolysis)
  2. การสร้างแอซีติลโคเอนไซม์ เอ (acetyl CoA)
  3. วัฏจักรเครบส์(Krebs cycle)
  4. ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport system, ETS)

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

ไกลโคไลซีส(Glycolysis)

ไกลโคไลซีส คือกระบวนการสลายน้ำตาล ศึกษาโดย เอ็มเด็น (Emden) เมเยอร์ฮอฟ (Meyerhof) และพาร์เนส (parnas) จึงได้ชื่ออีกชื่อหนึ่งว่า EMP pathway เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดโดยเกิดในไซโทพลาสซึมของเซลล์ มีเอนไซม์ชนิดต่างๆเร่งปฏิกิริยา

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

ไกลโคไลซีส --> สลายกลูโคสซึ่งมีคาร์บอน 6 อะตอมให้เป็นกรดไพรูวิก (pyruvic acid) ซึ่งมีคาร์บอน 3 อะตอม 2 โมเลกุล ปฏิกิริยาแบ่งออกเป็น 2 ตอนคือตอนแรกมีการใช้พลังงานในการกระตุ้นกระบวนการ 2 ATP ส่วนกระบวนการหลังจะมีการสร้างพลังงาน 4 ATP (ตอนแรกใช้ไป 2 ATP สร้างได้ 4 ATP เท่ากับได้พลังงานสุทธิ 2 ATP) และมีการดึงไฮโดรเจนและอิเล็กตรอนออกมาโดย NAD+เป็น NADH + H+2 โมเลกุล

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร


การสร้างแอซีติลโคเอนไซม์ เอ

เป็นขั้นที่เชื่อมระหว่างไกลโคไลซีสกับวัฏจักรเครบส์ มีกรดไพรูวิกเป็นสารตั้งต้น กรดไพรูวิกแต่ละโมเลกุลจะผ่านเข้าสู่ไมโทคอนเดรียและทำปฏิกิริยากับโคเอนไซม์เอ (coenzyme A) ได้เป็นแอซีติลโคเอนไซม์ เอ (acetyl CoA) ซึ่งมีคาร์บอน 2 อะตอม ในปฏิกิริยานี้มีการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 2 โมเลกุลและเปลี่ยน NAD+เป็น NADH + H+โดยมีเอนไซม์ไพรูเวตดีไฮโดรจีเนสคอมเพลกซ์ (pyruvate dehydrogenase complex) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร
ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

วัฏจักรเครบส์

วัฎจักรเครบส์ อาจเรียกว่า วัฏจักรของกรดซิตริก (citric acid cycle) หรือวัฏจักรของกรดไตรคาร์บอกซิลิก (tricarboxylic acid cycle) ผู้ค้นพบคือ เซอร์ฮันส์ อดอล์ฟเครบส์ (Sir Hans Adolf Krebs) นักชีวเคมีชาวอังกฤษ

วัฏจักรเครบส์เริ่มต้นด้วยการรวมตัวกันของแอซีติลโคเอนไซม์เอกับกรดออกซาโลแอซีติก(oxaloacetic acid) ซึ่งมีคาร์บอน 4 อะตอมได้กรดซิตริก(citric acid) ซึ่งมีคาร์บอน 6 อะตอม และจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอีกหลายขั้นตอนและมีเอนไซม์หลายชนิดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา มีการดึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากกรดซิตริกทำให้คาร์บอนอะตอมของกรดซิตริกลดลงจาก 6 คาร์บอนอะตอมเป็น 5 และ 4 คาร์บอนอะตอมตามลำดับ ซึ่งเมื่อได้สารที่มีคาร์บอนอะตอม 4 อะตอมคือกรดออกซาโลแอซีติกก็สามารถรวมตัวกับแอซีติลโคเอนไซม์เอเป็นกรดซิตริกได้อีก และเกิดการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร แต่ละรอบของวัฏจักรเครบส์นอกจากจะมีการดึงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกแล้วยังมีการสร้าง NADH + H+, FADH2และ GTP

