ว จ ยความคาดหว งของสถานประกอบการ ม.ราชมลคลร ตนโกส นมร

11. .รระะบบบบบบตั ัตรรออนนญุุญาาตตเเขขา า หหอ อ งงสสออบบ 1. ระบ2.บรบะตับรบอแนจญุงคาวตาเมขจา ำหนอ งงสอบ

เปนระบบบริหารจัดการที่มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้นเพื่อ ขอรับอุปกรณส ง เสริมการศกึ ษา อำนวยความสะดวกรวดเร็วใหแกนิสิตผานระบบออนไลน เปนระบบบริหารจัดการที่มีวัตถุประสงค เพื่อใหนิสิตใหม ลดการสัมผัสและสอดคลองการชีวิตวิถีใหม (New Normal) สามารถแจงความจำนงขอรับอุปกรณสงเสริมการศึกษา ไดแก รวมทั้งสามารถนำขอมูลและสารสนเทศที่ไดจากระบบไปใช iPad ไดอยางรวดเร็ว สะดวก ทันสมัย ไดทุกที่ทุกเวลา อีกทั้ง ประโยชนในการบริหารจัดการดานการเรียนการสอนของ สามารถนำขอมลู และสารสนเทศท่ีไดจากระบบไปใชประโยชน มหาวิทยาลัยไดอยางมีคุณภาพ ในการบริหารจดั การดานการจดั สรรอุปกรณสง เสริมการศึกษา ใหแกน ิสติ ใหมไ ดอ ยางมีคณุ ภาพ

31..รระะบบบบงาบนตั พรธิอีปนรญุ ะสาาตทเขปา รหญิ อ ญงาสบอัตบร 41..รระะบบบบยนืบยตั นั รกอานรญุขอารตบั เขเงา นิ หชอ วงยสเหอลบอื

เปนระบบบริหารจัดการที่มหาวิทยาลัยพัฒนาขึ้นเพื่อ จาก “โครงการมาตรการลดภาระคาใชจายดานการศึกษา ใหบัณฑิตลงทะเบียนเขารับการตรวจ ATK และรายงานตัว ของนิสิต นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและเอกชน” เขาพิธีประสาทปริญญาบัตรผานระบบออนไลนเพื่อปองกัน ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อใหนิสิตยืนยันการขอรับเงินชวยเหลือ การติดเชือ้ และลดการแพรกระจายของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา จากโครงการมาตรการการลดภาระคา ใชจ า ยดา นการศกึ ษาของ (COVID-19) อีกทั้งสามารถนำเขามูลผลการลงทะเบียนของ นิสิตนกั ศกึ ษาในสถาบันอดุ มศกึ ษาภาครัฐและเอกชน บัณฑติ มาใชใ นการบริหารจัดการงานพิธีประสาทปรญิ ญาบัตร ไดอยางมีประสิทธภิ าพ

ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยไดทำการประเมินความพึงพอใจของนิสิต และอาจารยตอการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อประสิทธิผล ในการบรหิ ารจดั การ ดา นคณุ ภาพการใหบ รกิ ารดา นกายภาพทเ่ี หมาะสมตอ การจดั การเรยี นการสอนอยทู ร่ี ะดบั คะแนนเฉลย่ี 4.34

