ของผ ท ม ความร เร องอ บ ต เหต ดร.กรองได

แผนการจัดการเรยี นรูม้ งุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง รหสั วิชา 20127-2107 วชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้อื งต้น ทฤษฎี 1 ปฎบิ ตั ิ 3 หน่วยกติ 2 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562 สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์ สาขาเมคคาทรอนกิ ส์ สาขางานเมคคาทรอนกิ ส์ จดั ทำโดย นายปิติกร ขำออ่ น สาขาวชิ าเมคคาทรอนกิ ส์ สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคกลาง 5 วทิ ยาลยั เทคนิคสมุทรสงคราม สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ รายการตรวจสอบและอนุญาตให้ใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวิชา 20127-2107 วชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้อื งตน้ สาขาเมคคาทรอนิกส์ ประเภทวิชาช่างอตุ สาหกรรม ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ผู้สอน ………………………………… ( นายปิตกิ ร ขำออ่ น ) ความเหน็ คณะกรรมการตรวจการเขยี นแผนการสอน/การเรียนรู้  เหน็ สมควรผ่านเกณฑ์ตามทวี่ ทิ ยาลยั ฯ กำหนด นำไปใช้ในการเรยี นการสอนได้  ไม่ผา่ นตามเกณฑต์ ามทวี่ ิทยาลยั ฯ กำหนด 1.ลงชื่อ …………………..............… ประธานกรรมการ ( นายปิตกิ ร ขำอ่อน ) 2.ลงชือ่ …………………..............… กรรมการ ( นางวิภารตั น์ พุกเงิน ) 3.ลงชอ่ื …………………..............… กรรมการ ( นายชนะรตั น์ สมุ าลยั ) โปรดพิจารณาอนุญาต  อนมุ ตั ิ  ไมอ่ นุมตั ิ ลงช่ือ …………………………………...... ลงช่อื …………………………………..... ( นางสมสง่ พลู ผล ) ( นายสรยุทธ อนุ่ ใจ ) หัวหนา้ งานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

ตรวจแผนการสอน/การเรียนร แผนการสอนมหี ัวใจสำคัญอยู่ 3 ส่วน (O กระบวนการจดั ก วตั ถปุ ระสงค์ หัวขอ้ เร่ือง สาระสำคญั เนอื้ หาสาระ กจิ กรรมการเรยี นการสอน งานท (Objective) สมรรถนะ มีดา้ นความรู้ (1) มีด้านความรู้ (1) มีดา้ นความรู้ (1) ความสอดคล้อง การกำห มี (1 คะแนน) ไม่มีข้อท่ี............. ไม่มขี อ้ ท่ี............ ไม่มีขอ้ ที่............ มกี ารกำหนดกิจกรรมการเรียน มอบหม ไม่มี การสอนสอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้ สอดคล มีดา้ นทักษะ(1) มีด้านทกั ษะ(1) มีด้านทกั ษะ(1) เรอ่ื งและจุดประสงคเ์ ชิง กจิ กรรม จดุ ประสงค์การสอน ไม่มีข้อท่ี............. ไม่มีข้อท่ี............ ไม่มีขอ้ ที่............ พฤติกรรมครบทุกข้อ การสอน จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป (3 คะแนน) ขณะเรยี มีด้านคณุ ธรรม มีดา้ นคุณธรรม มีดา้ นคุณธรรม ด้านความรู้ (1) จรยิ ธรรมและ จริยธรรมและ จรยิ ธรรมและ มีการกำหนดกิจกรรมการเรยี น มีคร บูรณาการหลัก บรู ณาการหลกั บรู ณาการหลัก การสอนสอดคล้องกบั หัวขอ้ มีแต ด้านทกั ษะ (1) ปรัชญาของ ปรัชญาของ ปรชั ญาของ เรอื่ งและจุดประสงคเ์ ชงิ ขาดกจิ ก ด้านคุณธรรม เศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพยี ง พฤติกรรม แต่ไมค่ รบ เรยี นกา จรยิ ธรรมและบรู ณา /3D (1 คะแนน) /3D (1 คะแนน) /3D (1 คะแนน) ไมม่ ี จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ท.่ี ........ การหลกั ปรชั ญาของ ขอ้ ท่ี.......................................... มแี ต เศรษฐกิจพอเพียง3D (1) ไม่มขี ้อท่ี............. ไม่มขี ้อที่............. ไม่มีข้อที่............ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม การสรปุ บทเรียน ( 1 คะแนน) ไมส่ อดค มีการสรุปบทเรียนสอดคลอ้ ง กิจกรรม ด้านความรู้ (1) กับสาระสำคัญและจดุ ประสงค์ การสอน ด้านทกั ษะ (1) งานมอบ ด้านคุณธรรม การกำหนดเวลา (1 คะแนน) ท่.ี ........ จริยธรรมและบรู ณา มีการกำหนดเวลาทใ่ี ช้ในแตล่ ะ การหลกั ปรชั ญาของ จุดประสงค์ ไม่ม เศรษฐกิจพอเพียง3D (1) เต็ม 7 คะแนน เตม็ 3 คะแนน เต็ม 3 คะแนน เตม็ 3 คะแนน เตม็ 5 คะแนน เต็ม 1 ได.้ ..............คะแนน ได้................คะแนน ได้................คะแนน ได้................. ได.้ ...................................คะแนน ได.้ ....... คะแนน คะแนนรวม 40 คะแนน ได้ ................. คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ .................... ของคะแนนเต็ม ผ่า ขอ้ เสนอแนะแกผ่ ู้เขยี นแผนการสอน............................................................................................. (ไ ....................................................................................................................................................... ไม ....................................................................................................................................................... (ต