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร


การถ่ายทอดอิเล็กตรอน

การถ่ายทอดอิเล็กตรอน (electron transport system) NADH + H+และ FADH2จะถ่ายทอดอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนไปยังตัวรับอิเล็กตรอนอื่นๆ คือโคเอนไซม์ Q ไซโทโครม b ไซโทโครม c ไซโทโครม a + a3และออกซิเจนตามลำดับ ถ้าหากปลดปล่อยพลังงานออกมาเกิน 7.3 กิโลแคลอรี ก็สามารถสังเคราะห์ ATP ได้ ตัวอย่างเช่นการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจาก NADH + H+ไปยัง FADH2จะมีพลังงานปลดปล่อยออกมา 12.2 กิโลแคลอรี จึงสามารถสร้าง ATP ได้

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร


สรุปพลังงานที่ได้ในขั้นต่างๆของกระบวนการหายใจโดยใช้ออกซิเจน

1.ไกลโคไลซิส

กลูโคส --> 2 กรดไพรูวิก

กลูโคส + 2ATP +2ADP+ 2Pi + 2 NAD+2 กรดไพรูวิก + 4ATP + 2 NADH + H+

--> ได้พลังงานในช่วงนี้ 2 ATP (NADH + H+ยังไม่ให้พลังงาน)

2.การเปลี่ยนกรดไพรูวิกเป็นแอซีติลโคเอนไซม์ เอ

2 กรดไพรูวิก + 2โคเอนไซม์ เอ + 2NAD+2แอซีติลโคเอนไซม์ เอ + 2CO2+ 2NADH + H+--> ไม่ได้พลังงาน (NADH + H+ยังไม่ให้พลังงาน)

3.วัฏจักรเครบส์

2 แอซีติลโคเอนไซม์ เอ + 6H2O + 2 GDP + 2Pi + 6NAD++ 2FAD-->2GTP + 4CO2+ 6NADH + H++ 2FADH2-->ได้พลังงาน 2 GTP (เท่ากับ 2 ATP) (NADH + H+และ FADH2ยังไม่ให้พลังงาน)

4.ระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอน

NADH + H+10 โมเลกุล (จากขั้นไกลโคไลซีส 2 / ขั้นการเปลี่ยนกรดไพรูวิกเป็นแอซีติลโคเอนไซม์ เอ 2 /ขั้นวัฏจักรเครบส์ 6 NADH + H+),FADH22 โมเลกุล (จากวัฏจักรเครบส์) มีการเปลี่ยนแปลงดังนี้

10 NADH + H++ 5O2+ 30ADP + 30Pi --> 30ATP + 10H2O + 10NAD+

2 FADH2+ O2+ 4ADP + 4Pi --> 4ATP +2H2O +2FAD

** ดังนั้นพลังงานในระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน = 34 ATP

*** พลังงานที่ได้จากทุกขั้นตอนคือ 2ATP + 2ATP + 34ATP = 38 ATP

** C6H12O6+ 6O2+ 38ADP + 38Pi ---> 6CO2+ 6H2O + 38ATP **

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

** ในโพรคาริโอต (procaryote) ไม่มีไมโทคอนเดรีย กระบวนการหายใจจึงเกิดขึ้นในไซโทพลาสซึมของเซลล์และได้พลังงาน 38 ATP ต่อการสลายกลูโคสอย่างสมบูรณ์ 1 โมเลกุล

** ในยูคาริโอต (eucaryote) ซึ่งมีไทโทคอนเดรีย เกิดไกลโคไลซีสเกิดในไซโทพลาสซึม ส่วนวัฏจักรเครบส์และระบบการถ่ายทอดอิเล็กตรอนเกิดขึ้นภายในไมโทคอนเดรีย ดังนั้นจึงต้องมีกระบวการนำ 2NADH + H+จากไซโทพลาสซึมเข้าสู่ไมโทคอนเดรีย ซึ่งมีระบบที่แตกต่างกัน โดยบางระบบ 2NADH + H+ต้องเปลี่ยนเป็น 2FADH2แต่บางระบบไม่ต้องเปลี่ยน ดังนั้น 2NADH + H+จากไซโทพลาสซึมในเซลล์ของพวกยูคาริโอตจึงอาจได้พลังงาน 4ATP หรือ 6ATP ซึ่งแล้วแต่ระบบการนำ 2NADH + H+เข้าสู่ไมโทคอนเดรีย

