ช ดการสอน ม ศาสตร ทว ปอเมร กาเหน อ

นายยุทธศาสตร์ อนุรักติพันธุ์ ผอ กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในนามประธานที่ปรึกษาบริษัท ชวรักษ์ จำกัด ร่วมกันกับพลเอก​ อรรถนพ ลาภชุ่มศรี​​ ผู้อำนวยการหลักสูตรการบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง (สวปอ.มส.SML) นำทีมคณะนักศึกษาผู้อบรม ​​​​​​หมู่เสือ5 สำหรับ​ผู้บริหาร​ระดับสูง​ (ส​วปอ.มส.SML) รุ่นที่​ 5 ร่วมกันบริจาคเพื่อมูลนิธิรามาธิบดี

ช ดการสอน ม ศาสตร ทว ปอเมร กาเหน อ

พิธีเปิดการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ หลักสูตรผู้กำกับลูกเสือสามัญ ชั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C) รุ่นที่ 5/2566

เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน เวลา 09.30 พล.อ.อ. ภูมิใจ เลขสุนทรากร ผบ.สปท. เป็นประธานพิธีเปิดการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ หลักสูตรผู้กำกับลูกเสือสามัญ ชั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C) รุ่นที่ 5/2566 หลักสูตรการบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5 ของสโมสรลูกเสือวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ในพระบรมราชูปถัมภ์ ระหว่างวันที่ 8 - 10 พฤศจิกายน 2566 ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี

พิธีเปิดการอบรมหลักสูตรการบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง (สวปอ.มส.SML) รุ่นที่ 5

ช ดการสอน ม ศาสตร ทว ปอเมร กาเหน อ

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2566 ที่วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร(วปอ.) พล.อ. ทรงวิทย์ หนุนภักดี ผบ.ทสส./นายกสมาคมวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรมหลักสูตร การบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง (สวปอ.มส. SML) รุ่นที่ 5 ณ หอประชุม วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ผลการปฏิบัติเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

พิธีปฐมนิเทศหลักสูตร​การบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง​ (ส​วปอ.มส.SML) รุ่นที่​ 5

ช ดการสอน ม ศาสตร ทว ปอเมร กาเหน อ

เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม​ 2566 พลเอก​ อรรถนพ ลาภชุ่มศรี​​ ผู้อำนวยการหลักสูตรการบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง​ (ส​วปอ.มส.SML) เป็นประธานในพิธีปฐมนิเทศหลักสูตร​การบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง​ (ส​วปอ.มส.SML) รุ่นที่​ 5 โดย​ สมาคมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร​ในพระบรมราชูปถัมภ์​ ณ​ หอประชุมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร​ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ​ โดยในโอกาสนี้ได้รับเกียรติจากคณะกรรมการวิชาการ​ ที่ปรึกษาวิชาการ​ ที่ปรึกษาหลักสูตร​ และอาจารย์ที่ปรึกษาประจำหมู่ลูกเสือ เข้าร่วมพิธี หลักสูตรการบริหารความมั่นคงสำหรับผู้บริหารระดับสูง​ (สวปอ.มส.SML) เป็นหลักสูตรที่สร้างความรู้​ ความเข้าใจ​ ประสบการณ์​ และทักษะเกี่ยวกับวิทยาการและการบริหารความมั่นคง​ ครอบคลุมทั้งด้านการเมือง​ เศรษฐกิจ​ สังคม​ จิตวิทยา​ การทหาร​ วิทยาศาสตร์​ เทคโนโลยี​ การพลังงาน​ ทรัพยากรธรรมชาติ​ และสิ่งแวดล้อม เพื่อทำให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบและเข้าใจถึงผลประโยชน์แห่งชาติ​ รวมทั้งความสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ​ ตลอดจนแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เข้ารับการศึกษา​ เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ให้ครอบคลุมในทุกมิติ เกิดความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ รวมไปถึงการเสริมสร้างเครือข่ายที่จะมุ่งทำประโยชน์เพื่อสังคมต่อไป

วิ ท ย า ลั ย ป้ อ ง กั น ร า ช อ า ณ า จั ก ร

าง)

โครงการศกึ ษาและหลักสตู รการศึกษา

สำหรับ นักศึกษาวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร หลกั สูตรการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร (วปอ.) รนุ่ ท่ี ๖๕

ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕–๒๕๖๖

วิสัยทัศน์

วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เป็น DIGITAL และ SMART NDC เพอื่ สรา้ งผู้บริหารระดบั สูง ส่คู วามเปน็ เลิศ ดา้ นยทุ ธศาสตรแ์ ละความมนั่ คงของชาติ

พันธกิจ

วิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร สถาบนั วิชาการป้องกันประเทศ มหี น้าท่ปี ระศาสน์วิทยาการช้ันสูงทเี่ กยี่ วข้องในการป้องกนั ราชอาณาจักร ให้แก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ฝ่ายทหาร ฝา่ ยพลเรอื น พนกั งานรฐั วิสาหกิจ

รวมท้ังผู้บริหารจากภาคเอกชน และภาคการเมอื ง เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ เรอื่ งยุทธศาสตรช์ าติ ตลอดจนตระหนกั ในความรับผิดชอบรว่ มกนั ในการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ และมงุ่ ม่นั ท่จี ะพฒั นาประเทศ

ให้มีความเจริญก้าวหน้าตลอดไป

สารบัญ

เรอื่ ง หน้า

โครงการศกึ ษาและหลักสตู รการศกึ ษา หลักสูตร วปอ.รุ่นท่ี ๖๕ ๑ แผนภูมิแสดงโครงสรา้ งหลักสูตร วปอ. รนุ่ ท่ี ๖๕ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๕-๒๕๖๖ ๒ สรปุ ภาพรวมหลักสตู ร วปอ.รุ่นท่ี ๖๕ ๓ สรปุ รายละเอยี ดหลักสูตร วปอ.ร่นุ ท่ี ๖๕ ๔

ตอนท่ี ๑ ภาคการปฐมนิเทศ ๑๐ ความมงุ่ หมาย ๑๐ ผลลพั ธท์ ต่ี ้องการ ๑๐ ขอบเขตการศึกษา ๑๐ วิธีดำเนินการศกึ ษา ๑๐ การประเมนิ ผล ๑๑ ระยะเวลาการศกึ ษา : ภาคการปฐมนเิ ทศ ๑๑ หัวข้อวชิ าและความมุ่งหมาย/ขอบเขต ๑๒

ตอนท่ี ๒ ภาคการศกึ ษาหลัก ๑๕ ความมุง่ หมาย ๑๕ ขอบเขตการศึกษา ๑๕ วธิ ดี ำเนนิ การศกึ ษา ๑๖ ระยะเวลาการศกึ ษา : ภาคการศึกษาหลัก ๒๔ การสำเร็จการศึกษา ๒๔ วัฒนธรรมองคก์ ร ๒๕

ตอนท่ี ๓ บทเรียนสำหรบั การศึกษาในห้องบรรยายภาคการศกึ ษาหลัก ๒๖ กลุ่มวิชาท่ี ๑ ยุทธศาสตรแ์ ละความมั่นคง ๒๗ หมวดวิชาท่ี ๑ แนวคิดและทฤษฎดี า้ นความมั่นคงและความม่ันคงแห่งชาติ ๒๘ หมวดวชิ าท่ี ๒ การกำหนดยุทธศาสตร์ และองค์ประกอบยุทธศาสตร์ ๓๑

กลุม่ วิชาที่ ๒ สภาวะแวดล้อมโลก และสภาวะแวดล้อมภายในประเทศ ๓๖ หมวดวชิ าที่ ๓ สภาวะแวดล้อมโลกกบั ความมนั่ คงแห่งชาติ ๓๗ หมวดวชิ าท่ี ๔ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมนั่ คงด้านการเมือง ๓๙ หมวดวชิ าท่ี ๕ สภาวะแวดล้อมโลกและความมน่ั คงดา้ นเศรษฐกจิ ๔๒ หมวดวิชาที่ ๖ สภาวะแวดล้อมโลกและความม่ันคงด้านสงั คมจติ วทิ ยา ๕๒

สารบัญ (ต่อ) หนา้

เรือ่ ง ๕๙

หมวดวชิ าที่ ๗ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมั่นคงด้านการทหาร ๖๒ หมวดวชิ าที่ ๘ สภาวะแวดล้อมโลกและความม่ันคงด้านวิทยาศาสตร์ ๖๖

เทคโนโลยีและนวัตกรรม ๖๙ หมวดวิชาที่ ๙ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมนั่ คงดา้ นพลังงาน หมวดวิชาที่ ๑๐ สภาวะแวดล้อมโลกและความมนั่ คงดา้ นทรพั ยากรและ ๗๒ ๗๕ สงิ่ แวดลอ้ ม ๗๖ หมวดวชิ าท่ี ๑๑ สภาวะแวดล้อมโลกและความมน่ั คงดา้ นการบรหิ าร ๗๘ ๗๙ จดั การข้อมูลในยคุ ดิจิทัล ๘๑

กลมุ่ วิชาที่ ๓ ผนู้ ำทางยทุ ธศาสตร์ ๘๔ หมวดวิชาท่ี ๑๒ ผูน้ ำทางยทุ ธศาสตร์ ๘๕ กลุ่มวิชาท่ี ๔ การจัดการภัยพิบัตแิ ละการบรหิ ารในภาวะวกิ ฤต หมวดวชิ าที่ ๑๓ การจัดการภยั พบิ ตั แิ ละการบรหิ ารในภาวะวกิ ฤต หมวดวิชาที่ ๑๔ ภยั จากการสงคราม

ตอนท่ี ๔ ความรับผดิ ชอบการดำเนินการศกึ ษา

จรรยาบรรณในการรกั ษาความลับของวทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

โครงการศึกษาและหลกั สูตรการศึกษา สำหรับนกั ศกึ ษาวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั ร หลักสตู รการป้องกนั ราชอาณาจกั ร (วปอ.) รนุ่ ที่ ๖๕

ประจำปกี ารศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๕–๒๕๖๖

วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจกั ร สถาบนั วิชาการปอ้ งกนั ประเทศ มหี น้าที่ตามท่ีกำหนดไวใ้ น ระเบียบกระทรวงกลาโหม ว่าด้วย วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ พ.ศ.๒๕๔๗ และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๕๗ และ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ.๒๕๕๙ ดงั น้ี

"ประศาสน์วทิ ยาการและวจิ ยั เกย่ี วกับการปอ้ งกนั ราชอาณาจักรใหแ้ ก่ขา้ ราชการทหาร ข้าราชการพลเรือน พนักงานองค์การของรัฐและรัฐวิสาหกิจ รวมท้ังเอกชน และนักการเมือง เพ่ือให้เกิดความเข้าใจในความรับผิดชอบร่วมกันเก่ียวกับการรักษาความม่ันคงแห่งชาติ และเพื่อ ประโยชน์ในการกำหนดนโยบาย การวางแผน และการอำนวยการเก่ียวกับการรักษาความมั่นคง แหง่ ชาติ"

เพ่ือบรรลุผลตามหน้าท่ีที่กำหนดไว้ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ โดยอนุมัติของ สภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จึงกำหนดโครงการศึกษา ประจำปีการศึกษา ๒๕ ๖๕-๒๕๖๖ ไว้เป็นหลักในการดำเนินการจัดการศึกษา สำหรับนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ หลักสูตรการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร (วปอ.) รุ่นท่ี ๖๕ ดงั นี้

หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ ๖๕ แบ่งการศึกษา ออกเป็น ๒ ภาค การศกึ ษา คอื

๑. ภาคการปฐมนเิ ทศ ๒. ภาคการศึกษาหลกั ดังแสดงตามแผนภมู ติ ่อไปนี้

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุน่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕ – กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๒]

หลกั สตู รการป้องกันราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕ – กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศึกษา ฯ

[๓

สรุปภาพรวมหลกั สตู รการป้องกัน

วิธีการศึกษา

ภาคการศกึ ษา กลุ่มวิชา หมวดวิชา หัวข้อวชิ า บรรยาย สัมมนา บรรยาย/ (จำนวน) (จำนวน) (จำนวน) (ชว่ั โมง: (ชัว่ โมง: อภิปราย นาที) นาที) (ชว่ั โมง: นาที)

ภาคการ ๑ - ๔ ๔:๓๐ ๓ ๓ ปฐมนเิ ทศ

ภาคการ ๔ ๑๔ ๖๖ ๑๕ - ๑๓๓:๓๐ ศึกษาหลกั

รวม ๕ ๑๔ ๗๐ ๑๙:๓๐ ๓ ๑๓๖:๓๐

๓]

นราชอาณาจกั ร (วปอ.) รนุ่ ที่ ๖๕

า สมั มนา บรรยาย การจัดทำ การดู ปัจฉมิ เวลารวม พิเศษ ยุทธศาสตรช์ าติ กิจการ นิเทศ ทั้งหมด ถกแถลง ฝึก วชิ าการ (ชั่วโมง: (ชัว่ โมง: (ชวั่ โมง: (ช่ัวโมง: (ช่ัวโมง: (ช่ัวโมง: นาที) นาที) นาที) (ชัว่ โมง: (ช่วั โมง: นาที) นาที) นาที) นาที) นาที)

- ๔๐ - - - ๘๐ - ๑๓๐:๓๐

๒๑ ๑๒ ๔๘ ๒๐ ๗๒ ๒๔๘ ๑๖ ๕๔๕:๓๐ ๒๑ ๕๒ ๔๘ ๒๐ ๗๒ ๓๒๘ ๑๖ ๗๑๖

หลักสูตรการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตุลาคม ๒๕๖๕ – กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๔

สรปุ รายละเอียดหลกั สตู รการป้องกนั ราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นท่ี ๖๕

กลุ่มวิชา หมวดวิชา/ รหัส ผู้รับผดิ ชอบ ภา หัวข้อวิชา ป. ๐๑๐๐๐ กพศ.ฯ กระบวนการศึกษาในวิทยาลัยปอ้ ง ป. ๐๒๐๐๐ กมท.ฯ บทบาทและภารกิจของกองทัพใน รวม ๐๓๐๐๐ กมท.ฯ บทบาทของภาครัฐ เอกชน และกา ป. - ๑ ๐๔๐๐๐ กอส.ฯ การเขียนเอกสารวจิ ยั ส่วนบคุ คล ป. - ๒ ป. - ๓ ๔ ป. - ๔

หมายเหตุ ระหวา่ งภาคปฐมนิเทศมกี จิ กรรมการศึกษาเกย่ี วกบั - การดกู จิ การภาคการปฐมนเิ ทศหนว่ ยงานในกรุงเทพฯ - การดูกจิ การภาคการปฐมนเิ ทศ (ตา่ งจังหวัด) จำนวน ๔๐ - การอบรมลกู เสือระดับผ้นู ำขัน้ ความรูช้ นั้ สงู จำนวน ๔๐ จำนวน ๔๐

๔]

ชอื่ วิชา เวลาเรยี น วธิ ีการศกึ ษา (ช่วั โมง:นาที) าคการปฐมนเิ ทศ ๑:๓๐ บรรยาย งกันราชอาณาจักร ๑:๓๐ บรรยาย นการรักษาความม่นั คงแหง่ ชาติ ๑:๓๐ บรรยาย ารเมืองในการรกั ษาความมนั่ คงแหง่ ชาติ อภิปราย/สัมมนา ๖

๑๐:๓๐

๐ ชัว่ โมง ๐ ชวั่ โมง ๐ ชว่ั โมง

หลกั สูตรการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตุลาคม ๒๕๖๕ – กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๕