33University of quality and morality

รายงานประจำป 2564

มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ

กลยุทธท ่ี 7 พัฒนามหาวิทยาลยั สคู วามเปน นานาชาติ

ในปก ารศกึ ษา 2564 มหาวทิ ยาลยั ประสบความสำเรจ็ ในการพฒั นา สง เสรมิ และสนบั สนนุ ใหม บี รรยากาศดา นวชิ าการ ที่มุงสูความเปนนานาชาติ โดยไดดำเนินการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่ทันสมัยในยุคดิจิทัลและเปนปจจุบันในรูปแบบ สอ่ื สง่ิ พมิ พแ ละสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน หนงั สอื วารสาร หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ฐานขอ มลู ผา นโครงการพฒั นาทรพั ยากรสารสนเทศ ที่มุงเนนการจัดหาทรัพยากรสารเทศที่สอดคลองตรงกับหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยในสาขาวิชาตาง ๆ เพอ่ื ใหน สิ ติ เกดิ ทกั ษะพฒั นาการเรยี นรู โดยในปก ารศกึ ษา 2564 มหาวทิ ยาลยั ไดจ ดั สรรใหม ที รพั ยากรสารสนเทศภาษาตา งประเทศ ที่มีความหลากหลายรูปแบบ ไดแก หนังสือ จำนวน 2,052 เลม วารสาร จำนวน 2 รายการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส จำนวน 188 รายการ และฐานขอ มลู จำนวน 28 ฐาน ใหน สิ ติ บณั ฑติ และศษิ ยเ กา สามารถเขา มาสบื คน หนงั สอื และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ตาง ๆ ตามความตองการได นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยไดจัดบริการหองคอมพิวเตอร(Smart Library) สำหรับนิสิตใชศึกษา คนควาขอมูลตาง ๆ อีกทั้งยังมีการจัดมุมประชาคมอาเซียน (Asean collection) มุมจีน (Chinese Collection) และ มุมหนังสอื พมิ พโดยสแกนผานคิวอารโคด (QR Code)

34 มหาวทิ ยาลยั แหง คุณภาพ และคุณธรรม

Annual Report 2021

RAJAPRUK UNIVERSITY

กลยทุ ธที่ 8 การส่อื สารและสรา งภาพลกั ษณท่ีดีของมหาวทิ ยาลัย

ดานการการสอื่ สารของมหาวิทยาลัย ในปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลยั ประสบความสำเรจ็ จากการเผยแพรข อ มลู ขาวสาร ท่ีเปน ประโยชนตอ นสิ ิต บณั ฑิต ศิษยเ กา คณาจารยข องมหาวิทยาลยั นอกจากนก้ี ารประชาสมั พันธการรับสมคั รเรียน ผา น ชอ งทาง Facebook Google Ads และ LINE Ads ของมหาวทิ ยาลัย ทำใหม หาวทิ ยาลัยสามารถรบั นิสติ ใหม ในปก าร ศึกษา 2565 จำนวน 1,654 คน ซงึ่ เพ่ิมขึน้ จากปการศกึ ษา 2564 จำนวน 70 คน

1. ระบบบตั รอนญุ าตเขา หอ งสอบ

ดานการการสรางภาพลักษณที่ดีของมหาวิทยาลัย ทามกลางสถานการณการแพรระบายของ COVID - 19 มหาวิทยาลัย ไดต ดั สนิ ใจเปด ใหบ รกิ ารศนู ยฉ ดี วคั ซนี COVID-19 รว มกบั เครอื ขา ยบรกิ ารสาธารณสขุ ไดแ ก สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นนทบรุ ี สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบางกรวย องคการบริหารสวนตำบลบางขนุน และอาสาสมัครสาธารณสุขอำเภอบางกรวย เพื่อเปนสวนหนึ่งในการชวยเหลือประชาชนในพื้นที่ ไดมีจุดรับวัคซีนที่สะดวกมากขึ้น และดำเนินการตามนโยบายภาครัฐ ที่ตองการใหมีการฉีดวัคซีนเปนกลุมกอน ซึ่งจะทำใหการฉีดวัคซีนกระจายไปเร็วมากขึ้น โดยสามารถใหบริการครอบคลุม ถงึ ครอบครวั บคุ ลากร และชมุ ชนรอบ ๆ พน้ื ทม่ี หาวทิ ยาลยั ดว ย ถอื เปน ความสำเรจ็ ในการสรา งภาพลกั ษณท ด่ี ใี หก บั มหาวทิ ยาลยั ควบคไู ปกบั การสรางความสัมพันธที่ดแี ละความเขมแข็งใหแ กชุมชนและสังคม

35University of quality and morality

รายงานประจำป 2564 ยุทธศาสตรท ่ี 3

มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ

ดานการพฒั นาบุคลากร ประกอบดวย 5 กลยทุ ธ

กลยุทธท ี่ 9 เสรมิ สรางการพัฒนาองคความรูดานวิชาการ กลยุทธที่ 10 และสมรรถนะในวิชาชีพ เสริมสรางการพฒั นาดานวิจัยและนวตั กรรม