รูห้ นว่ ยท่ี 1 ถึงหน่วยที่ 18 OLE) เปน็ หวั ใจสำคัญของแผนการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ (Learning) ทมี่ อบหมาย สื่อ แหล่งเรยี นรู้ การบรู ณาการ การบรู ณาการกบั การบรู ณาการกับคุณ ผลงาน/ การวดั ผล กับวชิ าอ่นื หลกั ปรัชญาของ ลกั ษณะ 3D ชิน้ งาน (Evaluation) มี (1) เศรษฐกจิ พอเพยี ง หนดงานท่ี การกำหนดส่อื ใน และคุณลักษณะ3D ดา้ นประชา มี(1) การประเมนิ ผล มายให้ การเรยี นร้ไู ด้ สถานศึกษา ไม่มี ธปิ ไตย มี (1) ลอ้ งกบั สอดคลอ้ งกบั (0.5 คะแนน) หลักความพอ ด้านคณุ ธรรม มการเรียน กจิ กรรมการ ประมาณ หลักความมี จริยธรรมและความ ไม่มี ไม่มี นกอ่ นเรยี น เรยี นการสอน นอก เหตผุ ล หลักความมี เปน็ ไทย รายละเอียดการ ยน หลงั เรียน สถานศกึ ษา ภูมคิ ุ้มกนั ด้านภูมิคมุ้ กนั จาก วัดผล มี (1) (0.5 คะแนน) ยาเสพติด(2) ประเมนิ ผล รบ (1) มีชดั เจน (1) มคี รบ ต่ไม่ครบ มีแต่ มีแต่ไม่ชดั เจน มี (2) จดุ ประสงค์ กรรมการ ไม่ครบขาด ไม่มี มแี ตไ่ มช่ ดั เจน เชิง ารสอนขอ้ กจิ กรรมการ การตดั สินใจและการ ไม่มี พฤตกิ รรม .................. เรียนการสอน ดำเนนิ กจิ กรรมต่างๆ (2 คะแนน) ต่ ขอ้ ท่.ี ........... เงื่อนไขความรู้และ มี แตไ่ ม่ครบ เง่ือนไขคณุ ธรรม จดุ ประสงค์ คลอ้ งกบั มแี ต่ มี (1) เชิง มการเรียน ไม่มี พฤติกรรม น ได้แก่ ไม่สอดคล้อง ขาดข้อท่ี บหมายขอ้ กบั ..................... .................... กจิ กรรมการ ไม่มี มี เรียนกาสอน บนั ทกึ หลังการ ไดแ้ กส่ อ่ื ขอ้ ที่ สอน ....................... มี (1) ไม่มี ไม่มี 1 คะแนน เตม็ 1 เต็ม 1 คะแนน เตม็ 1 คะแนน เต็ม 2 คะแนน เต็ม 2 คะแนน เต็ม 1 เตม็ 4 ........คะแนน คะแนน ได้.....คะแนน ได.้ .....คะแนน ได.้ ...........คะแนน ได้.......คะแนน ได.้ ......... คะแนน ได้.......... ได.้ ......... คะแนน คะแนน านเกณฑ์ ลงชอ่ื ...............................................กรรมการผตู้ รวจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80) (.............................................) มผ่ า่ นเกณฑ์ .............../............./.............. ต่ำกวา่ รอ้ ยละ 80)

วทิ ยาลัยเทคนคิ แบบตรวจแผนการสอน/การเรียนรู้ มุ่งเน้นสมรรถนะอา ภาคเรยี นท่ี 1 ป ชื่อผู้สอน นายปิติกร ขำอ่อน ครปู ระจำสาขาวชิ า เมคคาทรอนกิ ส สอนชัน้ ปวช. 2 สาขางาน คำนำ จดุ ประสงคร์ ายวชิ า คำอธิบายรายวชิ า มี (1) มคี รบ (1) มีครบ (1) ไม่มี ไม่มีข้อท่ี .............. มไี ม่ครบ ….......................... ไมม่ ี ไมม่ ี เตม็ 1 คะแนน เต็ม 1 คะแนน เตม็ 1 คะแนน ได้ …...... คะแนน ได้ …...... คะแนน ได้ …...... คะแนน หมายเหตุ 1. กรณีหนว่ ยการเรยี นแตล่ ะหนว่ ย วิธกี ารเขยี นหรอื หวั ข้อแตกตา่ งกันแบบตรวจแผนการสอนจะมาก ของแต่ละหน่วยการเรยี น วธิ ีการประเมนิ ผล นำผลคะแนนทกุ หน่วยการเรยี นมาหาค่าเฉลี่ย 2. การตรวจแผนการสอนผตู้ รวจใชด้ ลุ พนิ ิจมองในภาพรวมวา่ สมควรใหผ้ า่ นเกณฑห์ รอื ไม่ กรณถี ้าขาด การสอน เน้ือหาสาระ กจิ กรรมการเรียนการสอน การบรู ณาการกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การว ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 กไ็ ม่สมควรให้ผ่านเกณฑ์

คสมุทรสงคราม าชีพและบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปีการศึกษา 2565 ส์ ช่ือวชิ า ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บื้องต้น รหัสวิชา 20127-2107 น เมคคาทรอนิกส์ ห้อง 1 สมรรถนะของรายวิชา หนว่ ยการสอนการเรียนรู้ ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร มีครบ (1) มคี รบ (1) มี (1) มไี ม่ครบ ไมม่ ี ไมม่ ีข้อที่ ............... ไม่มี ….......................... ไม่มี เตม็ 1 คะแนน เตม็ 1 คะแนน เตม็ 1 คะแนน ได้ …...... คะแนน ได้ …...... คะแนน ได้ …...... คะแนน กกว่า 1 แผน่ ตามความแตกตา่ ง บันทึก ดหัวข้อสำคญั ได้แก่ จดุ ประสงค์ ลงช่ือ ….................................................. วดั ผลประเมนิ ผลฯลฯ คะแนนรวม ( นางสมสง่ พลู ผล ) หวั หน้างานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน

บันทกึ ขอความ . สวนราชการ สาขาวชิ า วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม . ที่ วนั ท่ี . เรื่อง ขออนญุ าตปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นรู ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2565 เรียน ผูอำนวยการวิทยาลยั เทคนคิ สมทุ รสงคราม เนื่องดวยขาพเจา....น...า..ย..ป...ต ..กิ ..ร.....ข..ำ..อ..อ..น......ตำแหนงคร.ู ....เ..ช..ีย่ ..ว..ช..า..ญ........สาขาวชิ า...เ.ม..ค...ค..า..ท..ร..อ...น..กิ..ส... ..ไดรับ มอบหมายใหปฏบิ ัตหิ นาทสี่ อนรายวชิ า....ไ..ม..โ..ค..ร..ค..อ...น..โ..ท...ร..ล..เ.ล...อ..ร..เ.บ...ื้อ..ง..ต..น....รหสั วิชา..2...0...1..2...7...-.2...1...0..7....จำนวน.....2......หนวยกติ สอนระดับชั้น.......ป...ว..ช...2.........สาขาวิชา..................เ.ม..ค...ค..า..ท...ร..อ…น.ก.ิ ..ส...................ในภาคเรียนที่........1..........ปการศึกษา...6..5..... ตามที่วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม กำหนดใหจัดทำแผนจัดการเรียนรูมุงเนนสมรรถนะอาชีพ และบูรณาการปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี งนัน้ ขา พเจา ไดจัดทำและนำไปใชในการจดั การเรียนการสอน พบวา ย..งั..ข...า.ด...ก..า..ร..เ.ช...่อื ..ม..โ..ย..ง..ก..บั...ม..า..ตรฐานอาชพี ทั้งนขี้ า พเจา ขออนุญาตปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรแู ละไดสง ขอ มลู กระบวนการ/เนือ้ หา ทป่ี รบั ปรงุ มา พรอมน้ีแลว จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและพจิ ารณาอนญุ าตใหใ ชเ ปน แผนการเรยี นรูภาคเรยี นท…ี่ 1….ปก ารศึกษา...6..5... ลงชื่อ........................................... (............น...า..ย..ป...ต ..ิก..ร.....ข..ำ..อ..อ...น.............) ครผู สู อน เพ่ือโปรดทราบและสมควรพจิ ารณา เพือ่ โปรดทราบและสมควรพิจารณา  อนญุ าต  ไมอ นญุ าต  อนญุ าต  ไมอ นุญาต ลงช่อื ............................................. ลงชือ่ ............................................. (.......น...า..ย..ป...ต..กิ..ร.....ข..ำ..อ...อ ..น...........) (นางสมสง พูลผล) หัวหนา สาขาวชิ า หัวหนา งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน  อนญุ าต  ไมอนญุ าต  อนุญาต  ไมอ นญุ าต ลงช่อื ............................................. ลงชอ่ื ............................................. (นายสรยุทธ อนุ ใจ) (นายนิรันดร วงษจิ๋ว) รองผูอำนวยการฝา ยวิชาการ ผูอำนวยการวทิ ยาลยั เทคนิคสมทุ รสงคราม

ใบแทรก ปรับปรุงแผนการเรียนรู แผนการเรยี นรู ฉบับ ภาคเรียนที่ ....1..... ปการศกึ ษา ........6...5............... หนวยการเรียนท่ี .......บ...ท..น...ำ........ วิชา.........ไ..ม..โ..ค..ร..ค...อ..น...โ.ท...ร..ล..เ.ล...อ..ร..เ.บ...้อื..ง..ต...น .............รหสั วิชา..2..0...1...2...7..-..2..1...0...7...จำนวน......2.......หนวยกติ สอนระดบั ชั้น.........ป..ว..ช....2.......สาขาวชิ า.....................เ.ม..ค...ค..า..ท..…รอ..น...กิ..ส... ............. ไดจัดทำแผนการเรียนรแู ละนำไปใช ดำเนนิ การสอนแลว พบวา สมควรปรับปรงุ เพราะ (ตามรายละเอียดในบันทกึ หลังการสอนดงั แนบ) หนา ขอความเดิม ขอความปรบั ปรงุ ใหม หลงั ผลการวเิ คราะหบริบทชุมชน เพิ่มมาตรฐานอาชีพและมาตรฐานสมรรถนะ แผนภมู ิระดมสมองเดิม แผนภูมริ ะดมสมองปรบั ปรุงใหม แผนภมู ิหัวเร่ืองสมั พันธเ ดิม แผนภูมหิ วั เรื่องสมั พนั ธป รบั ปรงุ ใหม ลงช่อื ...........................................ผูสอน (.............น..า..ย...ป..ต...กิ ..ร.....ข..ำ..อ..อ..น.............)

แผนการจดั การเรยี นรู้มงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี และบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง รหัสวชิ า 20127-2107 วิชาไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้ืองตน้ จดั ทำโดย นายปิตกิ ร ขำอ่อน ครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมมหาบณั ฑติ คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ

คำนำ แผนการสอนวิชาไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บอ้ื งต้น รหสั วิชา 20127-2107 เล่มนีข้ ้าพเจ้าไดเ้ รยี บ เรยี งเพ่อื ใช้ประกอบการสอนวชิ าไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บือ้ งตน้ สำหรับนกั เรียนหลกั สูตรประกาศนียบตั ร วิชาชพี พทุ ธศกั ราช 2562 สาขาเมคคาทรอนิกส์ โดยไดร้ วบรวมจากประสบการณ์การสอนของข้าพเจา้ ตลอดจนศึกษาเน้ือหา รวมท้งั วิธีจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ในรูปแบบตา่ งๆ มาประกอบ และได้จัดทำเปน็ แผนการสอนทั้งทไ่ี ดแ้ ยกเรื่องที่จะสอนในแตล่ ะเรื่องพรอ้ มทง้ั ปรบั ปรงุ แกไ้ ขหลายครัง้ เม่ือทกุ อยา่ งสมบูรณ์แลว้ จงึ จัดทำเป็นรปู เล่ม การรวบรวมแผนการสอนฉบับนม้ี ีการเพม่ิ รายละเอียดการวิเคราะหเ์ นือ้ หาตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด เชน่ ผลการวเิ คราะห์บรบิ ทชมุ ชน การวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวิชา ความต้องการทางวิชาชพี ( Requirement of vocation ) การแบ่งเนื้อหาออกเปน็ หน่วยการเรยี น การกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ของหน่วยการเรยี น การเขียนตารางรายการหนว่ ย สมรรถนะ และจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ตารางวเิ คราะห์ หลกั สูตร(Table of Specifications) การเขยี นตารางการวเิ คราะห์ข้อสอบปลายภาค จนกระท่ังถึงโครงการ สอน การรวบรวมเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ สำเร็จลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดีขา้ พเจ้าไดอ้ าศัยตำรา เอกสาร หนงั สือตา่ งๆ พร้อมท้ังใช้โปรแกรม CAI ท่ีเก่ียวข้อง อกี ทง้ั นำข้อมลู จาก Web Site ใน Internet ท่ีเก่ียวข้อง กับเนอื้ หาวิชาอเิ ล็กทรอนกิ สอ์ ุตสาหกรรม มารวบรวมไว้ ดังไดก้ ล่าวไวแ้ ลว้ ในบรรณานุกรมทา้ ยเอกสาร ประกอบการสอน และหากผใู้ ช้แผนการสอนชดุ นี้พบข้อบกพร่องใดๆ ขอความกรณุ าแนะนำเพื่อขา้ พเจา้ จะไดป้ รับปรุงให้ดีข้นึ ต่อไป และขอกราบขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ ปติ กิ ร ขำอ่อน