กล่มุ วิชา หมวดวิชา/ รหัส ผูร้ ับผดิ ชอบ ก.๑ หวั ข้อวิชา ภาค ก.๒ ม.๑ ๑-๑ แนวคิดและทฤษฏีของยุทธศาสตรแ์ ละความมน่ั คง ๑-๒ ๑๐๑๐๑ กยศ.ฯ ประวตั ิ แนวคดิ ทฤษฎี และตัวแ ๑-๓ ๑๐๑๐๒ กยศ.ฯ แนวคดิ ทฤษฎีด้านความมั่นคงแ ๑-๔ ๑๐๑๐๓ กยศ.ฯ แนวคดิ ทฤษฎี อนาคตศึกษา ม.๒ ๑๐๑๐๔ กยศ.ฯ พลังอำนาจแหง่ ชาติ ๒-๑ ๒-๒ การกำหนดยทุ ธศาสตร์และองคป์ ระกอบยุทธศาสตร์ ๒-๓ ๑๐๒๐๑ กยศ.ฯ การตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มทาง ๑๐๒๐๒ กยศ.ฯ ขอ้ พิจารณาการตรวจสอบสภาพ ๒-๔ ๑๐๒๐๓ กยศ.ฯ การกำหนดการกำหนดส่วนเป้าห

๒-๕ และการกำหนดผลประโยชนแ์ ห่ง ๒-๖ ๑๐๒๐๔ กยศ.ฯ ขอ้ พิจารณาการกำหนดสว่ นเปา้ ห

๒–๗ และการกำหนดผลประโยชนแ์ หง่ ม.๓ ๑๐๒๐๕ กยศ.ฯ ยทุ ธศาสตรช์ าติของประเทศต่าง ๓-๑ ๑๐๒๐๖ กยศ.ฯ ยทุ ธศาสตร์ชาติของประเทศไทย ๓-๒ การตรวจสอบ ตดิ ตาม และการ ๑๐๒๐๗ กยศ.ฯ หลักการ แนวคดิ โครงสรา้ งยุทธ

สภาวะแวดล้อมโลกกับความม่นั คงแห่งชาติ ๒๐๓๐๑ กมท.ฯ บรบิ ททศิ ทางและแนวโนม้ การเป ๒๐๓๐๒ กมท.ฯ ข้อพิจารณาดา้ นต่างๆ ต่อความม

๕]

ช่อื วิชา เวลาเรียน วิธีการศึกษา (ช่วั โมง: คการศกึ ษาหลกั นาที)

แบบยทุ ธศาสตร์ ๓ บรรยาย/อภิปราย และนโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ ๓ บรรยาย/อภิปราย ๓ บรรยาย/อภิปราย ๓ บรรยาย/อภิปราย

งยทุ ธศาสตร์ ๓ บรรยาย/อภปิ ราย

พแวดลอ้ มทางยุทธศาสตร์ ๓ ถกแถลง

หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ ๓ บรรยาย/อภิปราย

งชาติ

หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติ ๓ ถกแถลง

งชาติ

ๆ ๓ บรรยาย/อภปิ ราย

ย (กรอบแนวคิด แนวทางการขับเคล่ือน ๓ บรรยาย/อภิปราย

รประเมนิ ผลลพั ธ์)

ธศาสตร์และแนวทางการขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ ๓ บรรยาย/อภปิ ราย

ปล่ียนแปลงของโลก ๓ บรรยาย/อภิปราย ม่นั คงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง

หลกั สูตรการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕ – กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๖

กลุ่มวิชา หมวดวิชา/ รหสั ผู้รบั ผดิ ชอบ ก.๒ หัวข้อวิชา ภาค ม.๔ ๔-๑ สภาวะแวดล้อมโลกและความม่นั คงดา้ นการเมอื ง ๔-๒ ๒๐๔๐๑ กมท.ฯ สภาวะแวดลอ้ มโลกดา้ นการเมือง ๔-๓ ๒๐๔๐๒ กมท.ฯ สภาวะแวดลอ้ มภายในประเทศด ๔-๔ ๒๐๔๐๓ กมท.ฯ ข้อพจิ ารณาด้านการเมืองระหวา่ ๔-๕ ๒๐๔๐๔ กมท.ฯ ขอ้ พิจารณาด้านการเมืองภายใน ม.๕ ๒๐๔๐๕ กมท.ฯ การปกครองในระบอบประชาธปิ ๕-๑ สภาวะแวดล้อมโลกและความมัน่ คงด้านเศรษฐกจิ ๕-๒ ๒๐๕๐๑ กศส.ฯ เศรษฐกจิ โลก เศรษฐกจิ ภมู ิภาคก ๕-๓ ๒๐๕๐๒ กศส.ฯ กระแสโลกการค้าและการลงทุนใน ๕-๔ ๒๐๕๐๓ กศส.ฯ ศักยภาพและความสามารถในการ ๕-๕ ๒๐๕๐๔ กศส.ฯ การบรหิ ารนโยบายเศรษฐกิจกบั ก ๕-๖ ๒๐๕๐๕ กศส.ฯ โครงสร้างและการบริหารการเงิน ๕-๗ ๒๐๕๐๖ กศส.ฯ การจดั การความเสย่ี งจากวิกฤตเ ๕-๘ ๒๐๕๐๗ กศส.ฯ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจของรฐั ๕-๙ ๒๐๕๐๘ กศส.ฯ ตลาดเงิน ตลาดทุน และนวตั กรร ๕ - ๑๐ ๒๐๕๐๙ กศส.ฯ โครงสรา้ งพ้ืนฐานและโลจิสตกิ สก์ ับ ม.๖ ๒๐๕๑๐ กศส.ฯ ขอ้ พิจารณาด้านเศรษฐกิจตอ่ ความ ๖-๑ สภาวะแวดล้อมโลกและความมั่นคงดา้ นสงั คมจิตวิทยา ๒๐๖๐๑ กศส.ฯ สภาพสังคมโลกและภูมิภาคที่มีผลก

๖]

ชื่อวิชา เวลาเรียน วิธกี ารศกึ ษา (ชัว่ โมง: คการศกึ ษาหลัก นาที)

ง ๓ บรรยาย/อภิปราย ดา้ นการเมือง ๓ บรรยาย/อภปิ ราย างประเทศต่อความมน่ั คงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง นประเทศตอ่ ความมน่ั คงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง ปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๓ บรรยาย/อภิปราย

กบั ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ไทย ๓ บรรยาย/อภิปราย นบรบิ ทการเปลี่ยนแปลงปัจจบุ นั ๓ บรรยาย/อภปิ ราย รแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ๑:๓๐ บรรยาย การขับเคลือ่ นประเทศไทย ๑:๓๐ บรรยาย นและการคลงั ของประเทศไทย ๑:๓๐ บรรยาย เศรษฐกจิ ๑:๓๐ บรรยาย ฐกับเอกชน ๑:๓๐ บรรยาย รมทางการเงนิ ในยุคดจิ ิทลั ๓ บรรยาย/อภิปราย บการพฒั นาเศรษฐกิจของไทย ๑:๓๐ บรรยาย มม่ันคงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง

กระทบตอ่ สงั คมไทย ๓ บรรยาย/อภปิ ราย

หลกั สูตรการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตุลาคม ๒๕๖๕ – กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๗

กลุ่มวิชา หมวดวิชา/ รหสั ผรู้ ับผดิ ชอบ ก.๒ หัวข้อวิชา ภาค ๖-๒ ๖-๓ ๒๐๖๐๒ กศส.ฯ สภาพสังคมและการเปล่ียนแปลง ๖-๔ ๒๐๖๐๓ กศส.ฯ การพฒั นาสงั คมเพ่อื การพฒั นาป ๖-๕ ๒๐๖๐๔ กศส.ฯ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยเ์ พ่ือเพ ๖-๖ ๒๐๖๐๕ กศส.ฯ สถาบนั หลกั ของชาตกิ ับความมน่ั ๖-๗ ๒๐๖๐๖ กศส.ฯ จิตอาสาพฒั นาชาติไทย ๖-๘ ๒๐๖๐๗ กศส.ฯ สังคมไทยตามแนวปรัชญาของเศ ๖-๙ ๒๐๖๐๘ กศส.ฯ คณุ ธรรม จริยธรรม และวฒั นธรรม ๖ - ๑๐ ๒๐๖๐๙ กศส.ฯ การส่ือสารทางยุทธศาสตร์ ม.๗ ๒๐๖๑๐ กศส.ฯ ขอ้ พิจารณาด้านสังคมจติ วทิ ยาต ๗-๑ ๗-๒ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมนั่ คงดา้ นการทหาร ๗-๓ ๒๐๗๐๑ กมท.ฯ สภาวะแวดล้อมโลกด้านการทหา ๗-๔ ๒๐๗๐๒ กมท.ฯ สภาวะแวดล้อมภายในประเทศด ม.๘ ๒๐๗๐๓ กมท.ฯ แนวคิดการป้องกนั ประเทศ ๘-๑ ๒๐๗๐๔ กมท.ฯ ขอ้ พจิ ารณาดา้ นการทหารต่อควา

๘-๒ สภาวะแวดล้อมโลกและความมนั่ คงด้านวิทยาศาสตร์ เทคโ ๒๐๘๐๑ กวท.ฯ สภาวะแวดล้อมโลกด้านวิทยาศาส

กับความม่ันคงของชาติ ๒๐๘๐๒ กวท.ฯ สภาวะแวดลอ้ มภายในประเทศ ด

กบั ความม่นั คงของชาติ

๗]

ชอ่ื วิชา เวลาเรยี น วิธีการศกึ ษา (ชว่ั โมง: คการศกึ ษาหลัก นาที) บรรยาย/อภปิ ราย บรรยาย/อภปิ ราย งทางสงั คมของประเทศไทย ๓ บรรยาย/อภิปราย ประเทศที่ยัง่ ยืน ๓ บรรยาย/อภิปราย พ่ิมความสามารถในการแข่งขัน ๓ นคงแห่งชาติ ๓ บรรยาย ๓ บรรยาย ศรษฐกิจพอเพียงในกระแสโลกาภวิ ัตน์ ๑:๓๐ บรรยาย/อภิปราย มท่ดี ี สู่การสร้างสงั คมแห่งความสขุ และมธี รรมาภิบาล ๑:๓๐ บรรยาย/อภิปราย ๓ ถกแถลง ตอ่ ความมนั่ คงแห่งชาติ ๑:๓๐

าร ๓ บรรยาย/อภปิ ราย ดา้ นการทหาร ๓ บรรยาย/อภปิ ราย ๓ บรรยาย/อภปิ ราย ามม่นั คงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง โนโลยี และนวตั กรรม สตร์ เทคโนโลยี วจิ ัยและนวัตกรรม ๓ บรรยาย/ อภปิ ราย

ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม ๑:๓๐ บรรยาย/ อภปิ ราย

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตุลาคม ๒๕๖๕ – กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๘

กลุ่มวิชา หมวดวิชา/ รหัส ผรู้ บั ผิดชอบ ก.๒ หวั ข้อวิชา ภาค ๘-๓ ๘-๔ ๒๐๘๐๓ กวท.ฯ นวตั กรรมวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโน ๒๐๘๐๔ กวท.ฯ ข้อพิจารณาด้านวทิ ยาศาสตร์ เท ม.๙ ๙-๑ แหง่ ชาติ ๙-๒ สภาวะแวดล้อมโลกและความมนั่ คงดา้ นพลังงาน ๙-๓ ๒๐๙๐๑ กวท.ฯ โครงสรา้ งพ้นื ฐานสำคัญด้านพลัง ๙-๔ ๒๐๙๐๒ กวท.ฯ สภาวะแวดล้อมโลกและภายในป ม.๑๐ ๒๐๙๐๓ กวท.ฯ ทศิ ทางการพัฒนาและนวัตกรรม ๑๐ - ๑ ๒๐๙๐๔ กวท.ฯ ข้อพจิ ารณาดา้ นพลังงานตอ่ ความ ๑๐ - ๒ ๑๐ - ๓ สภาวะแวดล้อมโลกและความมั่นคงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาต ๑๐ - ๔ ๒๐๑๐๐๑ กวท.ฯ สภาวะแวดล้อมโลกดา้ นทรัพยาก ๒๐๑๐๐๒ กวท.ฯ สภาวะแวดลอ้ มภายในประเทศดา้ น ม.๑๑ ๒๐๑๐๐๓ กวท.ฯ แนวทางการพัฒนาทรัพยากรธรร ๑๑ - ๑ ๒๐๑๐๐๔ กวท.ฯ ข้อพจิ ารณาการบริหารจดั การด้านท ๑๑ - ๒ ๑๑ - ๓ ความม่ันคงแห่งชาติอย่างย่งั ยนื ๑๑ - ๔ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมัน่ คงดา้ นการบรหิ ารจัดการข ๒๐๑๑๐๑ กวท.ฯ สภาวะแวดลอ้ มโลกด้านการบรหิ ๒๐๑๑๐๒ กวท.ฯ สภาวะแวดลอ้ มภายในประเทศด ๒๐๑๑๐๓ กวท.ฯ การรักษาความมั่นคงปลอดภยั ทา ๒๐๑๑๐๔ กวท.ฯ ข้อพจิ ารณาด้านการบรหิ ารจัดกา

๘]

ชอ่ื วิชา เวลาเรยี น วธิ กี ารศึกษา (ชั่วโมง: คการศึกษาหลัก นาที) บรรยาย ถกแถลง นโลยีเพ่อื การพัฒนาประเทศ ๑:๓๐ ทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรมท่ีมีผลต่อความม่ันคง ๑:๓๐

งงาน ๓ บรรยาย/ อภปิ ราย ประเทศกบั ความมัน่ คงดา้ นพลังงาน ๓ บรรยาย/ อภปิ ราย มของระบบพลังงานต่อความม่นั คง ๓ บรรยาย/อภิปราย มมั่นคงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง

ตแิ ละส่งิ แวดล้อม ๓ บรรยาย/ อภปิ ราย กรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ๓ บรรยาย/ อภิปราย นความมน่ั คงของทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ๑:๓๐ บรรยาย/อภปิ ราย รมชาติอยา่ งยั่งยนื ๑:๓๐ ถกแถลง ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมต่อ ๓ บรรยาย/ อภิปราย ขอ้ มูลในยคุ ดจิ ทิ ลั ๓ บรรยาย/ อภิปราย หารจัดการข้อมูลในยคุ ดิจทิ ัล ๓ บรรยาย/อภปิ ราย ดา้ นการบริหารจดั การข้อมูลในยคุ ดิจิทลั ๑:๓๐ ถกแถลง างไซเบอร์ ารข้อมลู ในยุคดจิ ทิ ลั ที่มีผลตอ่ ความมน่ั คงของชาติ

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕ – กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๙

กลุม่ วิชา หมวดวิชา/ รหัส ผรู้ ับผดิ ชอบ ก.๓ หวั ข้อวิชา ก.๔ ภาค ม.๑๒ รวม ๑๒ - ๑ ผูน้ ำทางยทุ ธศาสตร์ ๑๒ - ๒ ๓๐๑๒๐๑ กยศ.ฯ แนวคดิ ทฤษฎีสำหรับผู้นำทางยทุ ม.๑๓ ๓๐๑๒๐๒ กยศ.ฯ ประสบการณ์การเป็นผู้นำทางยุท ๑๓ - ๑ การจัดการภัยพบิ ัติและการบรหิ ารในภาวะวิกฤต ๑๓ - ๒ ๔๐๑๓๐๑ กมท.ฯ การบริหารจดั การภยั พิบัติของชา ม.๑๔ ๔๐๑๓๐๒ กมท.ฯ ประสบการณ์การแก้ไขปัญหาภยั ๑๔ - ๑ ภยั จากการสงคราม ๔๐๑๔๐๑ กมท.ฯ แนวคดิ ทฤษฎีของนกั คิด/นกั การ ๑๔ - ๒ ๑๔ - ๓ ทางทหารในศตวรรษท่ี ๒๑ ๔๐๑๔๐๒ กมท.ฯ การพัฒนาทางทหารในศตวรรษท ๑๔ - ๔ ๔๐๑๔๐๓ กมท.ฯ แนวคดิ ทฤษฎี ระบบกฎหมาย ก

