คอมเพรสเซอร แอร รถยนต ไม ม แรง อ ด

อาการนี้ ลองให้ช่างใกล้บ้าน หรือคนรู้จักที่มีความรู้ทางงานช่างไฟฟ้า(และมีเครื่องมือ) มาทำการตรวจสอบเบื้องต้น ซึ่งวิธีเบื้องต้นขั้นแรกก็คือ ลองใช้แคลมป์มิเตอร์มาคล้องตรงสายเมนที่จ่ายไฟให้แอร์เส้นใดเส้นหนึ่ง เพื่อวัดกระแสไฟฟ้า กรณีเช่นนี้ถ้าวัดกระแสไฟฟ้า ส่วนมากก็จะพบสาเหตุ

ผมขอสรุปสาเหตุเบื้องต้นที่มีความน่าจะเป็นไปได้ ให้ดังต่อไปนี้

เมื่อคล้องแคลมป์มิเตอร์แล้วเปิดให้เครื่องทำงาน เมื่อพัดลมที่ชุดคอนเด็นซิงยูนิตทำงาน ให้สังเกตุที่หน้าปัทม์ของมิเตอร์ ถ้าเป็นมิเตอร์อนาล็อค(แบบเข็ม) เมื่อคล้องมิเตอร์ที่สายไฟเพื่อวัดกระแส หากเข็มมิเตอร์สวิงขึ้นแล้วลงซ้ำๆกัน แสดงว่าคอมเพรสเซอร์สตาร์ทไม่ออก ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมีสาเหตุจาก Capacitor Run ชำรุด ให้เปลี่ยนใหม่

แต่ถ้าคล้องวัดกระแสแล้ว ค่ากระแสที่วัดได้น้อยมากหรือเข็มแทบไม่กระดิกขึ้นเลย แสดงว่าคอมเพรสเซอร์ไม่มีการทำงานเลย ต้องมาไล่เช็คในส่วนวงจรไฟฟ้า หรือถ้าเช็คแล้ววงจรไฟฟ้าปกติ ต้องมาเช็คที่คอมเพรสเซอร์ว่ามอเตอร์คอมเพรสเซอร์เสียหรือไม่

ถ้าสัมผัสที่ตัวถังชุดคอนเด็นซิ่งยูนิต รู้สึกได้ว่าคอมเพรสเซอร์ทำงาน หรือได้ยินเสียงคอมเพรสเซอร์ แต่เมื่อวัดกระแสแล้วค่ากระแสที่วัดได้ต่ำกว่าค่ากระแส ที่แสดงไว้บนป้านเนมเพลตที่ตัวเครื่อง ในระดับที่ต่ำเกินไป ให้ลองวัดแรงดันน้ำยา เพื่อตรวจสอบปริมาณน้ำยาในระบบ

ถ้าคล้องแคลมป์มิเตอร์ไว้ก่อนที่พัดลมของชุดคอนเด็นซิ่งยูนิตจะเริ่มทำงาน แล้วเมื่อพัดลมชุดคอนเด็นซิ่งยูนิตเริ่มทำงาน เข็มมิเตอร์สวิงขึ้นสุดสเกล แล้วค้างไม่ตกลง ซึ่งถ้ากระแสขึ้นสูงค้างเป็นเวลาสักพักหนึ่ง ส่วนใหญ่แล้วเซอร์กิตเบรกเกอร์จะทริป เพราะเกิดโอเวอร์โหลด มีสาเหตุมาจากกระแส Lock Rotor Amp. เกิดขึ้นจากการที่กลไกลภายในของคอมเพรสเซอร์ล็อกไม่หมุน ถ้าเจอแบบนี้ต้องเปลี่ยนคอมฯใหม่

หาก จขกท.กลัวโดนช่างขูดรีด เวลาช่างมาตรวจสอบ หากพื้นที่บริเวณที่ติดตั้งคอยล์ร้อนเข้าถึงได้ง่ายสะดวก ควรเดินเข้าไปดู ซักถามพูดคุย แล้วถามเรื่องกระแสไฟฟ้าที่ช่างวัดได้ วัดกระแสเบื้องต้นได้เท่าใด ก็พิจารณาขั้นต้นตามที่ได้บอกไปครับ

สารบัญ 1 1 บทนำ 3 ข้ันตอนการเปล่ยี นคอมเพลสเซอร์ ขนาด 18,000 BTU เครอ่ื งมืออุปกรณ์และขอ้ ควรระวงั 60 01.การถอดฝาครอบคอมเพรสเซอร์ เคร่ืองปรับอากาศ 02.ใชไ้ ฟเชอื่ มแก๊สเป่าจุดตอ่ เพ่ือนาคอมเพรสเซอรอ์ อก 03.ล้างระบบท่อแอร์ด้วยน้ายาF11 04.เช่อื มทอ่ แอรพ์ รอ้ มตดิ ตั้งคอมเพรสเซอรล์ กู ใหม่ 05.การแวคคม่ั ดดู ความชื่นออก 06.ตรวจเช็คการทางานคอมเพรสเซอร์เคร่ืองปรับอากาศ ภาคผนวก ภาคผนวก ก การตรวจเช็คสภาพมอเตอร์ ภาคผนวก ข การซอ่ มบำรงุ สว่ นตา่ งๆ ตามตาราง ภาคผนวก ค ..................... ......... ........... ประวตั ิผู้จดั ทำ

หมายเหตุ ถา้ ไมจ่ บใน 1 หน้าหน้าถดั ไปใหพ้ มิ พ์คำวา่ " สารบัญ(ตอ่ ) ".

สารบัญ 1 1-2 บทนำ 3-5 ข้นั ตอนการเปล่ียนคอมเพลสเซอร์ ขนาด 18,000 BTU 6-7 เครอ่ื งมืออปุ กรณแ์ ละข้อควรระวงั 01.การถอดฝาครอบคอมเพรสเซอร์ เครื่องปรับอากาศ 8-10 02.ใชไ้ ฟเชอ่ื มแกส๊ เป่าจุดตอ่ เพ่ือนาคอมเพรสเซอร์ออก 03.ล้างระบบทอ่ แอร์ด้วยน้ายาF11 11-13 04.เชือ่ มทอ่ แอร์พรอ้ มตดิ ต้ังคอมเพรสเซอรล์ กู ใหม่ 14-15 05.แวคคั่มดดู ความช่ืนออก 16-17 06.ตรวจเชค็ การทำงานคอมเพรสเซอร์ 18-20 ภาคผนวก 21 ภาคผนวก ก เครอ่ื งปรบั อากาศ ภาคผนวก ข คอมเพรสเซอร์ 22-30 บรรณานกุ รม 31-39 ประวตั ผิ ู้จดั ทำ 40-41 42