สารบัญ ก ก จดุ ประสงคร์ ายวิชา ข คำอธบิ ายรายวิชา ฟ การวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา 1-1 โครงการสอน 2–1 หน่วยการเรยี นท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับไมโครคอนโทรลเลอร์ 3-1 หนว่ ยการเรยี นท่ี 2 โครงสรา้ งของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายนอก 4-1 หน่วยการเรยี นที่ 3 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายใน 5-1 หนว่ ยการเรียนที่ 4 ชุดคำสัง่ ของไมโครคอนโทรลเลอร์ 6-1 หน่วยการเรียนท่ี 5 การเชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กบั อุปกรณภ์ ายนอกเบ้ืองต้น 7-1 หน่วยการเรียนท่ี 6 การเชื่อมต่อผา่ นพอร์ตอนุกรม 8–1 หน่วยการเรยี นท่ี 7 การควบคุมหลอดไฟ(LED) 9-1 หนว่ ยการเรียนท่ี 8 การควบคุมหลอดไฟ 7-Segment 10 - 1 หน่วยการเรยี นท่ี 9 การควบคุมมอเตอร์ 11 - 1 หน่วยการเรยี นที่ 10 การควบคุมสเตปมอเตอร์(Stepper Motor) 12 - 1 หนว่ ยการเรียนที่ 11 การเชือ่ มต่ออปุ กรณ์แสดงผล LCD 13 - 1 หน่วยการเรยี นท่ี 12 การเขยี นโปรแกรมอ่านค่าแอนนาล๊อก 14 - 1 หน่วยการเรียนท่ี 13 การเชื่อมต่อไอซวี ดั อุณหภมู ิ 11 - 1 หน่วยการเรยี นท่ี 14 การออกแบบวงจรควบคมุ อุณหภูมิอตั โนมัติ 15 - 1 หน่วยการเรียนที่ 11 การเชอื่ มต่ออุปกรณ์แสดงผล LCD 16 – 1 หนว่ ยการเรยี นท่ี 15 การประยุกตใ์ ช้งานวงจรควบคุมอุณหภมู อิ ัตโนมัติ 17 – 1 หนว่ ยการเรียนที่ 16 การบรู ณาการเป็นชิ้นงานวงจรควบคมุ อุณหภูมิอัตโนมตั ิ 18 – 1 หนว่ ยการเรยี นท่ี 17 การประยุกต์ใช้งานวงจรควบคุมอตั โนมัตสิ ำหรับหุน่ ยนต์เดินตามเส้น หนว่ ยการเรยี นท่ี 18 การบรู ณาการเป็นชิ้นงานหุน่ ยนตเ์ ดนิ ตามเส้นอัตโนมัติ

๑ ผลการวเิ คราะห์บริบทชุมชน จงั หวัดสมทุ รสงคราม มีความสำคัญทง้ั ทางดา้ นประวัติศาสตร์และเกษตรกรรมเนื่องจากเปน็ สถานท่ีพระ ราชสมภพของรัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศจ์ ักรี อีกทง้ั เป็นแหล่งการเพาะปลูก เกษตรกรรม การทำสวน มาชา้ นาน เน่อื งจากสภาพภูมิประเทศมีความเหมาะสม ดงั จะเหน็ จากคำขวญั จงั หวดั ทว่ี ่า “เมืองหอยหลอด ยอดลิ้นจ่ี มี อทุ ยาน ร.2 แม่กลองไหลผ่าน นมสั การหลวงพ่อบ้านแหลม” จงั หวัดสมุทรสงครามเปน็ เมืองท่ีมี ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมสมบรู ณ์ ความมเี อกลักษณใ์ นวฒั นธรรมและวถิ ีชีวิตนิเวศ 3 นำ้ รวมทงั้ ความ หลากหลายของภมู ิปญั ญาในการดำรงชีพและการปรับตัวให้เข้ากบั สภาพแวดลอ้ ม [ อารยา ศานติสรร] จงั หวัดสมทุ รสงครามมีความเข้มแข็งด้านสงั คมค่อนขา้ งมาก[ธนั ยพร วณชิ ฤทธา] สามารถดำรงสภาพ ชมุ ชนดั่งเดมิ ไว้ไดโ้ ดยส่วนใหญ่ ทงั้ สภาพพน้ื ที่สวนผลไม้ แมน่ ำ้ ลำคลอง อาคารบา้ นเรอื น สง่ิ ปลกู สร้างตา่ งๆ ทัง้ นี้ เนือ่ งมาจากเปน็ จังหวัดเลก็ ๆ ทเ่ี ข้าถึงยากในอดตี จึงทำให้ไมค่ อ่ ยมนี ักลงทุนเขา้ มาในพนื้ ท่ีเทา่ ไรนัก ดงั น้นั จงึ มีแต่ คนพ้ืนทเ่ี ท่าน้นั ที่อาศยั อยู่ ในปจั จบุ ันทำจงั หวัดสมุทรสงครามมีการเปลี่ยนแปลงและปรบั ตัวของชุมชนในหลายด้าน [อาภรณ์ จันทร์ สมวงศ]์ เช่น สวนทปี่ ลกู พืชเชงิ เดย่ี วมากขึ้น ขณะท่สี วนจำนวนมากไม่ได้รับการดแู ล ครัวเรือน ชาวสวนมอี าชพี ท่ี หลากหลายขึ้น เปน็ ตน้ การเปลี่ยนแปลงชวี ิตชมุ ชนดังกลา่ ว สะท้อนถงึ การเปล่ยี นแปลงระบบคดิ หรือระบบคุณค่า ในการจัดความสัมพันธ์ ทั้งระหวา่ งมนุษยก์ ับ ธรรมชาติ และความสมั พนั ธ์ทางสังคมของผคู้ นท่หี า่ งเหนิ กนั มากขึ้น นอกจากน้ี พบว่า โครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมชมุ ชน โดยเฉพาะระบบเครือญาติ การจัดระเบยี บสงั คมทีม่ ี พื้นฐานจากพุทธศาสนารวมท้ังระบบนเิ วศชุมชน เปน็ ปัจจัยสำคัญ ท่ที ำให้แต่ละชมุ ชนมีการเปลี่ยนแปลงและการ ปรบั ตัวทตี่ า่ งกัน โดยระบบนเิ วศชุมชนนัน้ เป็นปจั จัยลำดบั ตน้ ๆ ที่ผลกั ดันใหช้ ุมชนเปดิ ตัวรับการเปล่ยี นแปลงจาก ภายนอกอย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะชมุ ชนบางน้อย การศึกษานช้ี ้ใี หเ้ หน็ นยั สำคัญอย่างน้อย 2 ประการ คือ 1) วถิ ี ชวี ิตชุมชน ความเปน็ ชุมชน ถือเป็นมรดกทางสงั คมที่ตอ้ งอาศยั เวลา ผา่ นกระบวนการ เรียนรู้ พฒั นา การสรา้ ง สภาพแวดลอ้ มและความสัมพันธ์ของผคู้ นในการดำรงอยู่รว่ มกัน ความเปน็ ชมุ ชนที่มที ีม่ าดงั กลา่ วยอ่ มเป็นรากฐาน สำคญั ของสังคม และ 2) กระบวนการ เปลีย่ นแปลงทางสังคมมแี ง่มมุ หรือเงื่อนไขท่ีซบั ซ้อน แม้ดวู ่าจะมผี ลกระทบ จากปัจจัยตา่ งๆ ภายใตบ้ ริบทการพฒั นาท่คี ลา้ ยคลงึ กนั หากแตล่ ะชุมชนก็มีเน้อื หาต่างกัน ดังน้ันวธิ คี ิด ทไี่ ม่แยก ส่วน การตระหนักถึงพื้นฐานของสงั คมวัฒนธรรม ควรเป็นส่งิ ท่กี ำกับทศิ ทางการ พฒั นาไมว่ า่ จะเป็นในระดับใดก็ ตาม จากที่ได้กล่าวมาจงึ สรปุ ไดว้ า่ แนวการออกแบบการสอนจงึ ควรเนน้ การพฒั นาใหผ้ ูเ้ รยี นนำความร้ไู ปใช้กบั ระบบเกษตร เช่นระบบเกษตรอตั โนมตั ิ และระบบอตั โนมัติเพอื่ สนับสนนุ การทอ่ งเทีย่ ว เชน่ การนำไปใชก้ ับทพ่ี ัก อาศัย โฮมสเตร์ รสี อร์ทต่างๆ ในจงั หวัด รวมถงึ ใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดบั ที่สูงขึ้น