ตารางสรุปกระบวนการหายใจแบบใช้ออกซิเจน

กระบวนการ

พลังงาน

ใช้ไป

สร้างได้

จากNADH + H+และ FADH2

ในระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน

รวม

1. ไกลโคไลซีส

กลูโคส 2กรดไพรูวิก

2. กรดไพรูวิกเป็นแอซีติลโคเอนไซม์ เอ

2 กรดไพรูวิก 2 แอซีติล CoA+2CO2

3. วัฏจักรเครบส์

2 แอซีติลโคเอนไซม์ 4CO2

2ATP

-

-

4ATP

-

2GTP

2NADH+H+= 4 หรือ 6 ATP

2NADH+H+= 6 ATP

6NADH+H+= 18 ATP

2FADH2= 4 ATP

6 หรือ 8 ATP

6 ATP

24 ATP

กลูโคส 6CO2

2ATP

6ATP

32 หรือ 34 ATP

36 หรือ

38 ATP

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร


การสลายไขมัน

กรดไขมันและกลีเซอรอลเมื่อลำเลียงเข้าสู่เซลล์จะเป็นสารตั้งต้นในกระบวนการสลายสารอาหาร โดยกลีเซอรอลเข้าสู่กระบวนการในช่วงไกลโคไลซิส ส่วนกรดไขมันจะมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยการตัดสายไฮโดรคาร์บอนออกทีละ 2 คาร์บอนอะตอม สร้างเป็นแอซีติลโคเอนไซม์ เอ เข้าสู่วัฏจักรเครปส์ต่อไป

การสลายโปรตีน

กรดอะมิโนถูกเปลี่ยนแปลงได้หลายแนวทางตามชนิดของกรดอะมิโน บางชนิดเปลี่ยนเป็นกรดไพรูวิก บางชนิดเปลี่ยนเป็นแอซีติลโคเอนไซม์ เอ หรือบางชนิดเปลี่ยนไปเป็นสารตัวใดตัวหนึ่งในวัฏจักรเครบส์ โดยต้องมีการตัดหมู่อะมิโน (-NH2) ออกจากโมเลกุลของกรดอะมิโน หรือย้ายหมู่อะมิโนไปอยู่กับโมเลกุลของสารประกอบตัวอื่น ก่อนทุกครั้ง โดยหมู่อะมิโนที่หลุดออกจะเปลี่ยนเป็นแอมโมเนีย ซึ่งร่างกายจะมีกระบวนการเปลี่ยนไปเป็นยูเรียหรือกรดยูริค และกำจัดอออกนอกร่างกายโดยระบบขับถ่ายต่อไป

พลังงานที่ได้จากการสลายโมเลกุลของกลูโคส กรดไขมัน และกรดอะมิโน จะถูกนำไปใช้ในกระบวนการต่างๆของเซลล์ เช่น การหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อ การขนส่งสารแบบแอกทิฟ (Active transport) การสร้างสารโมเลกุลใหญ่จากสารโมเลกุลเล็ก การสังเคราะห์โปรตีน (protein synthesis) ดังนั้นเซลล์ที่ใช้พลังงานมาก จึงต้องมีไทโทคอนเดรียมากด้วย