๑๔ งานด้านความมั่นคงและการป้อง ๔๐๑๔๐๔ กมท.ฯ การฝึกแก้ปัญหาสถานการณว์ ิกฤ

๖๖

หมายเหตุ ระหวา่ งภาคการศึกษาหลักมีกจิ กรรมการศกึ ษาเกย่ี วกบั จำนวน ๗ - การจัดทำยทุ ธศาสตรช์ าติ จำนวน ๒๔ - การเดนิ ทางดูกจิ การและศึกษาภูมปิ ระเทศภายในประเทศ

๙]

ชอ่ื วิชา เวลาเรียน วธิ ีการศกึ ษา (ชัว่ โมง: คการศกึ ษาหลกั นาที)

ทธศาสตร์ ๖ บรรยาย/อภิปราย ทธศาสตร์ ๖ บรรยาย/อภิปราย

าติและการบริหารในภาวะวิกฤต ๓ บรรยาย/อภิปราย ยพิบัติและการบริหารในภาวะวิกฤต ๓ บรรยาย/อภปิ ราย

รทหารในอดีตทสี่ ำคญั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการปฏิบตั ิการ ๓ บรรยาย/อภิปราย

ท่ี ๒๑ ๓ บรรยาย/อภิปราย กฎ ระเบียบ และข้อบังคบั ทีเ่ กย่ี วข้องกับ ๓ บรรยาย/อภปิ ราย งกันประเทศ ฤตระดบั ชาติ (NDCEx) ๑๒ ฝึก

๑๖๘:๓๐

๗๒ ช่ัวโมง ๔๘ ช่ัวโมง

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕ – กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

ตอนที่ ๑ ภาคการปฐมนิเทศ

Orientation

ความมุ่งหมาย

เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงกระบวนการศึกษาในวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ เสริมสร้าง ความรู้ ความเข้าใจในบทบาทของกองทัพ ภาครัฐ เอกชน และภาคการเมืองในการรักษาความม่ันคง แห่งชาติ ตลอดจนเสริมสรา้ งความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งนักศึกษาและคณาจารย์

ผลลัพธ์ท่ตี อ้ งการ

นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการศึกษาของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ รวมทั้งบทบาทของกองทัพ ภาครัฐ เอกชน และภาคการเมือง ต่อการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ ตลอดจนมีความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน สามารถประสานงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ มีความพรอ้ มต่อการศึกษาในภาคการศึกษาหลัก

ขอบเขตการศกึ ษา

เพื่อที่จะให้บรรลุความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา จึงจัดให้นักศึกษาได้รับ ความรเู้ กีย่ วกบั เรือ่ งต่าง ๆ ดงั นี้

๑. กระบวนการศึกษาในวทิ ยาลัยปอ้ งกันราชอาณาจักรฯ ๒. บทบาทและภารกจิ ของกองทัพในการรกั ษาความมั่นคงแหง่ ชาติ ๓. บทบาทของภาครฐั และเอกชนในการรักษาความมน่ั คงแหง่ ชาติ ๔. พนื้ ฐานเบอ้ื งต้นการทำเอกสารวจิ ยั ส่วนบุคคล ๕. กิจกรรมลูกเสอื และการเสริมสร้างภาวะ ตลอดจนประสบการณ์ผู้นำ

วธิ ีดำเนินการศึกษา

เพ่ือให้การศึกษาในภาคการปฐมนิเทศได้ผลตามความมุ่งหมายและขอบเขตที่กำหนดไว้ วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ จงึ กำหนดวธิ ดี ำเนินการศึกษา ดังน้ี

๑. การบรรยาย เป็นวิธีการให้ความรู้โดยตรงในหัวข้อวิชาต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ท้ังนี้จะพิจารณาผู้บรรยายจากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์ หรือผู้ท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบ โดยตรงในกิจการนั้น ๆ จากส่วนราชการต่าง ๆ และหน่วยงานภาคเอกชน รวมท้ังผู้บรรยายของ วทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั รฯ

๒. การอ่านเอกสารประกอบบทเรียน ได้แก่ คำบรรยาย เอกสารประกอบการบรรยาย และเอกสารซ่ึงผู้บรรยาย หรือ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ เสนอแนะให้ใช้เป็นเอกสาร อ่านประกอบ เพื่อเพ่ิมพนู ความรูใ้ หก้ วา้ งขวางยิง่ ขนึ้ เนอ่ื งจากเวลาในการบรรยายมจี ำกดั

หลักสตู รการป้องกนั ราชอาณาจกั ร ร่นุ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕ – กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๑๑]

๓. การดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ สำหรับภาคการปฐมนิเทศ เป็นการดูกิจการ หน่วยงานทหาร ตำรวจ ข้าราชการพลเรือน และภาคเอกชน ท่ีมีความสำคัญต่อความมั่นคงของชาติ ในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เป็นเวลา ๕ วัน ในลักษณะไปเช้าเย็นกลับ อาทิ กองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ กระทรวงต่าง ๆ ธนาคารแห่งประเทศไทย อนุสรณ์สถาน แห่งชาติ และศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและความมั่นคง ศูนย์บัญชาการ ทางทหารกองบัญชาการกองทัพไทย เป็นต้น เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในบทบาท หน้าท่ี ของหน่วยงานต่าง ๆ บางหน่วยงานอาจไปท้ังคณะ บางหน่วยงานอาจแบ่งตามกลุ่มอาชีพ เช่น ทหาร ตำรวจ ไปดูกิจการหน่วยงานของข้าราชการพลเรือน/ภาคเอกชน ขณะเดียวกัน ข้าราชการพลเรือน/ ภาคเอกชน ไปดกู จิ การหนว่ ยงานของทหาร ตำรวจ ซงึ่ หลงั จากการดูกจิ การภาคการปฐมนิเทศนักศึกษา จะมีความพรอ้ มทจ่ี ะศึกษาในภาคการศกึ ษาหลักตอ่ ไป

๔. การฝึกอบรมลูกเสือระดับผู้นำขั้นความรู้ชั้นสูง เป็นวิธีการศึกษาที่จัดเสริมข้ึน เพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรยี นรู้และมีประสบการณ์ตรงในกิจกรรมของลูกเสือ และเพ่ือให้เกิด ความสมัครสมานสามัคครี ะหว่างกันอย่างใกล้ชดิ

การประเมินผล

นักศึกษาทุกกลุ่มตามหมู่ลูกเสือจัดทำสรุปเนื้อหาวิชาการศึกษาทั้งหมด ๔ หัวข้อวิชา ที่ได้ศึกษามาแล้ว โดยรวมการศึกษาดูกิจการและการฝึกอบรมลูกเสือหรือกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีอยู่ในการศึกษา หลักสูตรการปฐมนิเทศ และนำเสนอเรื่องท่ีได้รับการศึกษา ปัญหาข้อขัดข้อง รวมทั้งแนวทางแก้ไขให้กับ วปอ.ฯ ตามเวลาท่ี วปอ.ฯ กำหนด และจัดทำเป็นเอกสารส่ง กองการเมืองและการทหาร สำนักวทิ ยาการ ความมน่ั คง วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั รฯ (กมท.สวม.วปอ.สปท.) จำนวนกลมุ่ ละ ๓ ชุด

ระยะเวลาการศึกษา : ภาคการปฐมนเิ ทศ

๑. ใช้เวลาศึกษาประมาณ ๘ สัปดาห์ ระหว่างเดือนตุลาคม ๒๕๖๕ และเสร็จสิ้นก่อน เร่ิมภาคการศกึ ษาหลกั ในเดือนธนั วาคม ๒๕๖๕

๒. การศึกษาในห้องบรรยายใช้เวลาประมาณ ๑๐:๓๐ ชั่วโมง กำหนดการศึกษาในวัน จนั ทร์–วนั ศกุ ร์ ระหว่างเวลา ๐๘๐๐-๑๒๐๐ หากมีการเปล่ยี นแปลงจะแจ้งให้ทราบล่วงหน้า

๓. การดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ ใช้เวลาประมาณ ๑๐ วัน แบ่งเป็นใน กทม.ฯ ๕ วัน และต่างจงั หวดั ๕ วัน ระหวา่ งวนั จันทร์–วันศุกร์

๔. การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือระดับผู้นำขั้นความรู้ชั้นสูง ใช้เวลาเข้าร่วมการ ฝึกอบรม ๕ วัน ระหว่างวันจันทร์–วันศุกร์ โดยสำนักงานลูกเสือแห่งชาติจะเป็นผู้กำหนดรายละเอียด การปฏบิ ัติต่อไป

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุน่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๑๒]

หวั ข้อวิชา และความมุง่ หมาย / ขอบเขต

ภาคการปฐมนเิ ทศ ประกอบดว้ ย ๔ หวั ข้อวิชา ได้แก่

หมวด กอง เวลาเรียน วธิ ีการศกึ ษา

วชิ า/ รหัส รับผิดชอบ ชือ่ วิชา (ชว่ั โมง บรรยาย บรรยาย หวั ข้อวิชา :นาที) บรรยาย

ป. ภาคการปฐมนิเทศ อภิปราย เป็นคณะ ป. - ๑ ๐๑๐๐๐ กพศ.ฯ กระบวนการศึกษาในวิทยาลัย ๑:๓๐ สมั มนาเชงิ ปอ้ งกันราชอาณาจักร ปฏิบตั ิการ

ป. – ๒ ๐๒๐๐๐ กมท.ฯ บทบาทและภารกจิ ของกองทัพ ๑:๓๐ ในการรักษาความมน่ั คงแหง่ ชาติ

ป. – ๓ ๐๓๐๐๐ กมท.ฯ บทบาทของภาครฐั เอกชน และ

การเมืองในการรกั ษาความ ๑:๓๐

มนั่ คงแหง่ ชาติ

ป. – ๔ ๐๔๐๐๐ กอส.ฯ การเขียนเอกสารวิจัย

ส่วนบคุ คล

- การเขียนเอกสารวจิ ัยโดย ๓

ผู้ทรงคุณวุฒิ

- การเขยี นเอกสารวิจัย ๓

สว่ นบุคคลแตล่ ะลักษณะวชิ า

หมายเหตุ : ระหว่างภาคปฐมนิเทศมีกจิ กรรมการศึกษาเก่ยี วกับ จำนวน ๕ วัน รวม ๔๐ ชว่ั โมง - ดูกิจการภาคการปฐมนเิ ทศ หน่วยงานในกรุงเทพฯ จำนวน ๕ วัน รวม ๔๐ ชวั่ โมง - ดูกิจการภาคการปฐมนิเทศหน่วยทหาร (ตา่ งจังหวดั ) จำนวน ๕ วนั รวม ๔๐ ชวั่ โมง - การอบรมลกู เสือระดับผ้นู ำขน้ั ความรูช้ ้นั สงู

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๑๓]

วิชา ป. – ๑ กระบวนการศกึ ษาในวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั รฯ NDC Course and Educational Procedures รหสั เวลา ๐๑๐๐๐ วธิ ีศึกษา ความมุ่งหมาย ๑ ชัว่ โมง ๓๐ นาที

ขอบเขต บรรยาย

เพ่ือให้นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรได้ทราบถึงกระบวนการจัดการศึกษาของ วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักรฯ ตลอดจนการปฏิบัตติ นในระหวา่ งการเขา้ รับการศึกษา

โครงการและหลักสูตรสำหรับนักศึกษาหลักสูตรการป้องกันราชอาณ าจักร การดำเนินการศกึ ษาทค่ี วรทราบ และการปฏบิ ัตติ นระหว่างเข้ารับการศึกษา

วิชา ป. – ๒ บทบาทและภารกจิ ของกองทพั ในการรกั ษาความมน่ั คงแหง่ ชาติ Role of The Thai Royal Armed Forces in National Security รหสั เวลา ๐๒๐๐๐ วธิ ีศกึ ษา ๑ ช่วั โมง ๓๐ นาที ความมุ่งหมาย บรรยาย/ดูกิจการ : กองบญั ชาการกองทัพไทย ขอบเขต เพื่อศึกษานโยบายและบทบาทของกองทัพไทยในการรักษาความมน่ั คงแหง่ ชาติ

ประวัตคิ วามเป็นมา พฒั นาการของนโยบายและบทบาทของกองทัพไทยในการ รักษาความม่ันคงแห่งชาติ ตง้ั แต่อดีตจนถึงปจั จุบนั

วิชา ป. – ๓ บทบาทของภาครฐั เอกชน และการเมอื งในการรักษาความมน่ั คงแหง่ ชาติ Role of Government, Private and Political Sector in National รหสั Security เวลา วธิ ศี ึกษา ๐๓๐๐๐ ความมุ่งหมาย ๑ ชั่วโมง ๓๐ นาที

บรรยาย (ผบู้ รรยาย : นายกรฐั มนตรี บรรยายในวนั พธิ ีเปดิ การศึกษา)

เพ่ือศึกษานโยบาย และบทบาทของรฐั บาล ภาคเอกชน และภาคการเมอื ง

ขอบเขต นโยบายและบทบาทของรัฐบาล ภาคเอกชน และภาคการเมือง ในการรักษาความม่ันคง แห่งชาติทุกด้าน ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ข้อมูลข่าวสาร และ นวตั กรรม

หลักสตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๑๔]

วชิ า ป. – ๔ การเขยี นเอกสารวิจยั ส่วนบุคคล Individual Research Paper รหสั เวลา ๐๔๐๐๐ วธิ ศี กึ ษา ความมุ่งหมาย ๖ ชั่วโมง

ขอบเขต อภปิ รายเปน็ คณะ และสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ าร

เพ่ือให้มีความรู้และความเข้าใจเรื่อง แนวคิด หลักการ และกระบวนการวิจัย สามารถ นำมาใช้ในการเขียนเอกสารวจิ ัยส่วนบคุ คลไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม

หลักการทำวิจัยท้ังในเชิงทฤษฎีและการปฏิบตั ิ ได้แก่ กระบวนการทำวิจัย ประเภทของ การวิจัย ระเบียบวิธีดำเนินการวิจัย การเลือกหัวข้อวิจัย การออกแบบการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย และจรรยาบรรณนักวิจัย นวัตกรรม การวิจัย แนวคิดในการเขียนเอกสารวิจัยส่วนบุคคลให้สอดคล้องกับประเด็นสำคัญทาง ยทุ ธศาสตรแ์ ละความมนั่ คงแห่งชาติ

หลักสตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๑๕]

ตอนท่ี ๒ ภาคการศกึ ษาหลัก Main Course Syllabus

ความมงุ่ หมาย

๑. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และฝึกฝนให้เกิดทักษะในการคิด วิเคราะห์ และการตกลงใจ ในการเป็นผู้นำทางยุทธศาสตร์ รวมถึงการแสดงออกถึงภาวะผู้นำในระหว่างการเข้ารับการศึกษา ตลอดหลักสตู ร

๒. เพ่ือให้ทราบและเข้าใจถึงแนวความคิดในการกำหนดผลประโยชน์แห่งชาติและ วตั ถุประสงค์แหง่ ชาติ รวมทั้งกระบวนการพฒั นายุทธศาสตรช์ าติ และการพัฒนายทุ ธศาสตร์ความมั่นคง แหง่ ชาติ ตลอดจนการแก้ไขปรบั ปรงุ ยุทธศาสตรช์ าติ

๓. ศึกษาสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และข้อมูล ข่าวสาร เพ่ือเป็นข้อมูลพ้ืนฐานประกอบการจัดทำและแก้ไขปรับปรุงยุทธศาสตร์ชาติ ตลอดจน พลงั อำนาจแหง่ ชาติใหม่ (DIME)

๔. ศึกษา บทบาท หน้าที่ และแนวนโยบายของภาครัฐ ในการจัดการปัญหาวิกฤต ในระดับชาติทเ่ี กิดจากสาธารณะภยั และภยั จากการสงคราม