๒ มาตรฐานอาชีพและมาตรฐานสมรรถนะ วิชาไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บื้องต้น รหัสวิชา 20127-2107 เปน็ รายวิชาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ และมาตรฐานสมรรถนะของ สถาบันคณุ วุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) หรอื สคช. ซงึ่ เป็นหนว่ ยงานภาครฐั ภายใต้ การกำกบั ของนายกรฐั มนตรี ใน 2 สาขาวชิ าชพี ได้แก่ 1)สาขาวชิ าชีพหนุ่ ยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ อาชีพช่างแมคคาทรอนิกส์ ระดับ 3 โดยคณุ วุฒิวชิ าชพี สาขาวิชาชีพหนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมัติ อาชพี ชา่ งแมคคาทรอนิกส์ ระดับ 3 มี คุณลักษณะของผลการเรยี นรู้ (Characteristics of Outcomes)ระบุไวว้ า่ มีทักษะระดบั ฝีมือและเทคนิคในการ ปฎบิ ตั งิ านและสามารถแก้ปัญหาทางเทคนิคจากการใช้คู่มือ ตามมาตราฐานการทำงาน แบบสงั่ งาน แบบไฟฟ้า และข้อมูลที่เกยี่ วขอ้ งเพื่อควบคมุ คุณภาพของผลงาน มีความสามารถในการใชเ้ ครื่องมือได้อย่างถูกต้อง ภายใต้การ แนะแนวของผบู้ ังคบั บัญชา 2)สาขาวิชาชพี หุ่นยนตแ์ ละระบบอัตโนมตั ิ อาชีพช่างเทคนคิ หุ่นยนต์ ระดบั 3 โดยคณุ วฒุ วิ ิชาชพี สาขาวชิ าชีพหนุ่ ยนตแ์ ละระบบอัตโนมัติ อาชีพช่างเทคนิคหุน่ ยนต์ ระดับ 3 มี คุณลกั ษณะของผลการเรียนรู้ (Characteristics of Outcomes)ระบุไว้ว่าระดบั คุณวฒุ ินี้ถอื เป็นบุคคลที่มีทกั ษะ ระดับฝมี ือเฉพาะทางและเทคนคิ ในการปฏิบตั งิ าน กระบวนการคิดและปฏิบัตทิ ี่หลากหลาย สามารถแก้ปัญหาทาง เทคนคิ ควบคู่กบั การใช้คู่มือ และขอ้ มลู ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งภายใต้การแนะแนวของผบู้ ังคับบญั ชา มคี วามร้คู วามเขา้ ใจใน หลักการ วธิ ีการ ในสาขาวชิ าชีพเฉพาะ มคี วามรู้ ความเข้าใจในการอ่านแบบ เขยี นแบบและหลกั การความ ปลอดภัยท่เี กยี่ วข้อง มีความรู้ ความเขา้ ใจในภาษาตา่ งประเทศ ทใ่ี ชใ้ นการประกอบอาชีพ มีทกั ษะระดับฝมี ือ เฉพาะทางและเทคนิคในการปฏบิ ตั งิ าน มที ักษะในการเชือ่ มโยงความรู้ในการปฏิบตั ิงานทร่ี บั ผดิ ชอบ มีทักษะดา้ น ความปลอดภัยและใช้สารสนเทศเพื่อควบคมุ คุณภาพของผลงาน มสี ว่ นรว่ มในการประสานงานกลมุ่ หมู่คณะ มเี จต คตทิ ีด่ ีต่อวชิ าชีพ มคี วามคดิ ริเรมิ่ สงิ่ ใหม่ๆ และสามารถปฏบิ ัติได้อย่างมีหลักการ

๓ รหสั วิชา 20127-2107 วชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้ืองตน้ ทฤษฎี 1 คาบ/สปด. ปฏบิ ตั ิ 3 คาบ/สปด. 2 หนว่ ยกิต จุดประสงคร์ ายวิชา เพ่ือให้ 1. เขา้ ใจโครงสร้างและหลักการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ 2. มที กั ษะเกีย่ วกับการเขียนโปรแกรมควบคุมดว้ ยไมโครคอนโทรลเลอร์ 3. มที ักษะในการเชอื่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอุปกรณ์ภายนอก 4. มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยที่ดีในการทำงานดว้ ยความรับผิดชอบ รอบคอบปลอดภยั สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั โครงสร้างและหลักการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ 2. เขยี นโปรแกรมควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลักการ 3. ตอ่ วงจรไมโครคอนโทรลเลอรค์ วบคุมอปุ กรณภ์ ายนอก 4. ทดสอบโปรแกรมควบคุมการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กี่ยวกับโครงสร้างและหนา้ ท่ีส่วนต่าง ๆ ของไมโครคอนโทรลเลอร์ ชดุ คำสง่ั การเขียน โปรแกรมควบคุม การอ่านคา่ แอนะล็อก การเชื่อมตอ่ ผ่านพอร์ตอนุกรม การเชื่อมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กบั อุปกรณ์ภายนอกตา่ ง ๆ ควบคมุ หลอดไฟ (LED) ควบคุมหลอดไฟ 7-Segment ควบคมุ สเตป็ เปอรม์ อเตอร์ (Stepper Motor) ควบคมุ มอเตอร์แสดงผล LCD ไอซีวดั อุณหภูมิ โมดลู ตรวจจับสัญญาณอินพุต เปน็ ตน้