-1-

บทนำ

ในปัจจุบนั เครอ่ื งปรบั อากาศนัน้ เปน็ ส่ิงท่ีจาเป็นในการใชช้ วี ติ ในแต่ละวนั เพราะเมืองไทยมีอากาศที่รอ้ นผู้คนส่วนใหญ่ มักจะติดตั้งเครอื่ งปรับอากาศเกอื บทกุ ครวั เรอื นคอมเพรสเซอรข์ องเครื่องปรับอากาศคอื หวั ใจสาคญั ของระบบปรบั อากาศ ท้งั น้กี ารใช้เครอ่ื งปรับอากาศเปน็ ประจาเครอ่ื งปรบั อากาศจึงมอี าการชารดุ หรอื เสอ่ื มสภาพเครือ่ งปรับอากาศถงึ แม้วา่ คอมเพรสเซอรข์ องเครื่องปรบั อากาศจะเปน็ สิง่ ท่ไี ม่ไดช้ ารดุ บอ่ ยคร้ังแตก่ ารเปลย่ี นคอมเพรสเซอรเ์ ครื่องปรับอากาศนัน้ มี วิธีการเปลย่ี นที่ยากในระดับนงึ จงึ ต้องมคี ู่มอื ในการเปลีย่ น

คมู่ อื ฉบับน้ีมรี ปู ภาพประกอบและวีดโี อในการเปลย่ี นคอมเพรสเซอร์เครือ่ งปรบั อากาศรายละเอียดตา่ งๆ ของวสั ดอุ ปุ กรณ์และหวัง เป็นอยา่ งย่งิ วา่ คมู่ ือฉบับนจี้ ะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน

ขน้ั ตอนการเปลย่ี นคอมเพลสเซอรข์ นาด 18,000 BTU มี 6 ขน้ั ตอน

การถอดฝาครอบคอนเดนซงิ่

01

ใชไ้ ฟเช่ือมแก๊สเป่าจุดต่อเพื่อนา

02 คอมเพรสเซอรอ์ อก

ลา้ งระบบทอ่ แอรด์ ว้ ยนา้ ยาF11

03

-2-

ขัน้ ตอนการเปล่ยี นคอมเพลสเซอรข์ นาด 18,000 BTU มี 6 ขั้นตอน

เช่อื มท่อแอรพ์ รอ้ มตดิ ตงั้ คอมเพรสเซอรล์ กู

04 ใหม่

การแวคคมั่ ดดู ความชืน่ ออก

05

ตรวจเชค็ การทางานคอมเพรสเซอร์

06 เครอื่ งปรับอากาศ

-3-

เครอื่ งมืออปุ กรณ์และข้อควรระวัง การเปลยี่ นคอมเพรสเซอร์ ขนาด 18,000 BTU

ไขควงปากแฉก ไขควงปากแบน

ข้อควรระวัง ควรใช้ขนั สกรูแบบถูกวธิ ีไม่ ขอ้ ควรระวงั ควรใช้ขันสกรูแบบถกู วธิ ีไม่ใช้ ใชค้ วรแทนอุปกรณอ์ ื่น ควรแทนอุปกรณ์อืน่

สว่านไฟฟา้ ชุดแกส๊ เช่อื มทองแดง

ข้อควรระวัง ควรเช็คดอกสวา่ นว่าใสแ่ นน่ ขอ้ ควรระวงั บริเวณทท่ี างานไม่ควรมีสง่ิ ที่ตดิ หรือไม่ ไฟง่าย

คีม ผา้ เชด็ มือ

ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้คีม ตอกหรอื ทุบ งดั ข้อควรระวัง - แทนค้อน

-4-

เคร่อื งมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวงั การเปลย่ี นคอมเพรสเซอร์ ขนาด 18,000 BTU

เกจวดั น้ายาแอร น้ายาF11

ข้อควรระวงั ควรตรวจสอบจุดตอ่ ของสาย ขอ้ ควรระวัง ไมค่ วรให้สัมผัสบริเวณดวงตา เกจทุกครงั้ วา่ แนน่ หรอื ชารดุ หรอื ไม่ และผวิ หนังเพราะน้ายามีฤทธเ์ิ ป็นกรด

ถงั ไนโตรเจน กระบอกอัดนา้ ยาF11

ข้อควรระวงั ตรวจสอบจดุ ข้อต่อของหัวถงั ข้อควรระวัง ควรใชใ้ หถ้ กู วิธไี มใ่ ช้แทน ไนโตรเจนให้แนน่ ก่อนทจ่ี ะใชง้ าน อปุ กรณ์อ่นื

ลวดเชือ่ มท่อทองแดง เครอื่ งแวคคั่ม

ขอ้ ควรระวงั ใช้ใหถ้ ูกวิธีไมใ่ ช้แทน ขอ้ ควรระวัง กอ่ นใช้งานควรตรวจสอบว่า อุปรกรณ์อื่นๆ น้ามันแวคคั่มมหี รือไม่

-5-

เครือ่ งมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวัง การเปลี่ยนคอมเพรสเซอร์ ขนาด 18,000 BTU

ประแจเลื่อน แคลมป์ มเิ ตอร์

ข้อควรระวัง ใช้ให้ถูกวธิ ไี ม่ใช้ทุบหรืองดั จะ ข้อควรระวงั ควรปรบั ย่านใหต้ รงกับที่เราจะ ทาใหอ้ ุปกรณเ์ สียหาย วัดกระแส

-6-

01 ถอดฝาครอบคอนซิ่งเครอื่ งปรบั อากาศ

เครื่องมอื และอปุ กรณ์

เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวัง

-ควรขันสกรูอย่างระมดั ระวังไม่เรว็ จนเกนิ ไป -ควรใชม้ อื หรืออุปกรณร์ องสกรูท่ขี นั เพ่อื กัน -ควรกดนา้ หนกั ลงไปท่หี วั สกรู สกรูหล่นสูญหาย

-7-

01

ขนั้ ตอนปฏบิ ัตงิ านการถอดฝา ครอบคอนเดนซ่งิ

1.ขนั สกรูเพอ่ื ถอดฝาครอบด้านบน 2.ขนั สกรูฝาครอบดา้ นหนา้

3.ขนั สกรดู ้านข้างออก 4.ถอดฝาครอบเสรจ็ สมบรู ณ์

-8-

02 ใชไ้ ฟเชอื่ มแกส๊ เป่าจุดต่อเพ่ือนาคอมเพรสเซอรอ์ อก

เคร่อื งมือและอปุ กรณ์

เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั

-ใช้ไฟแกส๊ เป่าทอ่ ทองแดง -ควรทางานในท่ีท่ไี ม่มีสิ่งของติดไฟไดง้ า่ ย -ใช้คมี ดึงขอ้ ต่อของท่อทองแดงออกมา -ควรระมัดระวงั ไมใ่ ห้ไฟไปโดนสว่ นอ่ืนของ -นาผ้าชบุ นา้ มาปิดตรงทอ่ ทองแดงทร่ี อ้ น เคร่ืองปรบั อากาศ -ไมค่ วรโดนท่อทองแดงทร่ี อ้ น