กลยุทธท่ี 11 เสริมสรา งการพัฒนาดานการทำตำแหนงทางวชิ าการ ในหลากหลายรปู แบบ และมีคุณวุฒทิ างการศกึ ษาท่สี งู ขน้ึ

กลยทุ ธที่ 12 เสริมสรางและพฒั นาศกั ยภาพของเจา หนาท่ี เพื่อรองรบั การเปลี่ยนแปลง

กลยุทธท่ี 13 การธำรงรกั ษา สรางขวญั กำลงั ใจ และความกา วหนา ในวชิ าชีพของอาจารยแ ละเจา หนาท่ี

36 มหาวิทยาลยั แหง คุณภาพ และคุณธรรม

โครงการ/งานในยทุ ธศาสตรที่ 3 Annual Report 2021

RAJAPRUK UNIVERSITY

จำ นวน 15 โ ค ร งการ จำนวน 7 งาน

จำ นวน ร วม 22 โ คร งการ / งาน

รอยละของงบประมาณรวม 3.83

37University of quality and morality

รายงานประจำป 2564 กจิ กรรมเดน ในยุทธศาสตรที่ 3

มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ

มอบรางวลั ตอบแทนแกค ณาจารย ผทู ำผลงานทางวิชาการ

การประชมุ วชิ าการระดับชาตแิ ละนานาชาติ การประชุมวชิ าการระดับชาตแิ ละนานาชาติ ครบรอบ 15 ป “เบญจมิตรวชิ าการ” ครั้งที่ 12

38 มหาวทิ ยาลยั แหง คุณภาพ และคุณธรรม

Annual Report 2021

RAJAPRUK UNIVERSITY

กลยทุ ธท่ี 9 เสรมิ สรา งการพฒั นาองคความรดู า นวชิ าการ และสมรรถนะในวชิ าชพี

คนถอื วา เปน ทรพั ยากรอนั มคี า ทส่ี ดุ ทส่ี ง ผลใหเ กดิ ความสำเรจ็ ตามเปา หมาย ซง่ึ เรยี กวา ทนุ มนษุ ย (Human Capital) ดงั นน้ั มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ จงึ มแี นวทางในการจดั สรรอตั รากำลงั ในการสรา งสมดลุ ระหวา งปรมิ าณงานและจำนวนบคุ ลากร เพื่อใชเปนเครื่องมือในการวางแผนการใชอัตรากำลังคนในการพัฒนากำลังคนใหสามารถเดินตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย เปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล รวมถงึ สอดคลอ งกบั ทศิ ทางของการพฒั นาดา นวชิ าการ และตรงกบั ความตอ งการ ของมหาวิทยาลยั โดยมหาวิทยาลัยราชพฤกษมบี ุคลากรดังตอ ไปน้ี

3761.3ค2น% จำนวนบคุ ลากร มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ

อาจารย เจา หนา ท่ี

16234.6.58%คน

มหาวิทยาลัยราชพฤกษจึงสงเสริมและพัฒนาสมรรถนะอาจารย รวมถึงผลักดันศักยภาพอาจารยใหเปนมืออาชีพ ในดา นการจดั การเรยี นการสอน เทคโนโลยี โดยมกี ารพฒั นาอาจารยใ หม คี วามเชย่ี วชาญในดา นความรคู วามสามารถ (Knowledge) ดานทักษะ (Skills) และดานทัศนคติ (Attitude) ที่ดีตอมหาวิทยาลัย รวมถึงมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ทเี่ หมาะสมใหกับคณาจารย สวนเจาหนา ทีม่ ุง พฒั นาศักยภาพใหต รงกบั สายงาน เพอื่ รองรบั การเปลย่ี นแปลง โดยการพัฒนา บคุ ลากรในรปู แบบตา ง ๆ ไมว า จะเปน เปลย่ี นทกั ษะ (Reskill) เพม่ิ เตมิ ทกั ษะทม่ี อี ยเู ดมิ (Up skill) และทกั ษะใหม (New skill) เพือ่ ใหท นั ตอการเปลี่ยนแปลง และสรา งความพรอ มรับการเปลย่ี นแปลง และขับเคลอ่ื นการเปลยี่ นแปลง ดงั นี้