๔ การวิเคราะหห์ ลกั สูตรรายวิชา การเขียนร่างรายละเอยี ดหลกั สตู รรายวชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบอ้ื งตน้ รหัสวิชา 20127-2107 สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ ประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช 2562 ของ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ซึ่งทำการวิเคราะหห์ ลกั สตู รในวชิ าดังกลา่ ว เพื่อให้เหมาะสมกับการ จดั การเรยี นของสาขาวชิ าเมคคาทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม โดยคำนึงถึงสงิ่ ตอ่ ไปนี้ 1. ความต้องการทางวิชาชพี ( Requirement of vocation ) 2 สร้างแผนภมู ิระดมสมอง (Brain Storm Chart ) 3 สรา้ งแผนภมู ิหวั เร่อื งสัมพนั ธ์ (Concept Chart) 4 สร้างแผนภูมโิ ครงข่ายเนื้อหา (Content Network Chart) 5. การแบ่งเน้ือหาออกเปน็ หน่วยการเรียน 6. การกำหนดจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมของหนว่ ยการเรียน 7. การเขยี นตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 8. การเขยี นตารางวเิ คราะห์หลกั สูตร(Table of Specifications) 9. การเขียนตารางการวิเคราะห์ข้อสอบปลายภาค 10. การเขยี นโครงการสอนรายละเอยี ดในการวเิ คราะห์หัวข้อตา่ งๆ มีดังน้ี 1. ความตอ้ งการทางวชิ าชพี ( Requirement of vocation ) เมอื่ เรยี นวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์เบอ้ื งต้น แลว้ จะสามารถนำไปใชป้ ระกอบอาชีพไดด้ งั น้ี 1.1 ชา่ งบำรุงรกั ษาระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ในงานอตุ สาหกรรม 1.2 ชา่ งออกแบบระบบควบคุมอัตโนมตั ิ 1.3 ช่างออกแบบและติดตง้ั ระบบความปลอดภยั ภายในบา้ น 1.4 ชา่ งออกแบบและติดต้งั ระบบการประหยัดพลังงาน

๕ 2 สรา้ งแผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart ) กระบวนการรวบรวมหัวข้อทัง้ หมดทเ่ี กี่ยวข้องสัมพันธก์ ันขององค์ความรใู้ นส่วนของรายวิชา ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้ืองตน้ รหสั วชิ า 20127-2107 สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี พุทธศักราช 2562 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ได้ดำเนนิ การ โดยสอบถามความเหน็ จากผเู้ ช่ยี วชาญท่ีเปน็ ครทู ่สี อนในสาขาวชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบอื้ งต้น จำนวน 3 ท่าน การเก็บข้อมลู จากบันทึกหลักการสอนในภาคเรียนที่ผา่ นมา การสอบถามจากสถานประกอบการ และการสอบถาม จากศิษฐเ์ ก่าที่ได้ออกไปทำงานในสถานประกอบการ เพ่ือระดมความคิดในหัวข้อท่วั ไปท่ีเกยี่ วข้อง โดยพิจารณาถึง มาตรฐานอาชีพและมาตรฐานสมรรถนะของ สถาบนั คุณวฒุ ิวชิ าชีพ (องค์การมหาชน) ซึ่งผลลัพธส์ ุดท้ายทไี่ ดจ้ าก การระดมสมองนี้เปน็ แผนภูมิระดมสมอง (Brain Storm Chart) ทีแ่ สดงถงึ ความคดิ ที่เป็นรปู ธรรมของกลุ่ม ผูเ้ ช่ียวชาญ เพอื่ ใชป้ ระโยชน์ในการวิเคราะห์ในขน้ั ตอนการสร้างแผนภมู หิ ัวเร่อื งสัมพันธใ์ นข้ันตอนต่อไป PWM LED LED LED IC74595 SPI LED IC PCF8574 LED I2C LED LED ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้ืองต้น LED Tx Tx Rx Rx I2C LED SPI SPI SPI I2C I2C SPI I2C ภาพท่ี 1 แผนภูมริ ะดมสมองของวิชาไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บือ้ งตน้

๖ 3 สรา้ งแผนภูมิหัวเรอ่ื งสมั พันธ์ (Concept Chart) การสรา้ งแผนภมู ิหวั เรอ่ื งสมั พันธ์ ได้มกี ารดำเนนิ การวิเคราะห์หวั เร่อื งรว่ มกับผู้เช่ยี วชาญในสาขาวิชา ไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้ืองต้น จำนวน 3 ทา่ น ซงึ่ เปน็ ผูเ้ ชีย่ วชาญกลมุ่ เดียวกนั กับผ้เู ชยี่ วชาญที่ระดมความคิดโดย ละเอียด เพือ่ คัดเลือกเฉพาะหัวเร่อื งทเี่ กี่ยวโยงต่อเนอื่ งกนั ท่ีจำเปน็ และเหมาะสำหรบั การนำเสนอบทเรียน เน้ือหาวชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์เบ้อื งต้น ในระดับหลักสตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชนั้ ปีท่ี 3 หลังจากท่ีได้หวั เร่อื ง โดยรวมจากแผนภมู ิระดมสมอง (Brain Storm Chart) มาแลว้ ทำใหท้ ราบหัวข้อทเี่ ปน็ พื้นฐาน หวั เร่ืองหลัก หัว เรือ่ งรอง หรือ หัวเร่ืองสนบั สนนุ และหวั เร่ืองของการประยกุ ต์ ในการที่จะนำมาสร้างเป็นแผนการสอนที่สมบูรณ์ ทีส่ ุด LED ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บ้อื งต้น LED LED LED I2C SPI SPI I2C I2C SPI I2C SPI ภาพที่ 2 แผนภมู หิ ัวเรอื่ งสัมพันธ์ (Concept Chart)ของวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์เบอื้ งตน้