-9-

02

ข้ันตอนปฏิบัติงานการใชไ้ ฟ เชอ่ื มแกส๊ เป่าจุดต่อเพือ่ นา คอมเพรสออก

https://bit.ly/3RIvxp7 2. ใชไ้ ฟเป่าท่อทองแดงดา้ นขา้ งใหร้ อ้ นแล้วนาคมี ดึง

1. ใชไ้ ฟเป่าท่อทองแดงดา้ นบนให้ร้อนแล้วนาคีมดึงออก

https://bit.ly/3RIvxp7

3. ใชไ้ ฟเป่าท่อไดเออร์ให้ร้อนแล้วนาคีมดงึ ออก 4. ค่อยๆยกคอมเพรสเซอรอ์ อกอย่างระมัดระวงั

- 10 -

02.3

5.ถอดคอมเพรสเซอรเ์ สร็จเรียบร้อย

- 11 -

03 ลา้ งระบบทอ่ แอรด์ ว้ ยนา้ ยาF11

เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์

เทคนิคการทำงาน ข้อควรระวงั

-นาสายเกจตอ่ เขา้ กับกระบอกอัดนา้ ยาF11 -ควรทางานในทีท่ ีไ่ ม่มีส่งิ ของติดไฟไดง้ า่ ย และต่อเขา้ กับถังไนโตรเจน -ควรระวงั การเปิดปิดแรงดนั จากถัง ไนโตรเจน ไมใ่ ห้แรงเกินไป -เปิดถังไนโตรเจนเพื่อไลแ่ รงดันน้ายาF11 -ระวงั ไมน่ า้ ยาF11กระเดน็ เลอะพนื้ ทีร่ อบๆ ใน ทอ่ น้ายา

- 12 -

03

ขนั้ ตอนปฏบิ ัตงิ านการ ลา้ งระบบทอ่ แอรด์ ว้ ยนา้ ยา F11

https://bit.ly/3uWvOeo 2. ตอ่ สายเกจทางดา้ นlowเขา้ กบั กระบอกอดั น้ายา 1. เทนา้ ยาF11ลงในกระบอกอัดน้ายา และสายเกจต่อจากกระบอกนา้ ยาไปยงั ท่อนา้ ยา

https://bit.ly/3uWvOeo

3. นาสายเกจสเี หลอื งตรงกลางเกจต่อเข้ากับถงั 4. นาขวดเปลา่ มารองน้ายาF11ทจ่ี ะไลอ่ อกมาจากทอ่ ไนโตรเจนเพอ่ื ไลแ่ รงดนั นา้ ยา

- 13 -

03.3

5.เปิดเกจดา้ นlowเพื่อใหแ้ รงดนั ไลน่ า้ ยาF11เขา้ ไป 6.สงั เกตนุ า้ ยาF11ท่ไี หลออกมาทางทอ่ นา้ ยาจะมสี ดี า ใน ระบบทอ่ นา้ ยาและดนั ออกมาทางท่อนา้ ยา

7.เมื่อไลจ่ นนา้ ยาF11ในกระบอกหมดแต่น้ายายังเป็น 8.เมอ่ื นา้ ยาF11ที่ไลแ่ รงดนั ออกมาใสแลว้ เสร็จขน้ั ตอน สดี าใหเ้ ติมนา้ ยาเขา้ ในกระบอกและไลร่ ะบบใหมจ่ นกว่า การไล่นา้ ยาF11เรยี บรอ้ ยแลว้ นา้ ยาทีอ่ อกมาเปน็ สีใส

- 14 -

04 เชือ่ มท่อแอรพ์ รอ้ มติดตงั้ คอมเพรสเซอรล์ กู ใหม่

เครือ่ งมือและอปุ กรณ์

เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวัง

-ใช้ไฟ รนทอ่ ทองแดงใหร้ อ้ นแล้วนาเอา -ควรทางานในทที่ ไ่ี ม่มสี ิ่งของตดิ ไฟได้งา่ ย ลวดทองแดงจมิ้ ตรงทีร่ อยต่อทอ่ ทองแดง -ควรระวงั ไม่ใหไ้ ฟลนทอ่ ทองแดงนานเกนิ ไป เพอื่ ให้ลวดทองแดงละลายเชือ่ ปิดรอยตอ่ ทอ่ จะทาใหท้ ่อขาดหรอื ละลายได้

- 15 -

04

ขนั้ ตอนปฏิบัติงานการ เช่อื มท่อแอรพ์ รอ้ มติดตงั้ คอมเพรสเซอรล์ กู ใหม่

https://bit.ly/3yOGRYj 2.เชือ่ มทอ่ ทองแดงดา้ นขา้ งที่ตอ่ กบั คอมเพรสเซอร์

1. เช่อื มท่อทองแดงดา้ นบนท่ีต่อกับคอมเพรสเซอร์

https://bit.ly/3yOGRYj

3. เชือ่ มไดเออร์ทีต่ ่อกบั คอมเพรสเซอร์ 4.เม่อื เช่ือมท่อทองแดงตามจุดทต่ี อ่ กบั คอมเพรสเซอร์ ครบแลว้ กเ็ สร็จสน้ิ ขน้ั ตอน

- 16 -

05 การแวคคมั่ ดดู ความชืน่ ออก

เคร่ืองมือและอปุ กรณ์

เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวงั

-ใชป้ ระแจขันฝาท่ีปิดอยูท่ ่ีวาลว์ ของ -ควรเช็คขอ้ ตอ่ เกจกบั เครอ่ื งแวคคม่ั ว่าแน่น หรอื ไม่ คอมเพรสเซอร์ -ควรใชเ้ วลาแวคคั่มประมาณ30-45นาท -นาเกจทางดา้ นlowตอ่ เขา้ กับคอมเพรสเซอร์ และสายเกจสเี หลอื งตอ่ เข้ากบั เครอ่ื งแวคค่มั

- 17 -

05

ข้ันตอนปฏิบัตงิ านการ การแวคคม่ั ดดู ความชื่นออก

https://bit.ly/3zeRrt9 2.เปิดเครอ่ื งแวคคม่ั และเปิดเกจดา้ นlowสังเกตวา่ เขม็ จะตกลงมาอยู่ที่ -30 1.นาสายเกจทางดา้ นlowสนี ้าเงนิ ต่อเข้ากบั คอมเพรสเซอรส์ ายเกจสีเหลืองต่อเข้ากบั เครอื่ งแวคคมั่

https://bit.ly/3zeRrt9

3.เปิดเคร่อื งให้ทาการแวคคั่มไวป้ ระมาณ30นาทีวธิ ฟี งั 4.เม่ือทาการแวคคมั่ เสร็จแลว้ ให้ปิดเกจกอ่ นเสมอแลว้ เสยี งดูคลิปวิดโี อได้ทีล่ งิ ค์ดา้ นบน ค่อยปิดเคร่อื งแวคคั่ม เสร็จสิน้ ขน้ั ตอน