39University of quality and morality

รายงานประจำป 2564

มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ

1. General Training โครงการ/กจิ กรรม จำนวนผเู ขา รว ม วทิ ยาการ 121 คน คณะผบู รหิ าร ลำดบั วนั /เดอื น/ป ประชมุ คณาจารยม หาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ 122 คน คณะผบู รหิ าร 1 10 ม.ิ ย. 64 ภาคการศกึ ษาท่ี 1/2564 9 คน อาจารยป รยิ วศิ ว ชเู ชดิ 2 29 ต.ค. 64 ประชมุ คณาจารยม หาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ 64 คน สถาบนั ทดสอบ 3 17 ธ.ค. 64 ภาคการศกึ ษาท่ี 2/2564 ทางการศกึ ษาแหง ชาติ 4 14 ม.ค. 65 อบรมการใชง าน Microsoft Excel (องคก ารมหาชน) ขน้ั พน้ื ฐานใหก บั คณาจารย การทดสอบภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร วทิ ยาการ ในการทำงาน (TEC-W) ดว ยระบบดจิ ทิ ลั บรษิ ทั กราวเิ ทคไทย (Digital Testing) (ไทยแลนด) จำกดั ดร.รสสคุ นธ ทบั พร 2. Functional Training และคณะ ลำดบั วนั /เดอื น/ป โครงการ/กจิ กรรม จำนวนผเู ขา รว ม ผศ.ดร.อรณุ ี สำเภาทอง 1 9 ก.ค 64 การเขยี นโปรแกรมบน Arduino Board 14 คน และคณะ 100 คน 16 ก.ค. 64 9 คน ผศ.ดร.อรณุ ี สำเภาทอง 96 คน - 2 13 ส.ค 64 การอบรมการใชง าน Application 77 คน 32 คน 19 ส.ค 64 ประกอบการสอน และการประเมนิ ผลออนไลน 20 ส.ค 64 ไดแ ก Google Attendance Quizizz Kahoot 27 ส.ค 64 Socrative

3 6 พ.ค. 65 บทบาทหนา ทข่ี องหวั หนา สาขาวชิ าและอาจารย

ทป่ี รกึ ษาในการดแู ลนสิ ติ ทางดา นการเรยี นการสอน

4 11 พ.ค. 65 เกณฑก ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน

ปก ารศกึ ษา 2564

5 1 ม.ิ ย. 64 - 31 พ.ค. 64 การอบรมอาจารยก บั องคก รภายนอก มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษ

40 มหาวิทยาลยั แหง คณุ ภาพ และคุณธรรม

Annual Report 2021

RAJAPRUK UNIVERSITY

กลยทุ ธที่ 10 เสริมสรางการพัฒนาดา นวิจยั และนวตั กรรม

ดานวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชพฤกษมุงเนนในการพัฒนาอาจารยใหไดรับความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับวิจัย รวมถงึ สรา งงานวจิ ยั ทค่ี ณุ ภาพและมมี าตรฐาน ควบคไู ปกบั การสง เสรมิ ใหอ าจารยม กี ารจดั ทำงานวจิ ยั เพอ่ื สง เสรมิ ความมง่ั คง่ั ทางเศรษฐกจิ การรกั ษส ง่ิ แวดลอ ม การมสี งั คมทอ่ี ยดู มี สี ขุ การเสรมิ สรา งภมู ปิ ญ ญามนษุ ย โดยในปก ารศกึ ษา 2564 มหาวทิ ยาลยั ประสบความสำเรจ็ ในการพัฒนางานวจิ ัยและนวตั กรรม โดยสามารถผลิตงานวิจยั ท่ีมีองคความรูที่เปน ประโยชนตอ นสิ ติ และ บณั ฑติ มหาวทิ ยาลัย ชมุ ชน และทอ งถน่ิ จำนวน 47 เร่อื ง ดงั รายช่ือท่ปี รากฏ

ลำดบั ชอ่ื งานวจิ ยั ผจู ดั ทำงานวจิ ยั

1 พฤติกรรมผูบริโภคกลมุ มิลเลนเนียล และปจจยั สว นประสมตลาดบรกิ ารทส่ี งผลตอการตดั สนิ ใจ อาจารยส นุ ทรยี  สองเมอื ง เลือกใชบรกิ ารรา นสะดวกซอ้ื ในจังหวัดนนทบรุ ี