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร


การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ

ในสภาวะที่ร่างกายขาดออกซิเจนหรือได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ การสลายกลูโคสในเซลล์กล้ามเนื้อจะไม่สมบูรณ์ โดยไม่เข้าสู่วัฏจักรเครบส์ และระบบถ่ายทอดอิเล็กตรอน แต่จะสลายเป็นกรดแลกติกโดยตรงด้วยกระบวนการไกลโคไลซีสทำให้ได้พลังงานเพียง 2 ATP ต่อกลูโคส 1โมเลกุล แต่กรดแลกติกสามารถจะเปลี่ยนไปเป็นกรดไพรูวิกได้ ดังนั้นเมื่อมีออกซิเจนมากเพียงพอ กรดแลกติกก็จะเปลี่ยนเป็นกรดไพรูวิกแล้วเข้าสู่วัฏจักรเครบส์ต่อไป กรดแลกติกที่เกิดขึ้นในตับจะเปลี่ยนเป็นกรดไพรูวิกและสร้างเป็นกลูโคสปล่อยออกสู่กระแสเลือดหากมีการสะสมของกรดแลกติกในกล้ามเนื้อมากๆ จะทำให้กล้ามเนื้อล้าจนกระทั่งทำงานไม่ได้จะต้องรับออกซิเจนมาชดเชย เพื่อสลายกรดแลกติกต่อไป โดยได้น้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งกำจัดออกสู่ภายนอกได้

กลูโคส + 2ADP +2Pi ---> กรดแลกติก + 2ATP +2H2O

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

แบคทีเรียบางชนิดสามารถสลายสารอาหารโดยไม่ใช้ออกซิเจนได้ผลผลิตเป็นกรดแลกติกซึ่งมีประโยชน์ในอุตสาหกรรมการหมักหรือผลิตอาหาร เช่น นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เต้าเจี้ยว เต้าหู้ยี้ ผักและผลไม้ดอง

การหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนในเซลล์ยีสต์

เซลล์ยีสต์ในสภาพที่ไม่มีออกซิเจนจะสลายกลูโคสเป็นกรดไพรูวิกเช่นเดียวกับเซลล์กล้ามเนื้อ จากนั้นกรดไพรูวิกจะถูกเปลี่ยนเป็นแอซีทัลดีไฮด์ (acetyldehyde)และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์โดยเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซีเลส (pyruvate decarboxylase) แอซีทัลดีไฮด์จะถูกรีดีวซ์ด้วย NADH+H+เป็นเอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol)หรือเอทานอล (ethanol) โดยเอนไซม์แอลกอฮอล์ดีไฮโดรจีเนส (alcohol dehydrogenase) ตามสมการ

กลูโคส + 2ATP + 2ADP + 2Pi + 2NAD+2 กรดไพรูวิก + 4 ATP +2NADH+H+

pyruvate decarboxylase

2 กรดไพรูวิก ---> 2 แอซีทัลดีไฮด์ + 2CO2

2 แอซีตัลดีไฮด์ + 2 NADH+H+2 เอทิลแอลกอฮอล์ + 2 NAD+

กลูโคส + 2ADP + 2Pi -> 2 เอทิลแอลกอฮอล์ + 2ATP + 2CO2

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

ว ฏจ กรเครบส ม ความส าค ญอย างไร

แอลกอฮอล์ที่เกิดขึ้นถ้ามีมากจะเป็นอันตรายต่อเซลล์ของยีสต์ ร่างกายมนุษย์จะมีกระบวนการในการเปลี่ยนเอทิลแอลกอฮอล์ให้เป็นสารอื่นๆ ซึ่งไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์และขับออกจากร่างกายไป

การหมักแอลกอฮอล์ (Alcoholic fermentation) นำมาใช้ประโยชน์ในการผลิตเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เบียร์ สุรา ไวน์ชนิดต่างๆ และโมเลกุลของแอลกอฮอล์ยังมีพลังงานแฝงอยู่มากจึงสามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้

สรุป

กระบวนการหายใจโดยไม่ใช้ออกซิเจนให้พลังงาน 2 ATP ต่อกลูโคส 1 โมเลกุล ดังนั้นการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนสิ่งมีชีวิตได้พลังงานน้อยมากและน้อยกว่าการหายใจแบบใช้ออกซิเจน 18-19 เท่า การหายใจแบบใช้ออกซิเจนจึงมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตมาก เพราะเป็นตัวให้พลังงานส่วนใหญ่ที่นำไปใช้ในกิจกรรมต่างๆของเซลล์สิ่งมีชีวิต