- 18 -

06 ตรวจเช็คการทางานคอมเพรสเซอร์

เครอ่ื งปรบั อากาศ

เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์

เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวงั

-ใชไ้ ขควงขนั ฝาครอบแผงไฟออก -ควรระมัดระวังในการใชแ้ คลมป์ มเิ ตอร์ ตรวจสอบ -นาแคลมป์ มิเตอรห์ นบี คล้องกับสายไฟเส้นที่จะ ค่าทีจ่ ะใช้วัดใหด้ ี วดั คา่ กระแส -ควรระมัดระวังไฟร่วั ขณะวดั กระแส -ใช้เกจตอ่ เพอื่ จะดคู ่าแรงดันน้ายา

- 19 -

06

ข้ันตอนปฏบิ ัตงิ านการ ตรวจเชค็ การทางาน คอมเพรสเซอร์

https://bit.ly/3RLOqYj 2.นาสายเกจดา้ นlowต่อเข้ากบั เครอื่ งคอมเพรสเซอร์

1.ถอดฝาคลอบวงจรไฟฟา้ ที่คอนเดนซิ่งแลว้ นาแคลมป์ มิเตอรห์ นบี คลอ้ งไวท้ ีส่ ายไฟ

https://bit.ly/3RLOqYj

3.เปิดเครือ่ งทาการวดั กระแสและแรงดนั ของนา้ ยา 4.ตรวจเช็คกระแสและแรงดนั นา้ ยาว่าตรงตามที่เนม เพลทท่ตี ดิ มากับเครอื่ งก าหนดมาหรอื ไม่

- 20 -

06.3

5.เสรจ็ สนิ้ ข้นั ตอนการตรวจเช็คการทางานของคอม เพรสเซอร์

- 21 -

ภาคผนวก

- 22 -

ภาคผนวก ก เครอื่ งปรับอากาศ

- 23 -

เครอ่ื งปรับอากาศคอื อะไร

เครอ่ื งปรบั อากาศ หรือแอรเ์ ป็นเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ชนิดหนงึ่ ท่ใี ช้ในการปรับอุณหภมู ใิ หก้ ับภายในหอ้ งท่ี ตอ้ งการให้เยน็ ลง และคงท่ี ซ่ึงจริงๆ แลว้ เครืองปรับอากาศจะไมไ่ ด้มีเฉพาะทาความเยน็ อยา่ งเดียว ใน ตา่ งประเทศทมี่ ีอากาศหนาวอยแู่ ลว้ กจ็ ะใช้อกี ชนิดหนึง่ นนั่ คอื เคร่ืองทาความรอ้ น (Heater) แทน สาหรับในบทความนจี้ ะพูดถึงเคร่อื งปรับอากาศท่ที าความเยน็

สว่ นประกอบของเคร่อื งปรบั อากาศ 1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) เป็นอปุ กรณ์ชนิ้ แรกของเครอื่ งปรับอากาศ มหี นา้ ท่ีในการ เคลือ่ นสารทาความเย็น หรือนา้ ยาแอร์ ทาใหส้ ารทาความเยน็ มีคณุ หภมู ิและความดนั สงู ขนึ้

2. คอยล์รอ้ น (Condenser) เป็นอปุ กรณ์ทจี่ ะตดิ ต้งั ภายนอก ทาหน้าที่ในการระบายความ รอ้ น จากสารทาความเย็นออก 3. คอยล์เยน็ (Evaporator) เป็นอุปกรณ์ทต่ี ิดตังอยูภ่ ายใน ทาหน้าท่ใี นการดดู ซบั ความรอ้ น จาก ภายในใหเ้ ข้าไปสสู่ ารทาความเย็น

4. อุปกรณ์ลดความดนั (Throttling Device) เป็นอุปกรณท์ ่ีใช้ในการลดความดนั และ อณุ หภูมิ ของสารทาความเยน็

ขั้นตอนการทางานของเครอื่ งปรับอากาศ 1. คอมเพรสเซอร์ จะดดู และอัดความดันเข้าสู่สารทาความเยน็ และส่งตอ่ ไปยังคอยลร์ อ้ น

2. น้ายาจะไหลผา่ นแผงคอยลร์ อ้ น และใช้พัดลมเป่าเพ่ือระบายความรอ้ นออกจากสารทาความ เยน็ ทาใหอ้ ุณหภมู ิลดลง และสง่ ต่อไปยงั อุปกรณล์ ดความดัน

3. น้ายาจะไหลผ่านจากอุปกรณ์ลดความดนั ไปยังคอยล์เยน็ โดยผ่านทอ่ ซึ่งนา้ ยาทไี่ หลในส่วนนี้ จะมคี วามดันตา่ และอุณหภูมติ ่า

4. นา้ ยาจะไหลผา่ นแผงคอยล์เยน็ โดยมพี ดั ลมเป่า ทาให้สารทาความเยน็ ดดู ซบั ความรอ้ นออก จากภายในหอ้ ง ทาใหน้ ้ายามีความรอ้ นสูงขนึ้ และจะถูกสง่ กลบั ไปยงั คอมเพรสเซอร์

- 24 -

ประเภทของเครอื่ งปรบั อากาศ

1. แอรต์ ดิ ผนงั (Wall Type)เป็นเคร่ืองปรบั อากาศท่พี บเห็นได้บ่อยทสี่ ุด เพราะเป็น เคร่อื งปรบั อากาศทส่ี ามารถติดตั้งได้ งา่ ย บารุงรักษา-ซอ่ มได้ง่าย มหี ลากหลายฟังกช์ นั่ ใหใ้ ช้ งาน มีความเงียบ แตอ่ าจจะไม่เหมาะสาหรับ การใชง้ านหนกั และไมส่ ามารถเคล่ือนย้ายได้

โดยมักจะมี BTU อยูท่ ่ี 9,000 BTU จนถึง 20,000 BTU เลยทเี ดียว

ขอ้ ดขี องแอร์ตดิ ผนัง หรอื แอร์วอลไทป์ • มีแอรต์ ดิ ผนังใหเ้ ลือกหลากหลายรูปแบบและหลากหลายยี่ห้อดว้ ยเช่นกนั

• รูปแบบทนั สมยั และมใี หเ้ ลอื กหลากหลาย มาพรอ้ มฟังก์ชนั่ ทที่ ันสมยั • การทางานของแอรว์ อลไทป์ จะเงียบ

• ซ่อมง่าย ทานบุ ารุงง่าย ขอ้ เสยี ของแอร์ติดผนงั หรือแอรว์ อลไทป์

• แอรว์ อลไทป์ ไม่เหมาะกบั งานหนัก เนื่องจากคอยล์เยน็ มขี นาดเลก็ สง่ ผลให้คอยล์ สกปรก และ อดุ ตันงา่ ยกวา่ คอยล์ที่มขี นาดใหญ่กวา่

- 25 -

2. แอรแ์ บบตั้งพื้นหรอื แขวน (Ceiling / Floor Type) เป็นแอรท์ ีใ่ ชง้ านคล้ายๆ กบั เครือ่ งปรบั อากาศแบบตดิ ผนงั แตช่ นดิ นจี้ ะวางไว้กบั พนื้ ที่