๗ 4 สรา้ งแผนภูมโิ ครงขา่ ยเน้ือหา (Content Network Chart) ภายหลังจากได้แผนภูมิหัวเรือ่ งสมั พนั ธ์แลว้ นำหวั ขอ้ จากแผนภมู หิ ัวเรือ่ งสัมพนั ธ์ มาวเิ คราะห์ ความสัมพนั ธข์ องเนื้อหาแตล่ ะหวั เร่ืองว่ามีลำดับความสมั พันธก์ ันอยา่ งไร มาเขียนลงในแผนภูมิ โครงขา่ ยเนือ้ หา (Content Network Chart) เม่ือเขยี นเสร็จแล้ว ไดว้ ิเคราะหล์ ำดับความสัมพันธ์ของเนื้อหาทั้งหมดอีกคร้ัง ก่อนให้ ผเู้ ช่ียวชาญดา้ นเนอ้ื หา 3 ท่าน ชว่ ยตรวจสอบแผนภูมิโครงขา่ ยเนอ้ื หาอีกคร้ัง ในการท่ีจะนำมาสร้างเป็นแผนการ สอนท่สี มบรู ณ์ทส่ี ุด Start A AB BC CD (LED) LED LED LED DE EF ภาพที่ 3 สร้างแผนภมู โิ ครงข่ายเนอ้ื หา(Content Network Chart)วิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ เบอ้ื งตน้

SPI ๘ SPI F I2C SPI SPI I2C G I2C I2C GH HI IJ JK KL LM M END ภาพท่ี 3 สร้างแผนภูมิโครงขา่ ยเน้ือหา(Content Network Chart)วชิ าไมโครคอนโทรลเลอร์ เบื้องตน้ (ต่อ)

๙ 5. การแบ่งเน้อื หาออกเป็นหน่วยการเรยี น สำหรบั การแบ่งเน้ือหาออกเป็นหนว่ ยการเรยี นน้ี เปน็ การแบง่ เนอ้ื หาเพอ่ื ใหเ้ หมาะกบั การเรยี นวชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้นในแต่ละคร้ัง โดยพิจารณาจากการสอนครั้งละ 4 ชั่วโมงตอ่ สัปดาห์ หรือ 240 นาที ตอ่ การสอนหนง่ึ คร้งั ซ่ึงจากการเรยี นภาคการศึกษาละ 18 สปั ดาห์ และมกี ารสอบวัดผลในสปั ดาห์ที่ 19 ผู้สอนจึง ทำการแบ่งหนว่ ยการเรียนออกเปน็ 18 หนว่ ยการเรยี น โดยสามารถทำการสอนไดส้ ัปดาห์ละ 1 หน่วยการเรยี น รายละเอียดดังน้ี 1 Start A 2 A B 3 4 B C 5 D C6 E F (LED) LED LED 7 LED D8 9 E 10 ภาพที่ 4 การแบง่ เนอ้ื หาออกเปน็ หน่วยการเรยี นจากแผนภมู ิโครงขา่ ยเนอื้ หา

๑๐ 11 SPI SPI SPI SPI F I2C 12 I2C G G I2C I2C H H I I 13 J 14 K 15 L M 16 END J 17 K L 18 M ภาพท่ี 4 การแบ่งเนอ้ื หาออกเป็นหนว่ ยการเรียนจากแผนภมู ิโครงข่ายเน้ือหา(ต่อ)

๑๑ ตารางท่ี 1 ตารางการแบ่งเนื้อหาออกเป็นหนว่ ยการเรียน หน่วยการ ช่ือหน่วยการเรียน เนือ้ หา เรยี นที่ 1.1 การปฐมนิเทศ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.2 ความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.3 การทัศนศกึ ษากจิ กรรมหุ่นยนต์ แบบ 2 โครงสรา้ งของไมโครคอนโทรลเลอรภ์ ายนอก ออนไลน์ 2.1 การจัดเรยี งขาและการใชง้ าน 3 โครงสรา้ งของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายใน ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.2 แผนผังไดอะแกรมเวลาของ 4 ชดุ คำส่ังของไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.3 การตอ่ วงจรเริ่มใช้งาน 5 การเช่ือมต่อผ่านพอร์ตอนุกรม ไมโครคอนโทรลเลอร์ 3.1 หลักการเบือ้ งต้นของโครงสรา้ งภายในของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 3.2 รีจิสเตอรข์ องไมโครคอนโทรลเลอร์ 3.3 โมดูลใช้งานของไมโครคอนโทรลเลอร์ 4.1 หลักการเบื้องต้นของคำสง่ั ของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 4.2 การใช้งานฟังชน่ั ของคำส่ัง ไมโครคอนโทรลเลอร์ 4.3 การเขียนโปรแกรมคำสั่งของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 5.1 หลักการเชอื่ มตอ่ ผ่านพอรต์ อนุกรม 5.2 การเช่ือมต่อวงจรการเชื่อมต่อผา่ นพอร์ต อนุกรม 5.3 การเขยี นโปรแกรมเพ่ือการเชอื่ มตอ่ ผ่าน พอร์ตอนุกรม

๑๒ ตารางท่ี 1 ตารางการแบง่ เน้ือหาออกเป็นหนว่ ยการเรียน(ตอ่ ) หน่วยการ ชอ่ื หน่วยการเรยี น เน้ือหา เรียนท่ี 6.1 หลักการเบ้อื งต้นของการเชื่อมตอ่ 6 การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์กบั อปุ กรณภ์ ายนอก ภายนอกเบ้ืองต้น 6.2 การเชื่อมต่อวงจรอุปกรณ์ภายนอกเบ้ืองต้น 6.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อเชื่อมต่อ 7 การควบคมุ หลอดไฟ LED ไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอุปกรณภ์ ายนอก 7.1 หลกั การเช่อื มต่อหลอดไฟ LED 8 การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ 7.2 การเช่อื มต่อวงจรหลอดไฟ LED อนิ พุทแบบดจิ ติ อล 7.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อควบคมุ หลอดไฟ LED 9 การอ่านค่าแอนนาล๊อก 8.1 หลกั การเบอื้ งต้นของการเชอื่ มต่อ 10 การสง่ ออกสญั ญาณแอนนาล๊อก ไมโครคอนโทรลเลอรก์ บั อุปกรณอ์ นิ พุทแบบ ดิจิตอล 11 การเชือ่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการ 8.2 การเช่ือมต่อวงจรไมโครคอนโทรลเลอรก์ บั สอื่ สารแบบ SPI อุปกรณ์อินพุทแบบดิจติ อล 8.3 การเขียนโปรแกรมเพื่อเช่ือมต่อ ไมโครคอนโทรลเลอรก์ ักับอุปกรณอ์ ินพุทแบบ ดจิ ิตอล 9.1 หลกั การการอ่านค่าแอนนาลอ๊ ก 9.2 การเชอ่ื มต่อวงจรอุปกรณ์แอนนาลอ๊ ก 9.3 การเขยี นโปรแกรมเพ่ืออ่านค่าแอนนาล๊อก 10.1 หลักการการส่งออกสญั ญาณแอนนาล๊อก 10.2 การเช่ือมต่อวงจรอปุ กรณ์แอนนา ลอ๊ กเอาท์พุท 10.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อการส่งออก สญั ญาณแอนนาลอ๊ ก 11.1 หลกั การเบ้ืองต้นของการเชอื่ มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการส่ือสารแบบ SPI 11.2 การเช่อื มตอ่ วงจรอุปกรณภ์ ายนอกผ่าน การสอื่ สารแบบ SPI 11.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อเช่อื มต่อ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการส่อื สารแบบ SPI