๕. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจและความรับผิดชอบต่อสังคม และสามารถสร้างผลผลิต กิจกรรม และโครงการเพ่ือสงั คม

๖. เพื่อปลูกจิตสำนึกการมีส่วนร่วมในการรักษาความม่ันคงแห่งชาติ และขับเคลื่อน ยทุ ธศาสตรช์ าติ

๗. เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างนักศึกษาจากทุกภาคส่วน อันจะอำนวย ประโยชน์ในการประสานงานระหว่างกัน เพ่อื การพฒั นาประเทศด้านตา่ งๆ ตอ่ ไป

ขอบเขตการศึกษา

เพ่ือให้การศึกษาในหลักสูตรน้ีเป็นไปตามความมุ่งหมายท่ีกำหนดไว้ นักศึกษาฯ จะต้อง ทำการศึกษาวทิ ยาการต่าง ๆ ตามขอบเขตการศึกษา ท่กี ำหนด ดังนี้

๑. คุณลักษณะ ทักษะของผู้บริหารระดับยุทธศาสตร์ แนวทางในการคิด วิเคราะห์ และ ตกลงใจระดบั ยุทธศาสตร์

๒. แนวคดิ ทฤษฎีดา้ นความม่ันคง แนวคิดทฤษฎีดา้ นยทุ ธศาสตร์ โครงสรา้ งยุทธศาสตรช์ าติ กระบวนการพัฒนายทุ ธศาสตรช์ าติ และยทุ ธศาสตร์ความม่ันคงแห่งชาติ

๓ . สถานการณ์ ท่ัวไปท้ังภายในและภายนอกประเทศ ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลข่าวสาร และนวัตกรรม อันจะมีผลกระทบต่อความม่ันคงของชาติ ตลอดจนพลังอำนาจแห่งชาติ ในศตวรรษที่ ๒๑ (DIME)

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๑๖]

๔. การเมืองระหว่างประเทศและในประเทศกบั ความมั่นคงแห่งชาติ กลุ่มประเทศ องค์กร ระหว่างประเทศ และประเทศต่าง ๆ ในประชาคมโลก ความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ การบริหารจัดการ ของส่วนราชการในประเทศ วิเคราะห์และประเมินผลกระทบต่อการดำเนนิ นโยบายความมั่นคงแหง่ ชาติ ของประเทศไทย

๕. การเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ แนวโน้มภาวะแวดล้อมโลกด้านเศรษฐกิจ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การพัฒนาระบบการเงินและการคลังของโลกและของไทย วิกฤตเศรษฐกิจ ความร่วมมือของรัฐกับเอกชน ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ โครงสร้าง พื้นฐานของไทย การบริหารเศรษฐกิจแบบองค์รวม วิเคราะห์และประเมินผลกระทบต่อการดำเนิน นโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศไทย

๖. สังคมจิตวิทยากับความมั่นคงแห่งชาติ สภาพสังคมโลกและภูมิภาคที่มีผลกระทบต่อ สังคมไทย ประชากรกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม การศึกษาเพื่ออนาคต คอรัปช่ันและระบบอุปถัมภ์ อาชญากรรมทางสังคมยุคใหม่ อิทธิพลของส่ือมวลชน ประวัติศาสตร์ ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย์ กับความม่ันคงของชาติ วิเคราะห์และประเมินผลกระทบต่อการดำเนินนโยบายด้านสังคมจิตวิทยาของ ประเทศไทย

๗. การใช้กำลังอำนาจแห่งชาติด้านการทหาร บทบาทและขีดความสามารถของ กองทัพไทย ทีจ่ ำเป็นในการดำเนินนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ด้านการป้องกันประเทศและการพัฒนา ประเทศ รวมทั้งขีดความสามารถและยุทธศาสตร์ด้านการทหารของต่างชาติที่อาจจะมีผลกระทบต่อ ความม่นั คงแหง่ ชาติ

๘. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ข้อมูล ข่าวสาร และนวัตกรรม กับความมั่นคงแห่งชาติ วิเคราะห์และประเมินผลกระทบต่อ การดำเนิน นโยบายด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลข่าวสาร และนวัตกรรม ของประเทศไทย

๙. การบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤต ภายใต้สาธารณภัยทีเ่ กดิ ขึ้น และภัยจากสงคราม

วิธีดำเนินการศกึ ษา

การศึกษาในวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ มีความมุ่งหมายท่ีจะให้นักศึกษามีความรอบรู้ ความเข้าใจ มีความร่วมมือ มีการประสานงาน และมีประสบการณ์ ในการดำเนินการพัฒนานโยบาย ความม่ันคงแห่งชาติ เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความม่ันคงของชาติ โดยมีวิธี การศึกษาดงั น้ี

การบรรยาย/อภิปราย

การบรรยายตามกำหนดการศึกษา เป็นวิธีการปฏิบัติขั้นพื้นฐานท่ีใช้เพื่อพัฒนา ความเข้าใจในเรื่องต่าง ๆ ตามหัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในแต่ละบทเรียน รวมทั้งจัดให้มีการอภิปราย เป็นคณะ (Panel) เพ่ือให้ได้ความรู้และข้อคิดเห็นท่ีหลากหลายย่ิงขึ้น โดยปกติในแต่ละวันจะมีการ บรรยายระหว่างเวลา ๐๘๐๐-๑๒๐๐ นอกจากการบรรยายดังกล่าวแล้ว วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะเชิญผู้ทรงคุณวุฒิทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศมาบรรยายพิเศษในประเด็นสำคัญ หรือเรื่องที่ สอดคล้องกับสถานการณ์ในขณะนั้น ซึ่งคุณสมบัติผู้บรรยายเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ และประสบการณ์ หรอื ผู้ท่ีมหี น้าท่รี บั ผิดชอบโดยตรงในกจิ การนน้ั ๆ จากสว่ นราชการต่าง ๆ และหนว่ ยงานภาคเอกชน

หลกั สตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศึกษา ฯ

[๑๗]

การอ่านเอกสารประกอบ

เอกสารซ่ึงวิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั รฯ เสนอให้อ่านเพ่ือเปน็ การส่งเสริมให้นักศกึ ษามี ความเข้าใจในเร่ืองที่ศึกษาได้ดีย่ิงขึ้น รวมท้ังยังเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ และเป็นการเตรียมการให้มี ความพร้อมยิ่งขึ้นสำหรับการถกแถลงเป็นคณะ และการแก้ปัญหาเป็นคณะกรรมการ ตลอดจนนำไปใช้ ประโยชนใ์ นการเขยี นเอกสารวจิ ยั ส่วนบุคคลดว้ ย

การศึกษาด้วยตนเอง

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ฯ จะจัดให้นักศึกษาทำการศึกษาด้วยตนเอง โดยกำหนด เร่ือง และ/หรอื เอกสารให้นกั ศึกษาไปทำการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองล่วงหน้า และนำความรู้ความเข้าใจ มาทำการถกแถลงระหว่างนักศึกษาด้วยกัน โดยแบ่งนักศึกษาออกเป็นคณะ และมีผู้ทรงคุณวุฒิหรือ คณาจารย์เป็นที่ปรึกษาประจำคณะ เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตามความมุ่งหมาย และขอบเขตวิชาในห้วงระยะเวลาที่กำหนด รวมถึงการจัดเวลาสำหรับการศึกษา ด้วยตนเอง (เวลา วปอ.) เพือ่ ใหน้ ักศึกษาไดค้ ้นควา้ และจดั ทำเอกสารวิจัยส่วนบคุ คล

การถกแถลง

การถกแถลงเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษา ด้วยบรรยากาศท่ีเป็นกันเอง และมกี ารแลกเปลยี่ นความคิดเห็นกันตามหัวขอ้ เร่อื งท่ีวิทยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั รฯ กำหนดหลังจาก การฟังบรรยายข้อมูลพื้นฐานด้านต่าง ๆ ในหัวข้อวิชาที่กำหนดแล้ว ในการถกแถลงน้ัน เป็นการแยก ถกแถลงโดยจดั นักศึกษาเป็นกลุ่ม นอกจากนักศึกษาจะนำความร้จู ากการบรรยายมาใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการ ถกแถลงแล้ว ยังสามารถนำความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์ของนักศึกษามาประกอบในการ ถกแถลง ผู้ท่ีเป็นประธานของคณะจะต้องชักนำให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักศึกษา ให้มากทส่ี ุด

เมื่อเสร็จส้ินการถกแถลงตามกลมุ่ วิชาท่ี ๒ แล้ว ทุกกลุ่มยทุ ธศาสตร์จะตอ้ งนำเสนอผลการ ถกแถลงให้เพ่ือนในกลุ่ม รวมท้ังอาจารย์ ฟังในห้องเรียน และจัดทำรายงานเป็นเอกสารส่งให้วิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักรฯ (กองวิชาที่รับผิดชอบ) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในกระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ของนกั ศกึ ษาตามขน้ั ตอนต่อไป

การศกึ ษาเฉพาะกรณี

นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เป็นผู้บริหารระดับสูงที่มีประสบการณ์ และ ความรู้ความสามารถหลากหลาย การระดมสมองเพื่อศึกษาเฉพาะกรณี นอกจากจะเป็นการสร้าง องค์ความรู้ใหม่ที่จะต้องนำมาใช้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ตามหลักสูตรการศึกษาแล้ว ยังเป็นข้อมูล สนับสนุนรัฐบาลในการกำหนดนโยบายเฉพาะในกรณีที่เกิดวิกฤตการณ์สำคัญ ท่ีมีผลต่อความม่ันคง แห่งชาติอีกด้วย ดังน้ัน ประเด็นในการศึกษาเฉพาะกรณีสามารถกำหนดขึ้นจากนักศึกษา หรือเป็นไป ตามท่ีวิทยาลัยป้องกันราชาอาณาจักรฯ มอบหมาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมท่ีมีผลต่อประเทศ ในแตล่ ะชว่ งเวลา

การฝกึ แกป้ ญั หาสถานการณ์วกิ ฤตระดบั ชาติ

การฝึกจำลองสถานการณ์ เป็นการฝึกแก้ไขสถานการณ์วิกฤตในระดับชาติ โดยสมมุติให้ ประเทศไทยเผชิญภัยจากการสงคราม โดยการแก้ไขจะยึดถือนโยบายยุทธศาสตร์ในระดับชาติท่ีมีอยู่

หลกั สตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร ร่นุ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๑๘]

เพ่ือให้ผู้รบั การฝึก คือนักศึกษาของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร และคณาจารย์ ร่วมฝึกปฏิบัติหน้าที่ ของผู้บริหารประเทศในระดับชาติ ในเร่ืองการวางแผน และอำนวยการแก้ไขสถานการณ์ รวมถึงการ ประสานงานระหว่างกระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวข้อง กระบวนการตัดสินใจระดับยุทธศาสตร์ โดยนำ หลักการปฏิบัติของแต่ละหน่วยงานมาปฏิบัติ และประยุกต์ใช้ในการแก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ

การฝึกร่วมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยเสนาธิการทหาร วิทยาลยั การทพั บก สถาบันจติ วทิ ยาความมัน่ คง และโรงเรยี นเสนาธิการเหลา่ ทัพ

เป็นการฝึกขยายผลจากการฝึกจำลองสถานการณ์ระดับชาติ โดยใช้สถานการณ์การฝึก ของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ทั้งนี้นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร จะฝึกปฏิบัติหน้าที่เป็น คณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ ตลอดจนหัวหน้าหน่วยงานสำคัญ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ในบทบาทของ กองบัญชาการแห่งชาติ (National Command Authority) เพ่ือแก้ไขวิกฤติการณ์ ระดับชาติ สถานการณ์ภัยจากสงคราม ด้วยการใช้กำลังอำนาจแห่งชาติทุกด้าน ไม่ใช่แค่การใช้กำลังทหาร เพียงอย่างเดียว เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกแล้ว นักศึกษาจะต้องทำรายงานผลการฝึก ประสบการณ์ที่ได้รับ รวมทัง้ ปัญหาข้อขัดข้อง สง่ ให้วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ภายใน ๑ สัปดาห์ หลังเสรจ็ สนิ้ การฝกึ

การสมั มนาวชิ าการ

เพื่อให้นักศึกษาได้แลกเปล่ียนความรูค้ วามคิดเหน็ และประสบการณ์ซ่งึ กันและกัน โดยการ อภิปรายอยา่ งเสรีภายในกลุ่ม อนั จะนำไปสู่ขอ้ สรุปของแนวความคิดท่ีใช้ในการแก้ปัญหา หรอื การเสนอ แนวทางปฏิบัติในเร่ืองท่ีกำหนดให้ ในแต่ละปีการศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณ าจักรฯ จะกำหนดให้นักศึกษาทำการสัมมนาวิชาการไม่น้อยกว่า ๑ คร้ัง เรื่องที่สัมมนาจะกำหนดตาม สถานการณ์และปัญหาสำคัญของชาติ หรอื ตามความประสงค์ของรัฐบาล หน่วยราชการ รวมทั้งเรือ่ งที่ ผู้บังคับบัญชากำหนดให้ เม่ือกำหนดเรื่องที่จะสัมมนาได้แล้ว จะจัดแบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่มย่อย เรียกว่าคณะสัมมนา แต่ละคณะจะมีวิทยากรหรืออาจารย์ท่ีปรึกษาประจำอยู่เพ่ือให้คำแนะนำหรือ ส่งเสรมิ ใหก้ ารสัมมนาดำเนินการไปอยา่ งถกู ตอ้ งตามแบบแผนและบรรลเุ ปา้ หมายทีต่ ้องการ

ก่อนการสัมมนาแต่ละคร้ัง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ ที่มีความเชี่ยวชาญในเร่ืองที่เก่ียวข้องกับหัวข้อสัมมนาเป็นผู้บรรยายนำ หรือจัดให้มีการอภิปราย เป็นคณะ เพ่ือให้นักศึกษาได้มีความรู้พ้ืนฐานเท่าเทียมกัน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา ความคิดเห็นของตนเสนอต่อคณะสัมมนาได้อยา่ งมีเอกภาพมากขึน้

เม่ือเสร็จส้ินการสัมมนาแล้ว นักศึกษาจะต้องแถลงผลการสัมมนาหน้าชั้นเรียนให้ เพ่ือนนักศึกษาในคณะอ่ืนทราบด้วย รวมทั้งจัดทำรายงานสรุปผลการสัมมนาเสนอต่อวิทยาลัยฯ ภายในเวลาท่กี ำหนด เพ่ือวิทยาลัยฯ จะได้นำเสนอต่อรฐั บาลหรือหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งนำไปพิจารณาใช้ ใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ไป

การแก้ปัญหาเปน็ คณะกรรมการ

เพ่ือให้นักศึกษาได้นำความรู้จากหัวข้อวิชาต่าง ๆ ที่บรรยายในแต่ละวันในเรื่อง พฒั นายุทธศาสตร์ชาติ โดยจัดให้มีการแก้ปัญหาในรปู คณะกรรมการ

นักศึกษาจะต้องวิเคราะห์และดำเนินการให้ได้ข้อยุติและ/หรือข้อเสนอแนะ ปัญหา ที่กำหนด จะมีลักษณะเป็นปัญหาตามขั้นตอนไปสู่การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ และ

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร ร่นุ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๑๙]

การกำหนดมาตรการเฉพาะ เพ่ือสนับสนุนนโยบายความมั่นคง แห่งชาติ หรืออาจเป็นปัญหาปัจจุบัน ทส่ี ่วนราชการต่าง ๆ จะต้องพิจารณา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาเหลา่ นี้ จะได้จัดแบง่ นักศึกษาออกเปน็ คณะ แต่ละคณะมีนักศึกษาที่เป็นผู้แทนจากส่วนราชการต่าง ๆ เป็นกรรมการ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะได้จัดคณาจารย์เป็นที่ปรึกษาและฝ่ายอำนวยการประจำทุกคณะ นักศึกษาท่ีเป็นประธานของ แตล่ ะคณะจะทำหน้าท่ีอำนวยการและรบั ผดิ ชอบในการแกป้ ญั หาโดยตลอด