หอ้ ย แขวนไว้บนผนัง ไมส่ ามารถเคลอื่ นยา้ ยได้ สาหรับการติดต้ังบนพนื้ ควรจะคานงึ ถงึ การ กระจายความ เยน็ ดว้ ย ถา้ หากวางไว้ในตาแหน่งท่ไี มด่ ี กจ็ ะไมส่ ามารถกระจายความเยน็ ไดท้ ว่ั ถงึ

ข้อดี • ตดิ ตงั้ งา่ ย ไม่ต้องทานั่งรา้ นต่อขนึ้ ไปเพือ่ วางแอรห์ รอื คอมเพรสเซอรต์ ่างๆ • เปิดใช้

แลว้ ทาใหร้ สู้ กึ ถึงความเยน็ ได้รวดเร็วเพราะแอรอ์ ยู่ในระดับตวั โดยตรง ขอ้ เสยี

• ไมค่ อ่ ยมรี ูปแบบดไี ซนใ์ หเ้ ลือกหลากหลาย • ถา่ ยเทความเยน็ ไม่ดเี ท่าแอรต์ ดิ ผนงั ท่เี ป่าลมลงมาจากที่สงู อาจมปี ญั หาความเยน็ กระจกุ อยูท่ ี่ จุดๆ เดียว

- 26 -

3. แอร์แบบฝังตดิ เพดาน เคร่อื งปรบั อากาศชนิดนี้ จะเป็นเครือ่ งปรบั อากาศขนาดใหญ่ ราคาคอ่ นขา้ งสูง มกี ารติดตั้ง

ที่ ซับซ้อน แต่จดุ เด่นของเครื่องปรบั อากาศชนิดนคี้ อื จะมองไมเ่ ห็นตวั เครอื่ งปรบั อากาศโผล่ ออกมา ด้านนอก ทาให้ไมเ่ ปลืองพนื้ ท่ี นอกจากจะใชภ้ ายในบา้ นแลว้ หา้ งสรรพสินค้า โรงแรม ก็ใช้งานเชน่ กนั เพราะเคร่ืองปรบั อากาศชนดิ นสี้ ามารถกระจายความเย็นได้ทัว่ ถึง

ขอ้ ดี • ไมเ่ ปลืองพนื้ ที่ ดูเท่ โมเดริ น์ • กระจายอากาศไดด้ ี โดยเฉพาะหากติดต้งั บริเวณกลางหอ้ ง

ข้อเสยี • ติดตงั้ ยาก อาจตอ้ งคดิ เรอ่ื งการติดตง้ั พรอ้ มๆ กับข้นั ตอนการสรา้ งไปเลย • เสยี คา่ ใช้จา่ ยเยอะ ท้งั เครอ่ื งทม่ี กั จะแพงกวา่ และค่าตดิ ต้ังท่ียากกวา่

- 27 -

4. ระบบปรบั อากาศในอาคาร (HVAC) เป็นระบบในการปรบั อากาศขนาดใหญ่กว่าการ ติดตง้ั แอรบ์ ้างทัว่ ไป โดยระบบนจี้ ะมเี ครืองทา ความเยน็ และส่งและระบายลมออกผา่ น ท่อลม ซ่ึง ระบบนมี้ ักจะใชใ้ นพนื้ ที่ขนาดใหญ่ เชน่ หา้ งสรรพสินคา้ อาคารสานกั งาน ขนาดใหญ่

5. แอร์แบบตตู้ ง้ั พื้น (Package Type) เครือ่ งปรบั อากาศชนิดนจี้ ะมีลกั ษณะเป็นตู้ สีเ่ หลย่ี ม ไม่คอ่ ยนยิ มใชง้ านภายในบา้ น เพราะตัวตู้ มีขนาดใหญ่ ต้ังอยูบ่ นพนื้ ซึ่ง เครือ่ งปรับอากาศชนดิ นจี้ ะเหมาะใชใ้ นพนื้ ท่มี ีขนาดใหญ่ เชน่ หอ้ ง ประชมุ สนามบิน

- 28 -

6. แอร์แบบเคล่อื นท่ี (Movable Type) เครอ่ื งปรับอากาศชนิดนจี้ ะเริ่มพบเห็นได้บ่อย เพราะมขี นาดเลก็ และยังเคลอื่ นท่ีได้อีกดว้ ย แต่

แอรช์ นิดนมี้ ีขนาด BTU ทต่ี า่ จงึ ไม่เหมาะกบั หอ้ งท่ีมีขนาดใหญ่

ขอ้ ดี • ขนาดกะทัดรดั • ไม่ต้องติดตั้ง

ข้อเสีย • ใชไ้ ดแ้ ต่ในหอ้ งขนาดเล็ก BTU ต่า

- 29 -

ขนาดของเครื่องปรับอากาศ เคร่ืองปรับอากาศเป็นขนาดเป็น BTU ย่อมาจาก British thermal unit เป็นหน่วยวดั

ทบ่ี อกถงึ ประสิทธภิ าพในการทาความเย็น ซงึ่ การเลอื กขนาดของเคร่อื งปรับอากาศจะตอ้ งเลือกให้ เหมาะสมกบั ขนาดหอ้ งทใี่ ช้งาน

• ถ้าหากใช้แอรท์ มี่ ี BTU ต่าไป จะทาให้คอมเพรสเซอรท์ างานตลอดเวลา ทาใหส้ นิ้ เปลอื ง พลงั งาน และเครื่องทางานหนกั เกินไป ทาใหเ้ ครอื่ งปรับอากาศเสียไดเ้ รว็ ขนึ้ • ถ้าหากใช้แอรท์ ีม่ ี BTU สงู เกนิ ไป ทาใหค้ อมเพรสเซอรต์ ดั การทางานบอ่ ย ทาใหป้ ระสิทธภิ าพ ในการทางานลดลง ทาให้มีความชนื้ ในห้องสูง อยู่แลว้ ไมส่ บายตวั

ระบบอนิ เวอร์เตอร์

ระบบอินเวอรเ์ ตอร์ (Inverter) คอื ระบบทน่ี าเอาความรทู้ างด้านอิเลคทรอนิกสท์ ่ีควบคุม การทางานดว้ ยคาสงั่ จาก ไมโครคอมพิวเตอรท์ ีส่ ัง่ งานโดยตรงจากรีโมทคอนโทรลและนาคาส่งั ดังกล่าว มาใช้ ควบคุมการทางานของระบบเคร่ืองปรบั อากาศ ใหท้ างาน ปรบั อุณหภูมิ ควบคุม ความชนื้ ควบคุมความเย็น ให้ทางานไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ โดยใชค้ าส่งั จากไมโครคอมพวิ เตอร์