2 ความสมั พันธระหวา งการส่ือสารการตลาดในยุคดิจทิ ัลและการตัดสนิ ใจซ้ือสินคาของผบู ริโภคยคุ ใหม ผศ.ดร.ลกั ษณาวดี บญุ ยะศริ นิ นั ท ผานสมารทโฟน ในกรุงเทพมหานคร

3 ความสมั พนั ธของเครอ่ื งมอื การส่ือสารทางการตลาดแบบบูรณาการผา นสือ่ ดจิ ทิ ลั กับกระบวนการ ผศ.ณชิ ชา ปะณะรกั ษ ตัดสินใจซอ้ื สินคาผานแพลตฟอรมออนไลน

4 คณุ คาตราสินคา ทสี่ งผลตอความภกั ดตี อ ตราสนิ คาของนกั ทองเที่ยวชาวไทยท่ีใชบริการในโรงแรม ผศ.ดรณุ ี มเู กม็ และ และท่ีพักแบบบตู ิก จงั หวดั ภูเกต็ ผศ.วชั รนิ ทร เกดิ ทรพั ย

5 กลยทุ ธการตลาดดจิ ทิ ัลบนแพลตฟอรมออนไลนข อง Shopee ทสี่ ง ผลตอ ตัดสินใจซือ้ ซำ้ ของผบู ริโภค อาจารยส ชุ าดา สดุ จติ ร ในจังหวดั ภเู กต็

6 ปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ การปรบั ตวั ของผปู ระกอบการในสถานการณแ พรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ผศ.จดิ าภา ธญั ญรตั นวานชิ (COVID-19) ในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล

7 การสรางแนวทางการพฒั นาชุมชนแหงการเรยี นรขู ององคการบรหิ ารสวนตำบลบางขนนุ ผศ.จริ วฒุ ิ เชญิ เกยี รตปิ ระดบั อำเภอบางกรวย จังหวดั นนทบรุ ี

8 อิทธพิ ลของปจ จยั แรงจงู ใจตอการเปน ผูประกอบการของนสิ ติ ปริญญาตรี ผศ.พนดิ า วชั ระรงั ษี

9 แบบจำลองการพฒั นาทกั ษะของประชากรในชุมชนทจี่ ำเปน ตอ การพัฒนาเมอื งอจั ฉริยะสำหรับรองรบั รศ.ดร.ดวงตา สราญรมย การเขา สูสังคมผสู ูงอายุ

10 ปจจยั เชิงสาเหตุที่มีอทิ ธพิ ลตอ การพฒั นาศักยภาพการสรางมลู คาเพิม่ ในผลิตภัณฑของผปู ระกอบการ ผศ.ดร.เพยี งเดอื น เกดิ อำแพง ธุรกิจสตารท อัพในพนื้ ท่ีจังหวัดนนทบุรี

11 การจัดเสนทางการทอ งเทยี่ วเชิงอาหาร อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ผศ.วนั ทกิ า หริ ญั เทศ และ ดร.อทุ มุ พร อยสู ขุ

12 การพัฒนาสอ่ื ดิจิทลั เพ่ือการประชาสัมพนั ธการทองเทีย่ วพระอารามหลวงในจังหวดั นนทบรุ ี ดร.สมรศรี คำตรง และ ผศ.พฤกษภ มู ิ ธรี านตุ ร

13 การศกึ ษาการมสี ว นรว มของชุมชนดา นการทองเทีย่ วในชุมชนทอ งเทยี่ วยานเมอื งเกา จังหวดั ภเู ก็ต อาจารยจ ไุ รรตั น ฉมิ พาลี

41University of quality and morality

รายงานประจำป 2564

มหาวิทยาลัยราชพฤกษ

ลำดบั ชอ่ื งานวจิ ยั ผจู ดั ทำงานวจิ ยั อาจารยร าตรญี า ธรี ภทั รต ระกลู 14 ปจ จัยที่มอี ทิ ธิพลตอพฤตกิ รรมการทองเทยี่ วเชิงสุขภาพของนกั ทอ งเท่ยี วกลุมผูสงู อายุชาวไทย ท่เี ดนิ ทางมาทองเที่ยวยังจงั หวัดภเู กต็ อาจารยว นั วสิ าข นอ ยเฉลมิ