วิทยาลัยป้องกันราชอาณ าจักร จะมอบหมายให้คณ ะกรรมการแถลงผลการ แก้ปัญหาต่อนักศึกษาทั้งหมดตาม วัน เวลาท่ีกำหนด โดยประธาน รองประธาน เลขานุการ และ ผู้ช่วยเลขานุการ ของคณะเป็นผู้แถลง หรือประธานจะมอบหมายให้ผู้ใดในคณะแถลงก็ได้ ถ้ามีปัญหา หรือมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากนักศึกษาอ่ืน กรรมการท่ีร่วมในคณะจะช่วยแสดงความคิดเห็นหรือช้ีแจง เพ่ิมเติมได้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากท่ีประชุมนักศึกษาส่วนรวมแล้ว ให้รายงานผลต่อวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจกั ร ฯ เพ่ือนำเสนอต่อรัฐบาลและสว่ นราชการต่าง ๆ พิจารณานำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

การแถลงผลการศึกษาเพ่ือสนบั สนุนยทุ ธศาสตร์ชาติ

ถื อ ว่าเป็ น ผ ล จ าก ค ว าม ร่ว ม มื อ ข อ งนั ก ศึ ก ษ าทุ ก ค น ใน ก ารร่ว ม จั ด ท ำ ผ ล ก าร ศึ ก ษ า เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ ทักษะและความรู้ในการสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ เป็นวัตถุประสงค์หลัก ประการหนึ่งของหลักสูตรการศึกษา นักศึกษาจึงต้องร่วมกันนำความรู้ ประสบการณ์ท้ังท่ีได้รับจาก การปฏิบัติหน้าท่ีปกติและจากการศึกษาในวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ มาบูรณาการจัดทำ ผลการศึกษาเพ่ือสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ท้ังนี้ ผลการศึกษาที่สนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ ที่กำหนดขึ้นน้ีจะเป็นหลักให้นักศึกษา/นายทหารนักเรียนในหลักสูตรการศึกษาต่าง ๆ นำไปใช้ในการ จัดทำยุทธศาสตร์ทหารให้สอดคล้องกัน และจะมีการแถลงร่วมกันก่อนสำเร็จการศึกษาต่อ นายกรัฐมนตรี เพ่ือให้คณะรัฐบาลได้รับทราบและนำไปใช้ประโยชน์ในการสนับสนุนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีตอ่ ไป

การเขียนเอกสารวจิ ยั สว่ นบุคคล

การเขียนเอกสารวิจัยส่วนบุคคลเป็นส่วนหน่ึงในหลักสูตรศึกษาของวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรฯ ที่นักศึกษาจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามความมุ่งหมายและกรอบเวลาท่ีกำหนด เพอ่ื เป็นคุณสมบตั ปิ ระการหนงึ่ ของการพิจารณาสำเร็จการศึกษา

เอกสารวิจัยส่วนบุคคล (Individual Research Paper) เป็นเอกสารทางวิชาการ ที่นำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ จัดทำข้ึนบนความสนใจ และ/ หรือประสบการณ์ของนักศึกษา มีคุณค่าในระดับนโยบาย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ประเด็น ปัญหาสำคัญ และแนวทางการพัฒนาในอนาคต มีกระบวนการจัดทำท่ีน่าเช่ือถือตามมาตรฐานงานวิจัย และรูปแบบเป็นไปตามเอกสารคู่มือการเขียนเอกสารวิจัยฯ ของ วปอ.หมายเลข ๐๐๖ องค์ความรู้ ข้อพิจารณา และข้อเสนอแนะ ซึ่งเป็นผลการวิจัยสามารถนำไปปรับใช้เป็นประโยชน์ต่อส่วนราชการ และหน่วยงานต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม

เอกสารวิจัยส่วนบุคคลแยกเป็นลักษณะวิชาด้านต่าง ๆ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ การเมือง (ในประเทศ/ระหว่างประเทศ) การทหาร (การป้องกันประเทศ) การเศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา และ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๒๐]

การแถลงเอกสารวิจัยส่วนบคุ คล

วทิ ยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ กำหนดให้การแถลงเอกสารวิจัยส่วนบุคคลเป็นส่วนหนึ่ง ของการเขียนเอกสารวิจัยฯ โดยนักศึกษาแต่ละคนจะมีโอกาสได้นำเสนอผลงานการเขียนเอกสารวิจัยฯ ในรูปแบบของการบรรยายสรุปต่อ ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และแขกรับเชิญ รวมท้ังเพื่อนนักศึกษา อนั จะนำมาซึ่งการแลกเปลยี่ นขอ้ คิดเหน็ ท่จี ะช่วยให้ผลงานวิจัยมีความสมบูรณ์ยง่ิ ขึ้น

การเขยี นบทความทางวชิ าการ

การเขียนบทความทางวิชาการ (Academic Article) เป็นส่วนหน่ึงในหลักสูตรศึกษาของ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ท่ีนักศึกษาจะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามกรอบเวลาที่กำหนด โดยวิทยาลัยฯ มีความมุ่งหมายให้นักศึกษาได้มีโอกาสบูรณาการองค์ความรู้อันสืบเน่ืองมาจาก ประสบการณใ์ นการปฏบิ ัตงิ าน หรอื มาจากการค้นคว้าบนพนื้ ฐานของความสนใจ

บทความทางวิชาการท่ีนำเสนอองค์ความรู้และมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง จะได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ในเอกสารเผยแพร่ในเอกสารทางวิชาการของวิทยาลัยฯ ได้แก่ วารสาร รัฏฐาภิรักษ์ หรือเอกสารข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้านความม่ันคง (NDC Security Review) รวมทั้ง เผยแพรบ่ นเว็บไซต์

บทความทางวิชาการที่ต้องดำเนินการประกอบด้วย บทความวิชาการรายบุคคล จำนวน ๑ เรื่อง และบทความวิชาการกลุ่ม จำนวน ๑ เรื่อง มีลักษณะเป็นงานเขียนทางวิชาการขนาดส้ัน ท่ีนำเสนอองค์ความรู้และข้อคิดเห็นอย่างเฉพาะเจาะจง มีประเด็นการวิเคราะห์ท่ีชัดเจนเป็นระบบ สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจุบัน ประเด็นปัญหาสำคัญ และแนวทางการพัฒนาในอนาคต มีกระบวนการเขียนที่น่าเชื่อถือได้ตามหลักวิชาการ และรูปแบบเป็นไปตามเอกสารคู่มือการเขียน เอกสารวิจัยฯ ของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ หมายเลข ๐๐๖ และมาตรฐานของศูนย์ดัชนีการ อ้างองิ วารสารไทย (Thai Journal Citation Index Center : TCI)

การดูกจิ การและศึกษาภูมปิ ระเทศ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ กำหนดให้การดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร ที่นักศึกษาจะต้องให้ความร่วมมือกับวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ตลอดปีการศึกษา ซึ่งประโยชน์ท่ีจะได้จากการดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ นักศึกษาสามารถนำผล การดูกิจการไปใช้เป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ และนอกจากนั้น เสริมสร้างความ เป็นกันเองและความสามัคคีระหว่างนักศึกษาด้วยกันให้แน่นแฟ้นยิ่งข้ึน การดูกิจการและศึกษา ภูมิประเทศมที ้งั ในประเทศและต่างประเทศ ประกอบดว้ ย

๑. การดูกิจการหนว่ ยทหารในต่างจงั หวัด เป็นการเดินทางไปเยี่ยมชมรบั ฟังการบรรยาย สรุปเกยี่ วกับ ภารกิจ การจดั บทบาทหน้าท่ี ตลอดจนการชมการสาธติ การปฏิบตั กิ ารของหน่วย ในพ้นื ท่ี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี ชลบุรี สระบุรี และลพบุรี เป็นเวลา ๕ วัน โดยไปพักแรมในจังหวัด ทส่ี ามารถรองรับคณะได้ ท้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือใหน้ ักศกึ ษาทราบสภาวะแวดล้อมตลอดจนกำลังอำนาจ แหง่ ชาตดิ า้ นการทหาร

๒. การดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศภายในประเทศและประเทศเพอ่ื นบ้านทมี่ ีดนิ แดน ติดต่อกับประเทศไทย เป็นการเดินทางไปเยี่ยมชมและรับฟังการบรรยายสรุปเก่ียวกับกิจการ ด้านต่าง ๆ ของส่วนราชการ และองค์กรที่สำคัญทั้งของภาครัฐและเอกชนในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย และประเทศเพ่ือนบ้านที่มีดินแดนติดต่อกับประเทศไทย รวมทั้งลงพื้นที่ไปศึกษาภูมิประเทศภายในภูมิภาค

หลักสตู รการป้องกันราชอาณาจกั ร รนุ่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศึกษา ฯ

[๒๑]

น้ัน ๆ ด้วย พร้อมทั้งให้นักศึกษาหาข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องของจังหวัดท่ีจะไปดูงาน และจัดทำแนวคิดในการ แก้ไขปัญหา การพัฒนาในด้านต่าง ๆ ของจังหวัด โดยพิจารณาจากกรอบยุทธศาสตร์ชาติ กรอบการ บริหารงานของส่วนราชการ ภาคเอกชน เพื่อนำแนวคิดไปจัดทำแผนปฏิบัติการ นำเสนอให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของจังหวดั และให้มีการแลกเปล่ียนความคิดร่วมกัน ระยะเวลาในการดูกิจการและ ศึกษาภูมิประเทศในประเทศกำหนดไว้ไม่เกิน ๒๖ วัน (ไม่รวมการดูกิจการภาคปฐมนิเทศ) แบ่งเป็นการ ดูกิจการภูมิภาคต่าง ๆ ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และหน่วยงานภายในกรุงเทพฯ และปริมณฑล หรืออีกนัยหนึ่งเป็นการตรวจสอบสภาวะแวดล้อม ภายในประเทศ โดยมีความม่งุ หมาย ดังนี้

๒.๑ เพ่ือให้นักศึกษาได้รู้จักสภาพทางภูมิศาสตร์ และสภาวการณ์ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม ขอ้ มลู ข่าวสาร และนวัตกรรม ในพื้นท่ีของภูมิภาคต่าง ๆ ด้วยตนเอง นอกเหนอื จากการฟัง บรรยายและการศึกษาจากเอกสาร

๒.๒ เพ่ือให้นักศึกษาได้มีโอกาสรับฟังปัญหา และแนวความคิดของหน่วยงานและ องค์กรตา่ ง ๆ ในท้องถ่นิ รวมท้ังไดส้ อบถามข้อเท็จจริงและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นต่าง ๆ เพ่ือนำมาใช้ใน การวิเคราะห์ และเสนอแนะแนวทางแกป้ ัญหาตามทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

๒.๓ เพ่ือให้นักศึกษาได้มีโอกาสเสริมสร้างความสัมพันธ์และแลกเปล่ียนทัศนคติกับ ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจและบุคลากรของภาคธุรกิจเอกชน รวมทั้งประชาชนในท้องถ่ิน เพื่อความเข้าใจและความร่วมมือท่ีดีระหว่างกันอันจะนำไปสู่การเสริมสร้างความสามัคคีของชนในชาติ ต่อไป

๒.๔ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคงของประเทศเพ่ือนบ้าน และเสริมสร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน ซึ่งจะเป็นส่วนสำคัญในการปฏิบัติงานร่วมกันในอนาคต (รายละเอียดดูในหัวข้อถัดไป)

๒.๕ เพื่อให้นักศึกษานำข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นแนวคิดในการพัฒนา ประเทศ สง่ เปน็ รายงานต่อไป

๓. การดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ ณ ต่างประเทศ เป็นการเดินทางไปดูกิจการและ ศึกษาภูมิประเทศของประเทศต่าง ๆ โดยมีความมุ่งหมายเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ และประสบการณ์ของ นักศึกษาให้มีโอกาสทราบสถานการณ์ท่ีแท้จริงของประเทศต่าง ๆ และเพ่ือเป็นการตรวจสอบสภาวะ- แวดล้อมภายนอกประเทศ นอกเหนือจากข้อมูลท่ีได้ศึกษามาแล้วในห้องเรียน รวมท้ังนักศึกษาจะได้ เย่ียมชมกิจการของสถาบันสำคัญ ๆ เข้าเย่ียมคารวะและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับบุคคลสำคัญ ตลอดจนรับฟังการบรรยายสรุปจากเจ้าหน้าที่ทางการทูตของไทย และต่างประเทศ นักศึกษาจะต้อง ดำเนนิ การ ดงั นี้

๓.๑ รวบรวมข้อมูลทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร และ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ข้อมูลข่าวสาร และ นวัตกรรม ทีม่ ผี ลกระทบต่อความม่ันคงแห่งชาติ

๓.๒ พิจารณาและศึกษาปัญหาท่ีมีผลกระทบต่อผลประโยชน์ความมั่นคงแห่งชาติของ ประเทศไทยในต่างประเทศ

๓.๓ สังเกตการณ์ด้วยตนเองเก่ียวกับการปฏิบัติทางการทูตและการพาณิชย์ ในการ ดำเนินการตามนโยบายความม่ันคงแห่งชาติของประเทศไทยทม่ี ตี ่อประเทศน้ัน

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๒๒]

๓.๔ ศึกษาและเยี่ยมชมวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร คลังสมอง (Think Tanks) หรือวิทยาลัยการทหารระดับสูงของประเทศต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี ตลอดจน แลกเปลย่ี นความร้ทู างดา้ นยทุ ธศาสตรแ์ ละความม่ันคง

๔. กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการต่างประเทศ ในทุกปีการศึกษาวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร ได้รับอนุมัติให้มีผู้เข้ารับการศึกษาชาวต่างประเทศ เข้าร่วมการศึกษาตามท่ีหลักสูตร การเรียนการสอนกำหนด ซ่ึงนอกจากจะเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศแล้ว ยังเป็น การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และความคิดเห็นในมิติต่าง ๆ ในเชิงลึก และยังเป็นการให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึง วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี อัตลักษณ์เฉพาะของ ประเทศน้ัน ๆ ซึ่งจะทำให้นักศึกษาได้เกิดแนวคิดในการบูรณาการร่วมกับประสบการณ์การทำงานใน การกำหนดข้อเสนอแนะยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปีของไทย ในการร่วมผนึกกำลังประชาคมอาเซียน ให้เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ทั้งน้ีวิทยาลัยได้กำหนดกิจกรรมหลักที่สำคัญซ่ึงนักศึกษาทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศทกุ คนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย

๑. กิจกรรมวันนานาชาติ (International Day) เป็นกิจกรรมท่ีนักศึกษาชาวต่างประเทศ จะได้แสดงออกถึง วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ในมิติต่าง ๆ ให้กับนักศึกษาในรุ่นได้เรียนรู้ แลกเปล่ียนข้อคิดเห็นและได้นำประสบการณ์ มาประกอบเป็นข้อเสนอแนะท่ีเก่ียวข้อง ในปลายปีการศึกษาฯ ไดอ้ กี ด้วย

๒. กิจกรรมการทัศนศึกษาเชิงวัฒนธรรมสำหรับนักศึกษาชาวต่างประเทศ (Cultural Trip) เป็นกิจกรรมท่ีนักศึกษาชาวต่างประเทศจะได้เดินทางเพื่อศึกษาวัฒนธรรมของประเทศไทย เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น และเป็นการประชาสัมพันธ์ถึงอัตลักษณ์ความเป็นไทย ใหน้ ักศึกษาชาวตา่ งประเทศไดเ้ ข้าใจมากยง่ิ ข้ึนเพื่อเป็นการสร้างประสบการณ์ให้กบั นักศึกษาต่อไป