ในสว่ นของเคร่อื งปรับอากาศรนุ่ ใหม่ นยิ ามคาวา่ อนิ เวอรเ์ ตอรค์ ือการพัฒนากระบวนการทางาน ของเครอ่ื งปรับอากาศให้ดียงิ่ ขนึ้ หลกั ๆคอื แรงลมเย็นที่ไมป่ ลอ่ ยของเสียทาลายสิง่ แวดลอ้ มเรียกวา่ สาร ทาความเยน็ R32 รวมถงึ การปรบั การทางานของคอมเพรสเซอรใ์ ห้ประหยัดไฟและทนทาน กวา่ เดมิ คาว่า INVERTER จึงมใี นเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ชนดิ อืน่ ดว้ ยไมว่ ่าจะเป็นเครื่องซกั ผ้าหรือ ตเู้ ยน็ จงึ ม่ันใจได้ว่า เทคโนโลยีนจี้ ะช่วยยกระดบั การใชช้ วี ติ ในบา้ นไดอ้ ยา่ งแน่นอน

- 30 -

ตารางขนาดของห้องเทยี บกบั BTU

อา้ งองิ : https://bit.ly/3cqlQeN https://bit.ly/2F8lRmh https://bit.ly/3PHkVp0

- 31 -

ภาคผนวก ข คอมเพรสเซอรเ์ ครอื่ งปรบั อากาศ

- 32 -

คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ในระบบของแอรห์ รอื เครื่องปรับอากาศ หมายถงึ เคร่ืองอดั นา้ ยาหรอื ตัวป๊มั นา้ ยาแอรน์ ่ันเอง เป็นอปุ กรณ์หลกั ทีส่ าคญั อนั นึงของระบบเครอื่ งทาความเยน็ ซึ่ง ทาหน้าท่ีทงั้ ดดู และ อดั นา้ ยาแอร์ ในสถานะแกส๊

ทางวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทยไดใ้ ห้ความหมายของคาศพั ท์ทางวิชาการของ คอมเพรสเซอรไ์ ว้วา่ "เครื่องอัดทเี่ ป็นอุปกรณ์เพ่ิมความดนั ของสารความเย็นทอ่ี ยู่ในสภาวะทเ่ี ป็น ไอ" โดยหลักการคือคอมเพรสเซอรจ์ ะดูดนา้ ยาแอรใ์ นสถานะทีเ่ ป็นฮีตแกส๊ ความดนั ตา่ และ อุณหภมู ิตา่ จาก อีวาพอเรเตอร์ (หรอื แผงคอยล์เย็น) ผ่านเข้ามาทางทอ่ ซัคชน่ั (Suction) เขา้ ไป ยังทางดูดของ คอมเพรสเซอร์ แล้วอัดแก๊สนใี้ หม้ ีความดนั สูงขนึ้ และอณุ หภมู ิสงู ขนึ้ ด้วย ส่งเข้าไป ยงั คอนเดนเซอร์ (แผงคอยล์รอ้ น)โดยผา่ นทางท่อดสิ ชารจ์ เพ่ือไปกล่นั ตวั เป็นของเหลวใน คอนเดนเซอรด์ ว้ ยการระบาย ความรอ้ นออกจากน้ายาอกี ทนี ึง

- 33 -

จะเหน็ ได้ว่าในวงจรเคร่อื งทาความเย็นคอมเพรสเซอรเ์ ป็นอปุ กรณ์ทีแ่ บ่งความดนั ในระบบ ระหวา่ ง ดา้ นความดนั สูงและความดนั ต่า นา้ ยาแอรท์ ถ่ี กู ดดู เขา้ มาในคอมเพรสเซอรจ์ ะมีสถานะ เป็นแกส๊ ความ ดันต่า และนา้ ยาที่อดั ส่งจากคอมเพรสเซอรจ์ ะมีสถานะเป็นแกส๊ ซ่งึ มคี วามดนั สูง หลงั การลา้ งแอร์ ชา่ ง ลา้ งแอรห์ รอื ชา่ งซ่อมแอรต์ ้องตรวจดูนา้ ยาแอรข์ องลกู คา้ ว่านา้ ยาแอรพ์ รอ่ ง หรือไม่ บางคนคิดว่าน้ายา แอรม์ ีสภาพเป็นนา้ หรือของเหลว แตจ่ รงิ ๆ มนั เป็นสารเคมที กี่ ลาย สภาพได้ตามกาลังอัด และสามารถ รว่ั ซมึ ได้ทั้งตามวาวลศ์ ร (จุกทเ่ี ติมนา้ ยา) หรือข้อต่อบานแฟร์ ได้ครับ ระบบแอรไ์ มใ่ ชร่ ะบบปิดที่นา้ ยา จะร่ัวออกไม่ได้นะครบั อยา่ เขา้ ใจกันผิด

บางทีเคยได้ยนิ คาว่า มอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ บา้ งมั้ยครบั เน่อื งจากคอมเพรสเซอรข์ องต้เู ย็นและ เคร่ืองปรบั อากาศตามบา้ นเรอื น จะใชม้ อเตอรไ์ ฟฟ้าเป็นตวั ขับเคลือ่ น (ก็อยภู่ ายในลกู คอมน่นั แห ล่ะ) บางครง้ั ชา่ งสมัยกอ่ นจงึ เรยี กรวมกนั ว่า มอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ ซงึ่ จรงิ ๆ แลว้ กเ็ ป็นความหมาย เดียวกันกับคอมเพรสเซอรแ์ อรน์ น่ั แหละ่ ครบั สว่ นคอมเพรสเซอรข์ องเครอ่ื งปรบั อากาศรถยนต์ จะ ยึดตดิ อยกู่ ับเครื่องยนตแ์ ละถกู ขบั เคลอื่ นโดย สายพาน ซึ่งจะมีแมกเนติกคลตั ช์ช่วยควบคุมและ หยุดคอมเพรสเซอรใ์ นขณะทีก่ าลงั เดินเคร่อื งยนต์อยู่ ก็เป็นอกี ระบบนงึ ที่มหี ลักการทางานคล้าย กับคอมของแอรบ์ า้ น แต่เราจะไม่พดู ถงึ เนื่องจากเอ็นทแี อร์ เราเป็นรา้ นแอรร์ บั ซอ่ มแอรบ์ ้าน และ รับซ่อมคอมเพรสเซอรแ์ อรบ์ า้ นนะครับ

- 34 -

ชนดิ ของคอมเพรสเซอร์

เราสามารถแยกชนิดของคอมเพรสเซอรไ์ ดห้ ลายแบบ แยกตามวธิ กี ารอดั เช่น

• แบบโรตารี่ (Rotary Compressor)

• แบบลกู สบู (Reciprocating Compressor) • แบบสโครล (Scroll Compressor) แยกตามลักษณะภายนอก เช่น • แบบปิดสนิท (Hermetic Compressor) • แบบกง่ึ ปิดสนทิ (Semi Hermetic Compressor)

• แบบเปิด (Open Type) หลงั จากรจู้ ักหนา้ ที่ของคอมเพรสเซอรแ์ ลว้ ทนี เี้ ราจะมาพดู ถงึ ชนิดของคอมเพรสเซอร์ โดยแบง่ ตาม วิธีการอัดแก๊สหรือนา้ ยา โดยทวั่ ไปเคร่อื งปรบั อากาศภายในบ้านหรอื ทีพ่ ักอาศยั มักนิยมใช้