15 การรบั รขู อ มลู ทศั นคติ และพฤตกิ รรมทม่ี ตี อ การตดั สนิ ใจทอ งเทย่ี วเชงิ อาหารของนกั ทอ งเทย่ี วชาวไทย อาจารยส เุ ทพ สงิ หฆ าฬะ ในจงั หวัดภูเกต็ ผศ.ดร.ณฐั วฒุ ิ วเิ ศษ 16 การฟน ฟกู ารทอ งเทีย่ วอยา งยง่ั ยนื ในชวงการแพรระบาดโรคตดิ ตอเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ผศ.สภุ สั สรา ปญ โญรฐั โรจน ในจงั หวดั ภเู ก็ต ผศ.ดร.ยทุ ธนาท บณุ ยะชยั 17 การพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ยเพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านของพนักงานในธรุ กจิ โลจสิ ติกส 18 ปจ จยั ทส่ี ง ผลตอ การปรบั ตวั การขนสง สนิ คา ของผปู ระกอบการ OTOP ชว งเกดิ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ผศ.ดร.ฉตั ยาพร เสมอใจ ดร.เจณภิ า คงอม่ิ (COVID-19) กรณีศกึ ษา กลุม ผูประกอบการผลติ ภัณฑ OTOP อำเภอบางกรวย จงั หวัดนนทบุรี 19 พฤตกิ รรมและสว นประสมทางการตลาดทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ การตดั สนิ ใจบรโิ ภคอาหารรมิ บาทวถิ ี (Street Food) ผศ.ทวชิ ชยั อรุ จั ฉทั

ในยุค New Normal ของผบู ริโภคในจังหวดั นนทบุรี ผศ.ปฐมาภรณ คำชน่ื 20 ปจ จยั ท่มี ีอิทธิพลตอ ความตงั้ ใจใชบ รกิ ารโรงแรม AI ของนกั ทองเทีย่ วชาวไทย ผศ.สกลพร พบิ ลู ยว งศ 21 รปู ลักษณข องบรรจภุ ณั ฑท่สี ง ผลตอ พฤติกรรมการบรโิ ภคผลติ ภัณฑผลไมอ บแหงของเยาวชน ดร.เพญ็ จนั ทร แสงอาวธุ

ในจังหวดั นนทบุรี ผศ.โสภาพรรณ ไชยพฒั น 22 ความเขา ใจเกย่ี วกบั มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สำหรบั กจิ การทไ่ี มม สี ว นไดเ สยี สาธารณะ (NPAE) อาจารยส มุ าลี แกว เขยี ว ของนกั บญั ชใี นสำนักงานบญั ชี จงั หวัดนนทบุรี อาจารยน ฤมล สทิ ธเิ ดช 23 ความเขา ใจและความตอ งการของผมู เี งนิ ไดใ นจงั หวดั นนทบรุ ตี อ สทิ ธปิ ระโยชนภ าษเี งนิ ไดบ คุ คลธรรมดา ผศ.ทศั นยี  ดำเกงิ ศกั ด์ิ 24 ผลกระทบจากการแพรร ะบาดของโรคโควดิ -19 ตอ สำนกั งานบญั ชจี งั หวดั นนทบรุ ี 25 ปจ จยั ดา นองคก ร และการยอมรบั วตั กรรมดา นเทคโนโลยสี ง ผลตอ ประสทิ ธภิ าพการตรวจสอบ ผศ.นนทรี สจั จาธรรม

ระบบสารสนเทศทางการบญั ชขี องสำนกั งานสอบบญั ชใี นเขตจงั หวดั นนทบรุ ี อาจารยส พุ รรษา สงฉมิ 26 การจดั การดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศทส่ี ง ผลตอ การดำเนนิ งานของสำนกั งานบญั ชใี นจงั หวดั ภเู กต็ ในยคุ

New Normal 27 สมรรถนะของนกั บญั ชใี นยคุ ดจิ ทิ ลั เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพสำนกั งานบญั ชี 28 ปจ จยั ทม่ี ผี ลตอ จรยิ ธรรมและคณุ ภาพงานสอบบญั ชขี องผสู อบบญั ชรี บั อนญุ าตในประเทศไทย 29 การเปด รบั ขา วสารเพอ่ื การเรยี นรตู ามอธั ยาศยั และการใชป ระโยชนจ ากการเรยี นรขู องประชาชน