อนึ่ง วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ได้กำหนดให้นักศึกษาชาวไทยที่มีความรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ และมีความคุ้นเคยกับวัฒนธรรมของนกั ศึกษาชาวตา่ งประเทศน้ัน ๆ ได้ปฏิบัติหน้าที่ เป็นพี่เล้ียงนักศึกษาชาวต่างประเทศคอยให้ข้อเสนอแนะ และช่วยเหลือนักศึกษาชาวต่างประเทศ เมื่อได้รับการร้องขอ และเป็นสื่อกลางในสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพ่ือนนักศึกษาในรุ่นรวมถึง วทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจกั รฯ อีกดว้ ย

๕. การดกู ิจการในสาขาวิชาการด้านตา่ ง ๆ เป็นครง้ั คราวตามความเหมาะสม วทิ ยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร ฯ จัดให้ไปเยี่ยมชมหน่วยงานที่สำคัญ ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงในสาขาวิชาต่าง ๆ ท้ังของภาครัฐและภาคเอกชน อาทิ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมจิตวิทยา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ดา้ นการพลงั งาน ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม และดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสาร เป็นต้น

หลังจากกลับจากการเดินทางไปดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศทั้งในประเทศและ ต่างประเทศในแต่ละครั้งแล้ว วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะให้เวลาแก่นักศึกษาซ่ึงจัดแบ่งเป็น กลุ่มต่าง ๆ ได้ร่วมกันทำสรุปผลการดูกิจการฯ เพื่อแถลงผลให้เพื่อนนักศึกษาได้รับฟังเป็นส่วนรวม ภายในวันเวลาท่ีกำหนดให้ และหลังจากการแถลงผลแล้ว ภายใน ๗ วัน จะต้องจัดทำรายงาน เป็นรูปเล่มส่งที่ กองพัฒนาการศึกษาฯ (กพศ.วปอ.สปท.) จำนวนกลุ่มละ ๕ เล่ม ซ่ึงรายงานสรุปผล การเดินทางดังกล่าวของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะได้พิจารณานำเรียนผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชน้ั ใหท้ ราบต่อไป

หลักสตู รการป้องกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๒๓]

อนึ่ง อีกกิจกรรมซึ่งกำหนดไว้ในการเดินทางคือ การเล่าเร่ืองบนรถยนต์ระหว่างการ เดินทางดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ

เพ่ื อ ให้ นั ก ศึ ก ษ า ซ่ึ งเป็ น ผู้ ท่ี มี ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ แ ต ก ต่ า งกั น ใน แ ต่ ล ะ ส าข า ท้ังจากภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน รวมท้ังเพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดมากยิ่งข้ึน ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรที่ได้กำหนดไว้ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจกั ร ฯ จงึ ได้จดั ให้มีกจิ กรรมการเล่าเร่ืองบนรถยนต์ในระหวา่ งการเดินทางไป ดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศข้ึน โดยใช้เวลาระหว่าง ๕-๑๐ นาที ซ่ึงการเข้าร่วมกิจกรรมน้ียังเป็น ส่วนหน่ึงในการประเมินผลการศึกษาของนักศึกษาแต่ละคน โดยมอี าจารยท์ ่ีปรึกษาและอาจารยค์ วบคุม รถยนต์เปน็ ผูป้ ระเมินผล

กิจกรรม/โครงการสาธารณประโยชน์เพื่อสังคม

ด้วยนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ เป็นผู้บริหารระดับสูงจากทุกภาคส่วนของ สังคม ประกอบด้วยข้าราชการทหาร ข้าราชการพลเรือน พนักงานรัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ นักธุรกิจ และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งตลอดท้ังปีการศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ได้จัด กิจกรรมต่าง ๆ มากมาย โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญประการหนึ่งนอกเหนือจากความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเร่ืองความมั่นคงแห่งชาติแล้วคือ การให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการ รกั ษาไวซ้ ่ึงความม่ันคงแห่งชาติ ดงั น้ันในระหวา่ งการเข้ารบั การศึกษาในวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รฯ นกั ศึกษาตอ้ งจัดทำกจิ กรรมสาธารณกุศล สาธารณประโยชน์แกส่ ังคมตามความเหมาะสม ทั้งในระหวา่ ง การศึกษาในห้องเรียน ณ วิทยาลัยฯ หรือในระหว่างการดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ ตลอดจนริเริ่ม จัดทำโครงการสาธารณประโยชน์เพ่ือสังคมซึ่งเป็นงานท่ีมีลักษณะต่อเน่ือง เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้ว โครงการดังกล่าวจะเป็นเสมือนศูนย์รวมของนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา ท่ีจะมาพร้อมกันบำเพ็ญ ประโยชน์ต่อสงั คม ในฐานะศษิ ย์เกา่ วทิ ยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักรฯ ตอ่ ไป

กจิ กรรมและโครงการสาธารณประโยชน์เพือ่ สังคมนี้ครอบคลมุ ตั้งแต่การวางแผน การตัดสินใจ การส่ือสารประชาสัมพันธ์ การบรหิ ารจดั การ และการดำเนินงานของนกั ศึกษา เพ่ือใหส้ ังคมได้รับทราบ และตระหนักรู้ถึงความรับผิดชอบต่อสังคมของนักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ตลอดจน คุณค่าของวทิ ยาลยั ปอ้ งกันราชอาณาจกั รฯ ตอ่ สังคม

การมัชฌิมนเิ ทศ

เป็นการประเมินผลของนักศึกษาที่มีต่อการบริหารจัดการหลักสูตรของวิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรฯ ว่าท่ีผ่านมาน้ันมีปัญหาข้อขัดข้องประการใด และพิจารณาเห็นว่าน่าจะมีการปรับปรุง ผลการหารือจะมีการนำเสนอด้วยวาจาและทำเป็นเอกสาร กำหนดดำเนินการในระหว่างกลางปี การศึกษา

การปจั ฉิมนเิ ทศ

เพื่อให้นักศึกษาได้รวบรวมความรู้ ความคิด และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดการศึกษา ตามหลักสูตร โดยวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะได้นำข้อมูลที่ได้รับมาทำการปรับปรุงและ พัฒนาการดำเนินงาน การปรับหลักสูตรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการศึกษาของ รุ่นต่อ ๆ ไป จึงได้จัดให้มีการปัจฉิมนิเทศข้ึนในช่วงเวลาก่อนที่จะปิดหลักสูตร และวิทยาลัยป้องกัน

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศึกษา ฯ

[๒๔]

ราชอาณาจักรฯ จะได้นำเรียนคณะกรรมการการศึกษา และสภาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ต่อไป กำหนดดำเนินการกอ่ นสำเรจ็ การศกึ ษา

การทดสอบ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จัดให้มีการทดสอบ ๒ คร้ัง เพ่ือทดสอบความรู้ความ เข้าใจเกย่ี วกับการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ผู้ท่ีไม่ผา่ นการทดสอบจะต้องทำการสอบใหมภ่ ายใน ๑ สปั ดาห์ หลงั จากทราบผลการทดสอบแล้ว

ระยะเวลาการศกึ ษา : ภาคการศึกษาหลัก

ใช้เวลาการศึกษาในห้องบรรยาย รวมท้ังการดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศ ประมาณ ๑๐ เดือน โดยจะเปิดการศึกษาในเดือนธนั วานคม ๒๕๖๕ และปดิ การศกึ ษาในเดือนกันยายน ๒๕๖๖ ดงั นี้

๑. การศึกษาในห้องบรรยายและห้องถกแถลง รวมทั้งการสัมมนา การแก้ปัญหา เป็นคณะกรรมการ การศึกษาเฉพาะกรณี และการศึกษาด้วยตนเอง ใช้เวลาห้วงเดือนมกราคม ๒๕๖๖ ถึง กันยายน ๒๕๖๖ ใช้เวลาระหว่าง ๐๘๐๐–๑๒๐๐ ของวันอังคาร วันพุธ และวันพฤหัสบดี หากจำเป็น อาจต้องใช้เวลานอกเหนือจากเวลาดงั กล่าว อาทิ ภาคบ่าย หรอื ในวันจันทร์ และวันศุกร์ด้วย ซึ่งจะแจ้ง ให้ทราบลว่ งหนา้

๒. การดูกิจการและศึกษาภูมิประเทศท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ ใช้เวลาเต็มวัน ต่อเน่ือง อาจรวมทั้งวันหยุดราชการ โดยคิดเป็นเวลาการศึกษาวันละ ๘ ช่ัวโมง ท้ังน้ี ระยะเวลาในการ ดูกจิ การ ฯ แต่ละครง้ั เป็นไปตามแผนการศกึ ษาประจำปีทก่ี ำหนดไว้

๓. การดูกิจการในสาขาวิชาการด้านต่าง ๆ เป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม ใช้เวลา ระหวา่ ง ๐๘๐๐-๑๖๐๐ ซง่ึ จะแจง้ ใหท้ ราบล่วงหนา้

๔. การเขียนเอกสารวิจัย ให้นักศึกษาพิจารณาจัดสรรเวลานอกเหนือจากที่กำหนดไว้ใน ข้อ ๑ ๒ และ ๓ ดังกล่าวแล้ว โดยดำเนินการตามระเบียบวิธีวิจัย นอกจากนั้น วิทยาลัยฯ จะจัดเวลา ค้นคว้าเอกสารวิจัยให้เป็นบางโอกาสในระหว่างเวลาศึกษาปกติในแต่ละวัน ตามความเหมาะสม ทั้งน้ี จะต้องดำเนนิ การในแตล่ ะขน้ั ตอน ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในหว้ งระยะเวลาทีว่ ิทยาลัยฯ กำหนด

การสำเรจ็ การศึกษา

ผู้ที่จะได้รับการพิจารณาว่าสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ จะต้อง ปฏบิ ัติตามข้อกำหนดดังนี้

๑. มีเวลารับการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของเวลาการศึกษา ภาคการปฐมนิเทศและ ภาคการศึกษาหลักรวมกัน

๒. เสนอเอกสารวิจัยส่วนบุคคล บทความทางวิชาการ และเรียงความท่ีได้รับมอบหมาย ตามลักษณะวิชา ตอ่ วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ ภายในเวลาที่กำหนด

๓. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการศึกษาตามกระบวนการศึกษาในหลักสูตร และกิจกรรมที่เป็น ประโยชนต์ อ่ กองทพั และประเทศชาติ ตามที่วทิ ยาลยั ป้องกันราชอาณาจกั รฯ กำหนด

๔. ไม่ดำเนินการใด ๆ อันนำความเสื่อมเสียมาสู่ชื่อเสียงของวิทยาลัยป้องกัน- ราชอาณาจกั รฯ

หลักสตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๒๕]

วฒั นธรรมองค์กร

การสังคมเป็นความปรารถนาท่ีสำคัญประการหนึ่งของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ในอันที่จะชักนำให้นักศึกษาฝ่ายทหาร พลเรือนและเอกชน ท้ังในรุ่นเดียวกันและระหว่างรุ่น ตลอดจนผู้บรรยาย ผู้บังคับบัญชา คณาจารย์ และข้าราชการของวิทยาลัยฯ ได้มีความสมัครสมานสามัคคี มคี วามสนทิ สนมกลมเกลียว เปน็ นำ้ หนึ่งใจเดียวกนั ดังคำขวญั ของวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักรฯ ท่ีว่า

"สมคคฺ านํ ตโปสุโข" หรอื

"เพยี รพรอ้ มเพรยี งกัน ชาติมนั่ คง"

ความสามัคคีย่อมทำให้เกิดความรู้จากการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ความเข้าใจ ความร่วมมือ และการประสานงานกันได้ดีระหว่างนักศึกษา ระหว่างส่วนราชการ และหน่วยงาน ต่าง ๆ ท่ีนักศึกษาสังกัดอยู่ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ ยึดมั่นว่า ความรอบรู้ ความเข้าใจ ความร่วมมอื การประสานงาน เป็นยอดปรารถนาของวทิ ยาลัยป้องกนั ราชอาณาจักรฯ

ฉะนั้น ตลอดปีการศึกษาท้ังในหลักสูตรและนอกหลักสูตร วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักรฯ จึงพยายามที่จะดำเนินการให้เป็นไปตามความปรารถนาดังกล่าวข้างต้น โดยจัดและ ส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสสังสรรค์ และสมาคมกัน ในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังที่เป็นทางการและไม่เป็น ทางการ อาทิ

- จัดงานชุมนุมนักศึกษาทุกรุ่นเป็นประจำทุกปี โดยถือว่าเป็นการต้อนรับนักศึกษาใหม่ เพ่อื พบปะสังสรรค์และมกี ารแสดงของนักศึกษาบนเวทีตามแต่จะเหน็ สมควร

- จัดให้มีการแข่งขันกีฬาทั้งภายในและภายนอก เช่น การแข่งขันเทนนิส โบว์ลิ่ง แรลลี่ บิลเลียด และการแข่งขันกอล์ฟประจำปี ฯลฯ เม่ือเสร็จสิ้นการแข่งขันแล้วจัดให้มีการเล้ียง สงั สรรคด์ ว้ ย

- การจัดงานแสดงความยินดีหลังพิธีปิดการศึกษา หรือหลังพิธีรับพระราชทานปริญญา บตั รของนักศึกษาแตล่ ะร่นุ

- การจัดงานเล้ียงต้อนรับและขอบคุณระหว่างนักศึกษารุน่ พ่ีและรนุ่ น้อง - การเล้ียงรับรองชาวต่างประเทศในโอกาสต่าง ๆ อาทิ งานเล้ียงรับรองคณะนักศึกษา วิทยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักรต่างประเทศ ในโอกาสที่เดนิ ทางมาเยอื นประเทศไทย เป็นต้น - การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา ให้จัดกิจกรรมด้านต่าง ๆ ของรุ่นและ ครอบครัวโดยสม่ำเสมอ สำหรับการสังคมในส่วนท่ีนักศึกษาดำเนินการขึ้นเองน้ัน อาจมีการเลี้ยงสังสรรค์ในแต่ ละเดือน การจัดเลี้ยงในกลุ่มคณะทำงานหรือคณะกรรมการ ภายหลังจากเสร็จสิ้นภารกิจ รวมทั้งการ เลย้ี งสังสรรค์ระหวา่ งกลุ่มทฝ่ี กึ อบรมลกู เสือดว้ ยกนั เป็นครัง้ คราว เป็นตน้ นอกจากน้ัน การสังคมในระหว่างการศึกษา นักศึกษายังได้มีโอกาสสังสรรค์และสมาคม ซ่งึ กันและกัน ในระหวา่ งท่ีเดินทางไปดูกจิ การและศกึ ษาภูมิประเทศ ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศดว้ ย โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการเลยี้ งพบปะสังสรรค์หลงั จากทไ่ี ดเ้ สร็จสนิ้ ภารกจิ ประจำวนั แลว้

หลกั สตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุน่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๒๖]

ตอนท่ี ๓ บทเรียนสำหรบั การศึกษาในหอ้ งบรรยายภาคการศกึ ษาหลกั

Subjects for Main Course Syllabus

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ กำหนดให้มีบทเรียนสำหรับการศึกษาในห้องบรรยาย สำหรับหลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ ๖๕ ไว้จำนวน ๔ กลุ่มวิชา แต่ละกลุ่มวิชาแยก เปน็ หมวดวชิ า รวมทัง้ สิ้น ๑๔ หมวดวชิ า ดังนี้

กลุ่มวิชาท่ี ๑ ยุทธศาสตร์และความมั่นคง (Strategy and Security) ประกอบด้วย ๒ หมวดวิชา คือ