คอมเพรสเซอร์ 3 รปู แบบนี้ ไดแ้ ก่ แบบโรตารี่ แบบลกู สบู และแบบสโกรล เนื่องจากเป็นทนี่ ิยม ราคา ไม่แพง ระบบไม่ซบั ซอ้ นมาก ช่างแอรท์ ว่ั ไปสามารถเขา้ ใจวงจระบบไฟฟา้ และการต่อสายไฟ ไดไ้ มย่ าก

- 35 -

คอมเพรสเซอรแ์ บบโรตารี่ (Rotary Compressor)

คอมเพรสเซอรแ์ บบโรตารจ่ี ะดดู และอัดน้ายาในสถานะแกส๊ โดยอาศัยการกวาดตัวตามแกนโร เตอร์ (rotor) เนื่องจากคอมเพรสเซอรแ์ บบโรตารนี่ มี้ ีขีดจากดั ในการทางาน คือจะทางานได้ อย่างมี ประสิทธิภาพสงู และกินไฟนอ้ ย จะต้องใช้กับเคร่อื งปรบั อากาศขนาดความเยน็ ไมเ่ กิน 1- 3 ตนั แตถ่ ้า ขนาดความเยน็ ใหญ่กว่านแี้ ลว้ กจ็ ะทางานไมส่ ดู้ นี ัก

คอมเพรสเซอรแ์ บบนคี้ นไทยเรารจู้ กั กนั ดียี่หอ้ นงึ คือ คอมมิตซูบิชิ หรือเรียกกนั สนั้ ๆวา่ คอมมติ ซู ผลิต โดยบรษิ ทั สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จากดั หรือ Siam Compressor Industry (SCI) นอกจากนยี้ งั มคี อมเพรสเซอรย์ ีห่ ้ออน่ื ๆ ด้วยอยา่ งเชน่ คอมแอลจีLG , คอม ไดกนิ้ DAIKIN เป็น ตน้

เนื่องจากคอมเพรสเซอรช์ นิดนี้ ผู้ผลติ นามาใสใ่ นเครอื่ งปรับอากาศยคุ แรกๆ พอๆกบั คอมแบบ ลกู สบู จงึ ทาใหเ้ ป็นทีน่ ิยมมาอยา่ งยาวนาน โดยเฉพาะทใ่ี ช้กบั น้ายา R-22 กย็ งั เป็นสดั สว่ นท่ีใช้ กันอย่างมาก ทสี่ ุด เนอ่ื งจากชา่ งแอรเ์ ปล่ยี นงา่ ย ราคาไม่แพง เป็นคอมท่ีประหยดั ไฟท่ีสุดเม่ือเทยี บ กับรูปแบบอน่ื ๆ หากชา่ งแอรท์ ่เี รม่ิ จะฝึกงานลา้ งแอรซ์ ่อมแอรใ์ หมๆ่ ต้องผ่านการเชื่อม ทดสอบการ เปลี่ยน คอมเพรสเซอรก์ บั คอมตัวนมี้ าก่อนทงั้ น้นั ถ้าทาได้สาเรจ็ ก็จะถือว่าออกภาคสนามได้

- 36 -

คอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสูบ (Reciprocating Compressor)

คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สูบนจี้ ะมหี ลักการทางานคล้ายๆ กบั ระบบลกู สูบในรถยนต์ เป็นระบบ อัด แบบชกั ขนึ้ ชกั ลง โดยแต่ละกระบอกสูบจะประกอบดว้ ยชุดของลนิ้ ทางดูดและทางอดั ซึ่งอยูต่ ิดกบั วาวล์วเพลต (valve plate) ขณะทลี่ กู สบู นงึ เคลอ่ื นทล่ี งในจงั หวดั ดดู อกี ลกู สบู นงึ จะเคลือ่ นที่ ใน จังหวะอดั ดว้ ยเช่นกัน ขณะทีล่่ ูกสูบเคล่อื นท่ีลง (หรือจงั หวะดูด) แรงดันของนา้ ยาในกระบอก สูบจะ ลดลงอยา่ งมาก ลนิ้ ทางดา้ นอัดจะถูกปิดโดยแรงอดั ของน้ายาทอี่ ยทู่ างด้านความดนั สงู และ ลนิ้ ทางดา้ นดูดจะถกู เปิด ดดู เอาน้ายาจากทางด้านความดันต่าผา่ นเข้ามาในกระบอกสบู ขณะท่ี ลูกสูบ เคล่ือนที่ขนึ้ (หรอื จงั หวะอดั ) แรงดนั ของน้ายาในกระบอกสูบจะถูกอัดตวั สูงขนึ้ ลนิ้ ทางดา้ น ดูดจะถูก ปิดตวั ดว้ ยแรงอดั ทีส่ งู ขนึ้ ภายในกระบอกสบู นี้และลนิ้ ทางอัดจะเปิดอดั นา้ ยาส่งออกไป ทางด้านความ ดนั สงู ของระบบ

- 37 -

ในยคุ แรกๆ คอมเพรสเซอรช์ นดิ นเี้ ป็นที่นยิ มอย่างมาก เน่ืองจากมีความทนทานสูง ใหก้ าลงั อัด และความเย็นท่ีดี สามารถใชไ้ ดต้ งั้ แตบ่ ีทยี ูนอ้ ยๆ อย่างเช่นตู้เย็น ไปจนถึงแอรข์ นาดหลายสิบตัน ซงึ่ คอมเพรสเซอรแ์ บบโรตารี่ไม่สามารถทาความเยน็ ขนาดน้ันได้ อีกท้ังยังสามาถซอ่ มแซมได้ โดย การผา่ ออกเพื่อเปล่ยี นหรือพันขดลวดทองแดงใหม่ โดยชา่ งทีม่ คี วามรดู้ า้ นไฟฟ้าและมอเตอร์ สามารถนามา ซ่อมกลับมาใช้ใหม่ได้เป็นอยา่ งดี แต่บางคร้ังก็มีรา้ นซอ่ มคอมมกั ง่ายแค่นาคอมไป ถ่ายนา้ มนั คอมออก เปล่ยี นหวั หลกั คอม แล้วพ่นสีใหม่ไปหลอกขายลกู ค้าว่าเป็นคอมใหม่ ทาให้ เป็นท่ีมาของคาวา่ "คอม บวิ้ " ซง่ึ เป็นคอมมอื สองแต่หลอกวา่ เป็นมือหน่ึง โดยอาศยั ความทนทาน ของระบบลูกสบู มาหลอกให้ ลกู คา้ ใช้งานไดต้ อ่ ไป แตกตา่ งจากช่างแอรด์ ๆี หรอื รา้ นซอ่ มคอมดๆี ซง่ึ จะบอกลูกคา้ ไปเลยวา่ เป็นคอม มือสอง ผ่านการซอ่ มหรอื ไมซ่ อ่ มอย่างไรไปบา้ ง ซง่ึ รา้ นซ่อมคอ มดีๆเก่งๆ จะผา่ คอมแล้วเปล่ียนขดลวด ทองแดงใหม่ เตมิ น้ามนั คอมใหม่ (ใชข้ องเดมิ เพยี งแค่ ระบบสปรงิ และกา้ นสบู คนั ชกั ขา้ งใน) เสรจ็ แลว้ นาออกมาขายเป็นคอมมอื สองคณุ ภาพมือหนง่ึ ลูกค้าสามารถซอื้ มาใชไ้ ดอ้ ย่างสบายใจเพราะแทบไม่ต่างจากคอมใหม่ รา้ นในกรุงเทพฯหลายรา้ น มีฝีมือเก่งๆครับ ทีผ่ มรจู้ ักกเ็ ช่นแถวบรรทดั ทอง (หลงั มา บญุ ครอง) แถวเกษตร-นวมนิ ทร์ เลียบด่วน เป็นต้น