ในพน้ื ทช่ี มุ ชนเมอื ง 30 รปู แบบการพฒั นาความฉลาดทางอารมณข องนสิ ติ สาธารณสขุ ศาสตรใ นสถาบนั อดุ มศกึ ษา

จงั หวดั นนทบรุ ี 31 ความแตกฉานดา นสขุ ภาพทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ สขุ ภาวะของผคู า แผงลอยในเขตกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล

42 มหาวทิ ยาลัยแหงคุณภาพ และคณุ ธรรม

Annual Report 2021

RAJAPRUK UNIVERSITY

ลำดบั ชอ่ื งานวจิ ยั ผจู ดั ทำงานวจิ ยั ผศ.ดร.ปณต นามะวโิ รจน 32 การประเมนิ ประสทิ ธผิ ลการดำเนนิ การคณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ในมติ ดิ า นการสรา งความรอบรู ผศ.ดร.ปณต นามะวโิ รจน ของประชาชนในการปอ งกนั และควบคมุ โรคโควดิ -19 อำเภอบางใหญ จงั หวดั นนทบรุ ี ปง บประมาณ 2565 ผศ.วรรณวมิ ล จงจรวยสกลุ อาจารยร วฒุ ิ เหลา บา นคอ 33 การเปล่ยี นแปลงทางดาน เศรษฐกจิ สงั คม เทคโนโลยีดิจิทัล ความสัมพันธใ นครอบครัวและโรงเรยี น ผศ.พานชิ บวั สำอาง และ กบั สขุ ภาวะดา นจติ ใจของนกั เรยี นโรงเรยี นมธั ยมตอนตน แหง หนง่ึ ในอำเภอบางใหญจ งั หวดั จงั หวดั นนทบรุ ี ผศ.อาภาภรณ ดษิ ฐเลก็ อาจารยพ ทิ กั ษ ลนี าลาด 34 พฤติกรรมการดำเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของนักศึกษา สถาบนั อาชวี ศกึ ษา 35 ความสมั พนั ธร ะหวา งทศั นคตขิ องประชาชนในจงั หวดั นนทบรุ กี บั ความเขา ใจในการบรหิ ารพรรคการเมอื ง อาจารยส ธุ นิ ี จนั ทร ผศ.ดร.เสาวนารถ เลก็ เลอสนิ ธุ ภายใตพ ระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญ วา ดวยพรรคการเมอื ง พ.ศ. 2560 36 กลวธิ ีการเรียนรูภาษาไทยของนักศกึ ษาชาวเวยี ดนาม มหาวิทยาลัยสงั คมศาสตรแ ละมนุษยศาสตร รศ.ดร.โกวทิ ย กงั สนนั ท ดร.ศกั ดา สถาพรวจนา มหาวิทยาลยั แหง ชาติ นครโฮจมิ นิ ห ประเทศเวยี ดนาม ดร.สมนกึ ทองเอย่ี ม 37 รูปแบบพืน้ ท่ีเรียนรทู างวัฒนธรรมการอยรู ว มกนั ของชมุ ชนพทุ ธและชมุ ชนมสุ ลิมในจงั หวดั นนทบรุ ี 38 การพัฒนารปู แบบบทเรียนออนไลนว ชิ าภาษาจีน 1 ปก ารศึกษา 2565 ในระดับอดุ มศึกษา ดร.สกุ ญั ญา สดุ ารารตั น ผศ.ดร.สำเรงิ ออ นสมั พนั ธุ ภายใตส ถานการณแพรร ะบาดของโรค Covid-19 39 บทบาทหนาทท่ี ค่ี าดหวงั กบั บทบาทหนา ท่ที ่ปี ฏบิ ัติจรงิ ของผบู ริหารองคก ารบริหารสวนตำบล รศ.ดร.โกสมุ สายใจ ดร.ชมแข พงษเ จรญิ ในจังหวดั ปทมุ ธานี รศ.ดร.ชลาภรณ สวุ รรณสมั ฤทธ์ิ 40 การปฏิรปู การจดั การสาธารณะแนวใหมในองคก รปกครองสว นทองถ่นิ ประเทศไทย:

กรณีศึกษาองคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ในจงั หวดั นนทบุรี 41 กลยทุ ธการบริหารสถานศกึ ษา สงั กัดโรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดนตามโครงการพระราชดำริ

สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 42 ความตอ งการจำเปน ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาของสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานสงั กดั องคก ารบรหิ าร

สว นจงั หวดั ในเขตพน้ื ทพ่ี ฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออกของประเทศไทยในการพฒั นาธรรมมาภบิ าล ในการบริหารการศึกษา 43 การถอดบทเรียนความสำเร็จของการนำนโยบายสกู ารปฏิบัติดานการเพ่มิ ปรมิ าณผเู รยี นสายอาชพี กรณศี กึ ษาวิทยาลัยการอาชีพปากทอจังหวดั ราชบรุ ี 44 การประเมนิ หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2563) คณะศลิ ปศาสตร มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ 45 ความสัมพนั ธร ะหวา งแรงจงู ใจกับการเปล่ียนแปลงคณุ ภาพของครใู นสถานศกึ ษาสังกัดสำนักงานเขต พนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษานนทบรุ ี 46 การบรหิ ารจดั การแหลงเรยี นรูของผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาในยคุ โควิด-19 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา มัธยมศึกษาจงั หวดั นนทบรุ ี 47 ชุมชนการเรยี นรูออนไลนเ พื่อเสรมิ สรางสมรรถนะดา นการวจิ ัยปฏบิ ตั ิการในชนั้ เรยี น สำหรบั ครูสถานศกึ ษาขนาดเลก็ สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานนทบรุ ี เขต 1

43University of quality and morality

รายงานประจำป 2564

มหาวทิ ยาลัยราชพฤกษ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยประสบความสำเร็จในการเผยแพรงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ โดยสามารถสง

ผลงานวิจัยเขารวมการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ จำนวน 55 เรื่อง โดยในการสงผลงานวิจัยเขารวมดังกลาว มผี ลงานวจิ ยั ทไ่ี ดร บั รางวลั บทความวจิ ยั ยอดเยย่ี ม (Best Paper) จำนวน 3 เรอ่ื ง และรางวลั การนำเสนอบทความวจิ ยั ยอดเยย่ี ม (Best presentation) จำนวน 7 เร่ือง จากจำนวนทัง้ หมด

44 มหาวิทยาลยั แหงคณุ ภาพ และคณุ ธรรม

Annual Report 2021

RAJAPRUK UNIVERSITY

กลยุทธที่ 11 เสรมิ สรา งการพฒั นาดานการทำตำแหนงทางวิชาการในหลากหลายรูปแบบ และมีคณุ วฒุ ทิ างการศึกษาท่สี ูงขนึ้

มหาวทิ ยาลยั ราชพฤกษส ง เสรมิ และพฒั นาคณาจารยใ หด ำรงตำแหนง ทางวชิ าการ โดยจดั ใหม กี ารอบรมการเขยี นตำรา และการวจิ ยั อบรมความรเู กย่ี วกบั การวจิ ยั (ความคาดเคลอ่ื นทพ่ี บในกระบวนการวจิ ยั ) และอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรอ่ื ง เทคนคิ การเขียนบทคัดยอภาษาอังกฤษ (Abstract) รวมถึงมีการใหคำปรึกษาเกี่ยวกับการทำผลงาน เพื่อยื่นผลงานทางวิชาการ เขาสูกระบวนการการขอตำแหนงทางวิชาการ ซึ่งในปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยราชพฤกษ มีผลการดำเนินงานของ มหาวทิ ยาลยั ดงั ตอ ไปนี้

1. ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยราชพฤกษมีอาจารยที่ดำรงตำแหนงทางวิชาการ จำนวน 56.5 คน 2. รอยละของอาจารยที่ดำรงตำแหนงทางวิชาการ เทากับ 45.38 3. คะแนนที่ได เทากับ 3.78 คะแนน

ในปการศึกษา 2564 มีคณาจารยที่ไดรับการแตง ตง้ั ใหด ำรงตำแหนง ทางวชิ าการ (ผศ.) จำนวน 1 คน ไดแ ก