หมวดวชิ าท่ี ๑ แนวคดิ และทฤษฏี ของยุทธศาสตร์และความมัน่ คง หมวดวิชาที่ ๒ การกำหนดยุทธศาสตร์ และองค์ประกอบยุทธศาสตร์ กลุ่มวิชาท่ี ๒ สภาวะแวดล้อมโลก และ สภาวะแวดล้อมภายในประเทศ (Global context and Domestic affairs) ประกอบดว้ ย ๙ หมวดวิชา คือ หมวดวชิ าท่ี ๓ สภาวะแวดลอ้ มโลกกบั ความม่ันคงแหง่ ชาติ หมวดวิชาท่ี ๔ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมั่นคงดา้ นการเมือง หมวดวิชาที่ ๕ สภาวะแวดล้อมโลกและความม่นั คงดา้ นเศรษฐกจิ หมวดวชิ าท่ี ๖ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมัน่ คงดา้ นสังคมจติ วิทยา หมวดวชิ าท่ี ๗ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความม่นั คงด้านการทหาร หมวดวิชาท่ี ๘ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมนั่ คงดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม หมวดวิชาท่ี ๙ สภาวะแวดล้อมโลกและความมน่ั คงด้านพลงั งาน หมวดวิชาที่ ๑๐ สภาวะแวดล้อมโลกและความมน่ั คงดา้ นทรัพยากรและสงิ่ แวดล้อม หมวดวิชาท่ี ๑๑ สภาวะแวดลอ้ มโลกและความมนั่ คงด้านการบริหารจัดการขอ้ มลู ในยุคดจิ ิทัล กลุม่ วิชาที่ ๓ ผู้นำทางยทุ ธศาสตร์ (Strategic Leadership) ประกอบด้วย ๑ หมวดวชิ า คอื หมวดวิชาที่ ๑๒ ผู้นำทางยุทธศาสตร์ กล่มุ วิชาที่ ๔ การจัดการภัยพิบตั แิ ละการบรหิ ารในภาวะวิกฤติ (National Disaster Response and Crisis Management) ประกอบด้วย ๒ หมวดวิชา คอื หมวดวชิ าที่ ๑๓ การจดั การภัยพบิ ัติและการบริหารในภาวะวิกฤต หมวดวิชาท่ี ๑๔ ภยั จากการสงคราม

ความม่งุ หมายของหมวดวชิ าและหวั ข้อวชิ า

หมวดวิชาท้ัง ๑๔ หมวด มีความมุ่งหมายและหัวข้อวชิ าซึง่ วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักรฯ กำหนดไว้ ดังต่อไปนี้

หลกั สตู รการป้องกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๒๗]

กลมุ่ วิชาท่ี ๑ ยทุ ธศาสตรแ์ ละความมนั่ คง Group 1 : Strategy and Security

ความมงุ่ หมาย

กลุ่มวิชานี้ มีความมุ่งหมายท่ีจะให้ผู้ศึกษาได้ทราบและเข้าใจถึง แนวคิด และทฤษฎีของ การคิดในเชิงยุทธศาสตร์ ทั้งในด้านของการสร้างความมั่นคงของประเทศและด้านการพัฒนาประเทศ เข้าใจถึงตัวแบบโครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติ ซ่ึงเป็นกระบวนการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติท่ีเป็นสากล และ ทีว่ ทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจักรฯ นำมาใชใ้ นการศกึ ษา

ให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจแนวความคิดในการกำหนด ส่วนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ อันเกิด จากความมุ่งประสงค์ของชาติ ความต้องการของประชาชนและความต้องการในการพัฒนาประเทศ มีความเข้าใจในการกำหนดผลประโยชน์แห่งชาติ การรบริหารทรัพยากรของชาติ การใช้กำลังอำนาจ แห่งชาตดิ ้านต่าง ๆ ในภาพรวม เข้าใจบรบิ ทของสภาวะแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไปในอนาคต ภัยคุกคาม และความท้าทายรูปแบบต่าง ๆ และการพัฒนานโยบายความม่ันคงแห่งชาติ ตลอดจนศึกษาแนวคิด ทฤษฎีด้านความม่ันคง องค์ประกอบของความม่ันคง แนวคิดด้านความมั่นคงในอดีต และปัจจุบัน ความหมายของความมน่ั คงแห่งชาติ

ผลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ

นักศึกษาได้รับความรู้และความเข้าใจ ในกระบวนการคิดเชิงยุทธศาสตร์ เข้าใจ องค์ประกอบสำคัญของยุทธศาสตร์ เข้าใจการกำหนดเป้าหมายของชาติ การกำหนดผลประโยชน์ แห่งชาติ วัตถุประสงค์มูลฐาน และวัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ สามารถวิเคราะห์สภาพของกำลัง อำนาจแห่งชาติด้านต่าง ๆ ในภาพรวม ภัยคุกคามและความท้าทายรูปแบบต่าง ๆ การพัฒนานโยบาย ความม่ันคงแห่งชาติ และได้รับความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิด ทฤษฎีด้านความม่ันคง ความมั่นคงแห่งชาติ ภัยคุกคามและความท้าทายรูปแบบต่าง ๆ และการพัฒนานโยบายความมั่นคง แหง่ ชาติ

ผรู้ บั ผดิ ชอบ : กองยทุ ธศาสตรแ์ ละความม่ันคง ฯ

หลกั สตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๒๘]

หมวดวิชาท่ี ๑ แนวคิด และทฤษฏี ของยทุ ธศาสตรแ์ ละความม่นั คง (ม.๑) Module 1 : Theories and Concepts of Strategy and Security (M1)

ความมงุ่ หมาย

เพ่ือศึกษาแนวคิด ทฤษฎีของยุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง องค์ประกอบของความม่ันคง แนวคิดด้านความม่ันคงในอดีต และปัจจุบัน ความหมายและบริบทของ ความม่ันคงแห่งชาติ รวมถึงเข้าใจในความหมายของตัวแบบหรือเครื่องมือต่าง ๆ ที่ช่วยในการคิด วเิ คราะหย์ ุทธศาสตรใ์ ห้สอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงในอนาคต

ผลลัพธ์ท่ีตอ้ งการ

นักศึกษาได้รับความรู้และความเข้าใจ เก่ียวกับแนวคิด ทฤษฎี ที่เก่ียวข้องกับยุทธศาสตร์ และยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มีความเข้าใจในกระบวนการคิด และการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติและ ยุทธศาสตร์ความม่ันคง สามารถวิเคราะห์ และสภาวะแวดล้อมตามมิติของพลังอำนาจ และสามารถใช้ เครอื่ งมอื ตวั แบบและเทคนคิ วธิ คี ดิ ในการบรรลเุ ป้าหมายของยุทธศาสตร์ในอนาคตได้

หวั ขอ้ วิชา

หวั ข้อวิชา รหัส ชือ่ วิชา เวลาเรยี น วธิ ี (ชัว่ โมง:นาที) การศกึ ษา ๑ - ๑ ๑๐๑๐๑ ประวตั ิ แนวคิด ทฤษฎี และตัวแบบ ยทุ ธศาสตร์ ๓ บรรยาย/ อภปิ ราย ๑ - ๒ ๑๐๑๐๒ แนวคดิ ทฤษฎีดา้ นความม่นั คงและ ๓ นโยบายความมน่ั คงแห่งชาติ บรรยาย/ ๓ อภิปราย ๑ - ๓ ๑๐๑๐๓ แนวคดิ ทฤษฎี อนาคตศึกษา ๓ บรรยาย/ ๑ – ๔ ๑๐๑๐๔ พลังอำนาจแห่งชาติ อภปิ ราย

บรรยาย/ อภิปราย

ผรู้ บั ผิดชอบ : กองยุทธศาสตร์และความมัน่ คงฯ

หลักสตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รนุ่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๒๙]

วิชา ๑ – ๑ ประวตั ิ แนวคดิ ทฤษฎี ดา้ นยุทธศาสตร์ Theories, Concepts and History of Strategy รหัส เวลา ๑๐๑๐๑ วิธศี กึ ษา ความมุ่งหมาย ๓ ชวั่ โมง

ขอบเขต บรรยาย/อภปิ ราย

ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี และหลักการของยทุ ธศาสตร์ หมายรวมถงึ ยทุ ธศาสตรช์ าติและ ยุทธศาสตร์ความม่ันคง เขา้ ใจตัวแบบและกระบวนการในการจดั ทำยุทธศาสตร์ และ เข้าใจองค์ประกอบของยทุ ธศาสตร์

ความเปน็ มา ความหมายของยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตรค์ วามมั่นคง และกระบวนการคิด เชิงยุทธศาสตร์ องค์ประกอบของการคิดยุทธศาสตร์ในระดับชาติและความม่ันคง ขนั้ ตอนในการกำหนดยุทธศาสตรใ์ นระดบั ชาติ ระดบั ความม่นั คงแหง่ ชาติ

วิชา ๑ – ๒ แนวความคิดทฤษฎีดา้ นความมนั่ คงและความมน่ั คงแหง่ ชาติ Theories and Concepts of Security and National Security รหสั เวลา ๑๐๑๐๒ วิธีศึกษา ความมุ่งหมาย ๓ ช่วั โมง

ขอบเขต บรรยาย/อภปิ ราย

ศกึ ษาแนวความคดิ ทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับความม่นั คงและความม่ันคงแห่งชาติ แนวคดิ ในการจดั ทำนโยบายความมน่ั คงแห่งชาติ

- ความเป็นมา ความหมายของความมั่นคงและความม่ันคงแห่งชาติ ความมั่นคงแห่งชาติ ท่ีครอบคลุมในมิติต่าง ๆ การเปล่ียนแปลงทางสังคมที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง แห่งชาติ ความท้าทาย โอกาส และภัยคุกคามต่อความมั่นคงแห่งชาติรูปแบบเก่า และ ใหม่ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงในระดับนานาชาติ และความม่ันคงของมนุษย์ ท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ความมั่นคงแห่งชาติในปจั จุบนั และอนาคต - การจัดทำนโยบายและ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติและความสัมพันธ์ท่ีมีต่อ ผลประโยชน์แห่งชาติและ วัตถุประสงค์แห่งชาติ ตลอดจนบทบาทและการดำเนินงาน ของสำนักงานสภาความ มั่นคงแห่งชาติในการกำหนด พัฒนา และเสนอแนะยุทธศาสตร์ ความมั่นคงแห่งชาติ รวมท้ังการติดตามประสานงานและการประเมินผลการปฏิบัติตาม ยทุ ธศาสตร์ดังกลา่ ว รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตรค์ วามมนั่ คง แห่งชาติ ยทุ ธศาสตร์การป้องกันประเทศ ยุทธศาสตร์การทหารแหง่ ชาติ และแผนปฎบิ ัติ การดา้ นความมน่ั คง

หลักสตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุน่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๓๐]

วชิ า ๑ – ๓ แนวคดิ ทฤษฎี อนาคตศึกษา Theories and Concepts of Future Study รหัส เวลา ๑๐๑๐๓ วธิ ีศกึ ษา ความมุ่งหมาย ๓ ช่ัวโมง

ขอบเขต บรรยาย/อภปิ ราย

เพ่ือศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี และระเบียบวิธีเก่ียวกับอนาคตศึกษา รวมท้ังศึกษา เปรียบเทียบรูปแบบและเทคนิคท่ีใช้เป็นเคร่ืองมือในการคาดการณ์อนาคตที่สำคั ญ อาทิ ศึกษาแนวโน้มการศึกษาความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ การสร้างภาพสถานการณ์ ฯลฯ ตลอดจนศึกษาในเร่ืองของอนาคตศาสตร์เชิงประยุกต์เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ตรวจสอบสภาพแวดล้อมและวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มทางยทุ ธศาสตร์

แนวคิด ทฤษฎี ของการศึกษาในการวิเคราะห์อนาคต การใช้เครื่องมือสำคัญ ๆ ในการวิเคราะหส์ ภาวะแวดลอ้ ม และกำหนดเป้าหมายทางยทุ ธศาสตร์ในอนาคต

วิชา ๑ – ๔ พลังอำนาจแห่งชาติ National Power รหสั เวลา ๑๐๑๐๔ วธิ ศี ึกษา ความมุ่งหมาย ๓ ช่วั โมง

ขอบเขต บรรยาย/อภิปราย

เพื่อศึกษาปัจจัยพลังอำนาจแห่งชาติด้านต่างๆ ได้แก่ กำลังอำนาจด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ตลอดจน พลังอำนาจแหง่ ชาติในศตวรรษที่ ๒๑ ทเ่ี รียกวา่ DIME

ศึ กษ าพ ลั งอำน าจ แ ห่ งช าติ แ ล ะปั จ จั ย พ ลั งอำน าจ แ ห่ งช าติ ท่ี เป็ น รู ป ธร รม ได้ แ ก่ ภูมิศาสตร์ ภูมิรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต การเศรษฐกิจ การศึ กษ า ป ระช ากร การท ห าร วิท ยาศ าสต ร์ เท คโน โลยี การพ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และข้อมูลข่าวสาร กับปัจจัยท่ีเป็นนามธรรม ได้แก่ ลักษณะ และเอกลักษณ์ประจำชาติ อุดมการณ์ของชาติ แบบแผนของชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภาวะผู้นำ ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และความจงรักภักดี รวมถึงศึกษาพลังอำนาจแห่งชาติยุคใหม่ที่ใช้ในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติท่ีเรียก เปน็ ตวั ย่อว่า ‘DIME’ เพอ่ื พจิ ารณาในการปรับปรงุ พลงั อำนาจแหง่ ชาตขิ องไทย

หลกั สตู รการป้องกันราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๓๑]

หมวดวิชาที่ ๒ การกำหนดยุทธศาสตร์ และองคป์ ระกอบยทุ ธศาสตร์ (ม.๒) Module 2 : Strategy Formulation and The Elements of Strategy (M2)

ความมุง่ หมาย

เพ่ือศึกษา ในหลักคิดของการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์ความมั่นคง ตลอดจน กระบวนการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ แนวความคิดในการกำหนด รายละเอียดของขั้นตอนต่าง ๆ ในการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ การกำหนดเป้าหมายของยุทธศาสตร์ การกำหนดผลประโยชน์แห่งชาติ การใช้พลังอำนาจแห่งชาติด้านต่าง ๆ การวิเคราะห์ภัยคุกคาม และ ความท้าทายรูปแบบต่าง ๆ และการพัฒนานโยบาย และองค์ประกอบสำคัญของยุทธศาสตร์และ ยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงแนวทางในการนำยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติหรือการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ และการปรบั ปรุงแกไ้ ขยทุ ธศาสตร์

ผลลัพธ์ท่ตี อ้ งการ

นักศึกษาได้รับความรู้และความเข้าใจ เก่ียวกับตัวแบบกระบวนการในการจัดทำ ยุทธศาสตร์ชาติของวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรฯ การกำหนดองค์ประกอบสำคัญของยุทธศาสตร์ ชาติเช่น การกำหนดผลประโยชน์แห่งชาติ วัตถุประสงค์แห่งชาติ พลังอำนาจแห่งชาติด้านต่างๆ ในภาพรวม สามารถวิเคราะหภ์ ยั คกุ คามและความท้าทายรูปแบบตา่ งๆ และสามารถกำหนดยทุ ธศาสตร์ ด้านต่าง ๆ ท่กี ฎหมายกำหนด รวมถึงการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรช์ าตเิ พื่อบรรลุเปา้ หมายท่ีกำหนด

หัวขอ้ วชิ า

หวั ข้อ รหัส ช่อื วิชา เวลาเรียน วธิ ีการศึกษา วิชา (ชั่วโมง:นาที)

๒ - ๑ ๑๐๒๐๑ การตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มทางยุทธศาสตร์ ๓ บรรยาย/

อภปิ ราย

๒ - ๒ ๑๐๒๐๒ ขอ้ พิจารณาการตรวจสอบสภาพแวดลอ้ ม ๓ ถกแถลง

ทางยทุ ธศาสตร์

๒ - ๓ ๑๐๒๐๓ การกำหนดสว่ นเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ และการ ๓ บรรยาย/