- 38 -

คอมลกู สูบมีดีตรงทีโ่ ครงสรา้ งแข็งแรงทนทาน อุปกรณภ์ ายในแทบไมส่ กึ หรอ ยกเวน้ พวกขดลวด ทองแดงท่ชี ็อตไหม้ตามอายุการใช้งาน สามารถซอ่ มแซมได้ แตกต่างจากคอมโรตารี่ที่แทบไม่มีใคร รับ ซ่อม (ซอื้ ใหม่คมุ้ กวา่ ) แต่ก็อาจมขี อ้ เสียบา้ งคอื เสยี งดงั และกนิ ไฟมากกว่าระบบอืน่ ๆ ครบั คอมลกู สูบ ท่ีดังๆ ก็อยา่ งเชน่ ยห่ี อ้ Bristol (บริสตอล) , Tecumseh (เทคัมเช่) เป็นตน้

คอมเพรสเซอร์แบบสโกรล (Scroll Compressor)

เป็นคอมเพรสเซอรท์ ไ่ี ดร้ บั การคิดค้นขนึ้ มาใหมโ่ ดยการนาเอาข้อดขี องคอมเพรสเซอรแ์ บบ ลูกสบู และโรตารม่ี ารวมกนั ทาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพในการทางานสูงกวา่ 2 แบบแรก การใชง้ าน คอมเพรสเซอรแ์ บบสโกรล จะอาศยั ความเรว็ ในการหมุนใบพัดเพ่อื ทาให้เกิดแรงดนั ภายในเรอื น คอมเพรสเซอร์ ความเร็วท่ีปลายใบพัดอาจสูงถงึ 850 ฟตุ /วนิ าทแี ละความเรว็ รอบตา่ สุดทจี่ ะ สามารถ ทางานได้ประมาณ 3450 รอบ/นาที โดยหลกั การทางานจะโดยใชใ้ บพดั 2 ชุด (เคลอื่ นที่และอยกู่ ับท่ี) ขับเคล่อื นโดยการให้เพลาลูกเบยี้ วรูปหนา้ ตัดเป็นวงกลม บนลกู เบยี้ วจะ เจาะเป็นชอ่ งๆเพ่ือใหใ้ บพดั สวมอยู่ได้ ลกู เบยี้ วและใบพัดติดต้ังอยู่ในเรือนคอมเพรสเซอร์ ซึ่งผวิ ดา้ นในเป็นวงกลม แตต่ าแหน่งจุด ศูนย์กลางของลูกเบยี้ วและเรือนคอมเพรสเซอรอ์ ยูเ่ ยอื้ งศนู ยก์ ัน โดยระยะท่แี คบทีส่ ดุ จะเป็นระยะผวิ นอกของลูกเบยี้ วสมั ผสั ผิวภายในเรอื นคอมเพรสเซอรพ์ อดี ทา ใหป้ ระสิทธภิ าพในการดูดอดั และส่ง สารทาความเยน็ ทาไดด้ ี และทางานเงยี บกวา่ ชนิดลกู สูบ

- 39 -

คอมเพรสเซอรแ์ บบสโกรลขนาด 1 ถึง 60 แรงมา้ เหมาะสาหรับการใช้งานทุกรูปแบบ เชน่

ระบบปรบั อากาศสาหรบั อาคารธรุ กิจและทีพ่ กั อาศยั ระบบทาความเย็นสาหรบั ธรุ กิจและ

อุตสาหกรรม และการขนสง่ ดว้ ยหอ้ งเย็น ด้วยประสิทธภิ าพในการทาความเยน็ เหมือนคอมลูกสูบ

แต่ ประหยัดไฟกว่า ทาใหค้ อมรูปแบบนกี้ าลังเป็นที่นยิ มและมักนามาใชก้ ับแอรข์ นาด 3 ตนั ขนึ้ ไป

ทง้ั ไฟ 220V. และ 380V. โดยขณะสตารท์ จะมีการกระชากไฟปานกลางและเสยี งดัง

พอสมควร แต่พอทางาน ซักพกั เสยี งจะเงียบลงเกือบจะเทา่ แบบโรตารี่ คอมสโกรล หรอื ทีบ่ างคน

เรยี กคอมสกรอล ยี่หอ้ ท่ีนยิ ม ในบา้ นเราได้แก่ Copeland และนอกจากนบี้ ริษัท SCI ยงั ได้

ผลติ คอมชนิดนขี้ นึ้ มาเพอ่ื แข่งขันกันใน ตลาดอีกด้วย

อ้างอิง:

https://bit.ly/3zh8DhD https:// bit.ly/2mmgWpv

- 40 -

บรรณานกุ รม

เคร่ืองปรับอากาศ [สืบคน้ เม่อื วันที่10 กรกฎาคม 2565] จาก.

https://bit.ly/3PHkVp0

https://bit.ly/3cqlQeN

https://bit.ly/2F8lRmh

- 41 -

คอมเพรสเซอรเ์ คร่อื งปรบั อากาศ [สบื คน้ เมอื่ วนั ที่10 กรกฎาคม 2565] จาก. https://bit.ly/3zh8DhD

https:// bit.ly/2mmgWpv

- 42 -

ประวตั ิผูจ้ ัดทำ

ช่ือผู้จัดทำ : นายพีรพล แกว้ มศี รี

หลักสตู ร : เทคโนโลยบี ัณฑติ

สาขาวิชา : สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟา้

ประวัตกิ ารทำงาน

ปี พ.ศ.2564 ถึง ปี พ.ศ.2565

ตำแหนง่ ผ้ชู ่วยช่าง

หนา้ ท่ี

1. ติดตั้งเคร่อื งปรับอากาศ

2. ทาความสะอาดล้างเคร่ืองปรับอากาศ

3. ซ่อมบารงุ เครือ่ งปรบั อากาศ

ชอ่ื สถานประกอบการ (ปจั จุบัน) : TP.SERVIC SURAT สถานทต่ี ดิ ต่อ : 17 ต.ตลาด ซ.ภักดอี นสุ รณ์ อ.เมือง จ.สรุ าษฎรธ์ านี 84000 โทร 0818915489/077274934