กำหนดผลประโยชน์แหง่ ชาติ อภปิ ราย

๒ - ๔ ๑๐๒๐๔ ข้อพิจารณา การกำหนดส่วนเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ ๓ ถกแถลง

ชาติ และการกำหนดผลประโยชน์แห่งชาติ

หลกั สตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๓๒]

หวั ข้อ รหัส ชื่อวิชา เวลาเรียน วธิ ีการศกึ ษา วชิ า (ช่ัวโมง:นาที)

๒ - ๕ ๑๐๒๐๕ ยุทธศาสตร์ชาติของประเทศต่าง ๆ ๓ บรรยาย/

อภิปราย

๒ - ๖ ๑๐๒๐๖ ยุทธศาสตรช์ าตขิ องประเทศไทย ๓ บรรยาย/

(กรอบแนวคดิ แนวทางการขับเคล่อื น อภปิ ราย

การตรวจสอบตดิ ตาม และการประเมนิ ผลลัพธ)์

๒ - ๗ ๑๐๒๐๗ หลักการ แนวคิด โครงสร้างยุทธศาสตร์และแนว ๓ บรรยาย/

ทางการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาติ อภิปราย

ผรู้ ับผิดชอบ : กองยุทธศาสตรแ์ ละความม่ันคง ฯ

หลกั สตู รการป้องกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๓๓]

วิชา ๒ – ๑ การตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตร์ Strategic Environment Scanning รหัส เวลา ๑๐๒๐๑ วธิ ีศึกษา ความมุ่งหมาย ๓ ชวั่ โมง

ขอบเขต บรรยาย/อภิปราย

เพ่ือศึกษา ข้ันตอน หลักการ การวิเคราะห์แนวโน้ม การเปล่ียนแปลงของสภาวะ แวดล้อมทางยุทธศาสตร์ ในทุกมิติท่ีเกี่ยวข้องกับความมั่นคงของชาติ รวมถึงพลัง อำนาจแห่งชาติ ท้ังในอดีต ปัจจุบันและอนาคต ทั้งจากปัจจัยภายนอกและปัจจัย ภายในประเทศ ท่ีมีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติ โดยใช้เทคนิค หรือตัวแบบการวิเคราะห์ท่ีได้ศึกษามา ศึกษาประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับภัยคุกคาม ความม่นั คงและความม่ันคงร่วมสมยั

ขัน้ ตอนและหลักการ ตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตร์ ปัญหาการขับเคลื่อน ในทุกมิติที่เก่ียวข้องกับความมั่นคงของชาติ รวมถึงพลังอำนาจ ผลกระทบที่เกิดข้ึน แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ในมิติต่าง ๆ แนวทางการพัฒนาหรือการรองรับผลกระทบท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงประเด็น ปัญหาความมั่นคงในโลกร่วมสมัย (Contemporary Security)

วชิ า ๒ – ๒ ข้อพจิ ารณาการตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มทางยุทธศาสตร์ Conceptualization of Strategic Environment Scanning รหสั เวลา ๑๐๒๐๒ วธิ ศี ึกษา ความมุ่งหมาย ๓ ช่ัวโมง

ถกแถลง

เพ่ือให้นักศึกษาได้ร่วมกันถกแถลง ศึกษาในรายละเอียดตามข้ันตอนและหลักการ ตรวจสอบสภาพแวดล้อมทางยทุ ธศาสตร์ การวิเคราะห์หาแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลง ของสภาวะแวดลอ้ มทางยทุ ธศาสตร์ ที่สำคัญ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ความมน่ั คงของชาติ และ พลงั อำนาจแหง่ ชาติ ท้ังในอดตี ปัจจบุ นั และอนาคต ทง้ั จากปจั จยั ภายนอกและปัจจัย ภายในประเทศ ที่มีอิทธิพลและส่งผลกระทบต่อความม่ันคงของชาติ และสามารถ นำเสนอแนวทางในการป้องกัน แก้ไข หรือการขับเคล่ือนประเทศ ไปสู่เป้าหมาย ที่เห็นเป็นโอกาสจากผลกระทบของสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ท่ีเปลี่ยนไป ในอนาคต

หลักสตู รการป้องกนั ราชอาณาจกั ร รนุ่ ท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศกึ ษา ฯ

[๓๔]

วชิ า ๒ – ๓ การกำหนดส่วนเป้าหมายของยุทธศาสตรช์ าติ และการกำหนด ผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ รหัส Determination of the “Ends Part” of National Strategy and เวลา National Interests วิธศี กึ ษา ความมุ่งหมาย ๑๐๒๐๓

ขอบเขต ๓ ชวั่ โมง

บรรยาย/อภปิ ราย

เพ่ือศึกษา แนวคิด ในการกำหนดส่วนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ อันเกิดจาก ความมงุ่ ประสงคข์ องประชาชน และความต้องการพัฒนาประเทศ รวมถึงการกำหนด วิสยั ทัศน์ และการกำหนดกลุ่มผลประโยชนแ์ ห่งชาติ ตามแนวความคิดในการกำหนด ผลประโยชน์แห่งชาติ และกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องรวมถงึ กฎหมายระหวา่ งประเทศด้วย

แนวความคิดในการกำหนดส่วนเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ การกำหนดวิสัยทัศน์ ของชาติ การกำหนดผลประโยชน์แห่งชาติ องค์ประกอบของผลประโยชน์แห่งชาติ ผลประโยชน์เหล่านั้นมีลำดับความสำคัญอย่างไร และเคร่ืองมือพลังอำนาจแห่งชาติ อะไรบ้างเท่าท่ีมีอยู่ มีความเหมาะสมและเป็นท่ียอมรับได้ในอันท่ีจะให้ได้มา ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญตามกลุ่ม ผลประโยชน์แห่งชาติ และการกำหนดวัตถุประสงค์แห่งชาติ ตามเป้าหมายของ ผลประโยชนแ์ ห่งชาติ

วิชา ๒ – ๔ ขอ้ พจิ ารณาการกำหนดสว่ นเปา้ หมายของยุทธศาสตร์ชาตแิ ละ การกำหนดผลประโยชนแ์ หง่ ชาติ รหัส Conceptualization of Determination of the “Ends Part” of เวลา National Strategy and National Interests วิธศี กึ ษา ความมุ่งหมาย ๑๐๒๐๔

๓ ชว่ั โมง

ถกแถลง

เพ่ือใหน้ ักศึกษาได้ ถกแถลง ศกึ ษาในรายละเอยี ด และทำความเขา้ ใจ การกำหนดส่วน เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ การกำหนดวิสัยทัศน์ของชาติ การกำหนดผลประโยชน์ แห่งชาติ องค์ประกอบของผลประโยชน์แห่งชาติ ผลประโยชน์เหล่าน้ันมีลำดับ ความสำคัญอย่างไร และเครื่องมือพลังอำนาจแห่งชาติอะไรบ้างเท่าที่มีอยู่มีความ เหมาะสมและเป็นท่ียอมรับได้ในอันที่จะให้ได้มาซ่ึงผลประโยชน์แห่งชาติ การกำหนด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญตามกลุ่มผลประโยชน์แห่งชาติ และการกำหนด วัตถุประสงคแ์ ห่งชาติ ตามเปา้ หมายของผลประโยชนแ์ ห่งชาติ

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุน่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๓๕]

วชิ า ๒ – ๕ ยทุ ธศาสตร์ชาติของประเทศตา่ ง ๆ National Strategies of Various Countries รหัส เวลา ๑๐๒๐๕ วธิ ศี กึ ษา ความมุ่งหมาย ๓ ชั่วโมง บรรยาย/อภิปราย ขอบเขต ศกึ ษาการกำหนด การพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ และการบริหารจัดการยทุ ธศาสตร์ ของ ประเทศตา่ ง ๆ ทส่ี ำคัญ โครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติ ผลประโยชน์แห่งชาติ วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ วัตถปุ ระสงค์เฉพาะแห่งชาติ นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ ของประเทศต่าง ๆ ท่ีสำคญั

วิชา ๒ – ๖ ยทุ ธศาสตรช์ าติของประเทศไทย (กรอบแนวคิด แนวทางการขับเคลื่อน การตรวจสอบตดิ ตาม และการประเมินผลลัพธ์) รหสั Thailand's National Strategy (Concepts of Execution , เวลา Monitoring and Evaluation of National Strategy) วธิ ศี ึกษา ความมุ่งหมาย ๑๐๒๐๖ ๓ ช่วั โมง ขอบเขต บรรยาย/อภปิ ราย เพื่อศึกษาสาระสำคัญของพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติของป ระเทศไทย ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ศึกษาความเป็นมาของการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ และสาระสำคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) การตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล เพ่ือพิจารณา นำไปกำหนดแนวทาง ให้ข้อเสนอแนะในการขบั คล่ือนยทุ ธศาสตรช์ าติ ศึกษาพระราชบัญญัติการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ ศึกษารัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับยุทธศาสตร์ชาติ เน้ือหาของยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) การตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผลยุทธศาสตร์ชาติ เพอื่ ให้ขอ้ เสนอแนะทีส่ ำคัญในการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรช์ าติ

วิชา ๒ – ๗ หลักการ แนวคิด โครงสรา้ งยุทธศาสตร์และแนวทางการ ขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตร์ชาติ รหสั Principles Concepts of the Strategic Structure Leads to Drive เวลา the National Strategy วิธีศกึ ษา ความมุ่งหมาย ๑๐๒๐๗ ๓ ชั่วโมง ขอบเขต บรรยาย/อภิปราย เพอ่ื ศกึ ษา เขา้ ใจหลกั การและแนวคิด การกำหนดยทุ ธศาสตรช์ าติ ใหส้ อดคล้องกับสภาวะ แวดล้อมทางยทุ ธศาสตรท์ เี่ ปล่ยี นไป เพอ่ื เสนอแนะแนวทางการขับเคล่ือนยุทธศาสตรช์ าติ ศึกษาตัวแบบ (Classic Model ของ วปอ.) ในการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ศึกษา เน้ือหาของยุทธศาสตรช์ าติ กฎหมายที่เก่ียวข้อง การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม เพ่ือการรวบรวมข้อเสนอแนะที่สำคัญ และเป็นประโยชน์ต่อการขับเคล่ือน ยุทธศาสตร์ชาติ จากการทบทวน ผลการปฏิบัติ ปัญหา อุปสรรค และผลลัพธ์ของ การขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตร์ชาติที่ผ่านมา

หลกั สตู รการป้องกันราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ

[๓๖]

กลุ่มวิชาที่ ๒ สภาวะแวดลอ้ มโลก และสภาวะแวดลอ้ มภายในประเทศ Group 2 : Global context and Domestic Affairs

ความมงุ่ หมาย

กลุ่มวิชานี้มีความมุ่งหมายที่จะศึกษาเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมโลกและสภาวะแวดล้อม ภายในประเทศ ครอบคลุมทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม และข้อมูลข่าวสาร ทมี่ ีผลกระทบต่อความ ม่ันคงแห่งชาติ โดยการวิเคราะห์และประเมินสภาวะแวดล้อมภายนอกในระดับโลก ภูมิภาค และ ประเทศ ซึ่งมีผลต่อการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ ตลอดจนการพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติของ ส่วนราชการท่เี ก่ยี วขอ้ ง

ผลลพั ธ์ทีต่ อ้ งการ

นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกย่ี วกับระบบโลกในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ในทุกมิติ ของกำลงั อำนาจแหง่ ชาติ ซึง่ จะเป็นพื้นฐานความเขา้ ใจในหมวดวิชาต่อไปในกล่มุ วิชาที่ ๓

นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้ท่ีได้รับในห้องเรียนไปใช้ในการแยกกลุ่มถกแถลงให้ได้ ผลผลิตสภาวะแวดล้อมโลกและสภาวะแวดล้อมภายในประเทศ ท่ีมีผลกระทบต่อความม่ันคง เพ่ือเป็น ขอ้ มลู ในการจดั ทำยทุ ธศาสตร์ชาตติ อ่ ไป

ผรู้ ับผิดชอบ : กองการเมอื งและการทหาร ฯ

หลักสตู รการปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กันยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศึกษา ฯ

[๓๗]

หมวดวิชาท่ี ๓ สภาวะแวดล้อมโลกกับความม่ันคงแห่งชาติ (ม.๓) Module 3 : Consequential Trends of Global Contests

Towards National Security (M3)

ความมุ่งหมาย

เพื่อศึกษาสภาวะแวดล้อมภายนอกประเทศ และแนวโน้มที่ส่งผลกระทบต่อความม่ันคง ของไทยในทุกกำลงั อำนาจแห่งชาติ

ผลลพั ธท์ ต่ี อ้ งการ

นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเก่ียวกับสภาวะแวดล้อมในปัจจุบัน และสามารถวิเคราะห์ แนวโน้มการเปล่ียนแปลงของโลกได้ ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาสภาวะแวดล้อมในด้านอ่ืนใน กลมุ่ วิชาท่ี ๓ ตอ่ ไป

หวั ข้อวิชา

หวั ข้อวิชา รหัส ชือ่ วิชา เวลาเรยี น วธิ ีการศึกษา ๓-๑ ๒๐๓๐๑ (ช่ัวโมง:นาที) บริบททศิ ทางและแนวโน้ม บรรยาย/ ๓-๒ ๒๐๓๐๒ การเปล่ยี นแปลงของโลก ๓ อภปิ ราย ขอ้ พิจารณาดา้ นตา่ ง ๆ ตอ่ ความมนั่ คงแห่งชาติ ๑:๓๐ ถกแถลง

ผรู้ บั ผดิ ชอบ : กองการเมอื งและการทหาร ฯ

หลกั สตู รการปอ้ งกันราชอาณาจกั ร รุ่นท่ี ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพฒั นาการศกึ ษา ฯ

[๓๘]

วชิ า ๓ – ๑ บรบิ ททิศทางและแนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงของโลก Directions and Trends Context on an Ever-Changing World รหสั เวลา ๒๐๓๐๑ วิธศี ึกษา ความมุ่งหมาย ๓ ชั่วโมง

ขอบเขต บรรยาย/อภปิ ราย

สามารถประเมินสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ได้ ตลอดจนสามารถคาดการณ์ ถึงผลกระทบต่อความม่ันคงของชาติ รวมทั้งสามารถให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายด้าน ความม่ันคง สามารถวิเคราะห์ เปรียบเทียบแนวโน้มของสถานการณ์ทางยุทธศาสตร์ ท้งั ในระดบั โลกและระดบั ภูมภิ าค ทม่ี ผี ลกระทบต่อความมน่ั คงของประเทศไทย

ศึกษาทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ศึกษา เปรียบเทียบโครงสร้างและระบบ การเมืองการปกครองในระบอบต่าง ๆ ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษากำลังอำนาจ ดา้ นต่าง ๆ ศึกษาแนวโนม้ ภมู ิรฐั ศาสตร์และยทุ ธศาสตรโ์ ลก

วิชา ๓ – ๒ ข้อพิจารณาด้านตา่ ง ๆ ต่อความมน่ั คงแหง่ ชาติ Conceptualization of Related Various aspects of รหสั National Security เวลา วธิ ศี ึกษา ๒๐๓๐๒ ความมุ่งหมาย ๑ ชั่วโมง ๓๐ นาที

ถกแถลง

นักศึกษาได้มีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมโลกในทุกด้าน ตามปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ ว่ามีผลกระทบต่อความม่ันคงแห่งชาติและ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี อยา่ งไร (หวั ขอ้ การถกแถลงจะแจ้งใหท้ ราบในโอกาสต่อไป)

หลกั สตู รการป้องกันราชอาณาจกั ร รนุ่ ที่ ๖๕ (ตลุ าคม ๒๕๖๕-– กนั ยายน ๒๕๖๖) : กองพัฒนาการศึกษา ฯ