๑๓ ตารางที่ 1 ตารางการแบ่งเน้ือหาออกเป็นหนว่ ยการเรยี น(ต่อ) หนว่ ยการ ชื่อหนว่ ยการเรียน เนื้อหา เรียนที่ 12.1 หลกั การเบ้ืองตน้ ของการเชื่อมตอ่ 12 การเชื่อมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการสือ่ สารแบบ I2C ส่ือสารแบบ I2C 12.2 การเชอ่ื มต่อวงจรอุปกรณ์ภายนอกผ่าน การสอื่ สารแบบ I2C 13 การควบคุมมอเตอร์ 12.3 การเขยี นโปรแกรมเพือ่ เชื่อมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ผา่ นการส่ือสารแบบ I2C 14 การเชื่อมต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับเซนเซอร์ 13.1 หลักการควบคุมมอเตอรเ์ บ้อื งต้น แสง 13.2 การเชือ่ มต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ 13.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อควบคุมมอเตอร์ การประยุกต์ใช้งานระบบควบคมุ อัตโนมัตดิ ว้ ย 14.1 หลักการเชอ่ื มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์กบั 15 เซนเซอรแ์ สง เซนเซอรแ์ สง 14.2 การเช่อื มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับวงจร 16 การบูรณาการเปน็ ชน้ิ งานระบบควบคมุ เซนเซอร์แสง อตั โนมตั ดิ ้วยเซนเซอร์แสง 14.3 การเขยี นโปรแกรมเพอ่ื อ่านคา่ เซนเซอร์ แสง 15.1 หลกั การการประยุกตใ์ ช้งานระบบควบคมุ อัตโนมตั ิดว้ ยเซนเซอร์แสง 15.2 การเชือ่ มตอ่ วงจรระบบควบคุมอัตโนมัติ ดว้ ยเซนเซอรแ์ สง 15.3 การเขยี นโปรแกรมกำหนดจุดทำงานของ ระบบควบคุมอัตโนมัติดว้ ยเซนเซอรแ์ สง 16.1 การหาคุณสมบตั ิทางกายภาพของอปุ กรณ์ 16.2 การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปในการสรา้ ง แผ่นวงจรพมิ พ์ 16.3 การสร้างแผน่ วงจรพิมพ์ 16.4 การประกอบวงจรสวิตช์ทำงานด้วยแสง 16.5 การทดสอบการทำงานระบบควบคุม อตั โนมัตดิ ้วยเซนเซอร์แสง

๑๔ ตารางท่ี 1 ตารางการแบ่งเนื้อหาออกเปน็ หนว่ ยการเรยี น(ตอ่ ) หนว่ ยการ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี น เนือ้ หา เรยี นที่ 17.1 หลักการประยกุ ต์ใช้งานวงจรควบคุม 17 การประยุกตใ์ ชง้ านวงจรควบคุมอัตโนมัติ อัตโนมัติสำหรับห่นุ ยนต์เดนิ ตามเส้น สำหรับห่นุ ยนต์เดนิ ตามเสน้ 17.2 การกำหนดตารางความจรงิ ของการ ทำงาน 18 การบูรณาการเปน็ ชน้ิ งานหุ่นยนตเ์ ดินตามเสน้ 17.3 การเขยี นวงจรควบคมุ อัตโนมตั สิ ำหรบั อัตโนมตั ิ ห่นุ ยนตเ์ ดินตามเสน้ 17.4 การหาคุณสมบตั ิทางกายภาพของอุปกรณ์ 17.5 การใช้งานโปรแกรมสำเรจ็ รูปในการสรา้ ง แผน่ วงจรพิมพ์ 17.6 การสร้างแผน่ วงจรพิมพ์วงจรควบคุม อัตโนมัติสำหรับหนุ่ ยนต์เดินตามเสน้ 18.1 การประกอบวงจรห่นุ ยนต์เดินตามเส้น อัตโนมัติ 18.2 การทดสอบการทำงานวงจรหุ่นยนตเ์ ดนิ ตามเสน้ อัตโนมัติ 18.3 การปรับปรงุ การทำงานวงจรหุ่นยนต์เดิน ตามเส้นอตั โนมัติ

๑๕ 6. การกำหนดจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมของหน่วยการเรียน สำหรบั การกำหนดจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมของหนว่ ยการเรยี นน้ี เป็นการการกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมให้ ครอบคลุมเน้อื หาหนว่ ยการเรยี นในแต่ละหนว่ ย รวมถึงต้องพจิ ารณาระดับของความรขู้ องผเู้ รยี นในแต่ละหน่วยการ เรยี นด้วย โดยระดบั ความรูจ้ ำแนกเป็น 3 ระดับไดแ้ ก่ 1) การฟ้ืนคืนความรู้(Recalled Knowledge) หมายถงึ การมงุ่ เน้นความสามารถในการจดจำเรอื่ งราวเหตุการณ์ หรอื ประสบการณต์ ่างๆ และสามารถนึกถงึ เรอื่ งราวเหลา่ นั้นได้อย่างถกู ตอ้ งโดยการเขียนหรอื อธบิ ายดว้ ยคำพดู 2) การประยุกตค์ วามร(ู้ Applied Knowledge) เป็นการนำความรทู้ ีไ่ ดเ้ รยี นแลว้ ไปแก้ปัญหาในสถานการณ์ ใหม่ๆ ท่มี ลี กั ษณะเดียวกันกับส่งิ ทเ่ี รยี นร้มู าแล้วได้อยา่ งถูกต้องโดยการพดู เขียน สรุป ขยายความ อธิบายเป็นตน้ 3) การส่งถา่ ยความรู้(Transferred Knowledge) เป็นการนำความรู้ที่ได้เรยี นแล้วไปแก้ปัญหาในสถานการณ์ ใหมๆ่ ทม่ี ีลกั ษณะแตกตา่ งกบั ประสบการณ์ท่ผี ู้เรียนสมั ผสั มาไดอ้ ย่างถูกต้องโดยการวิเคราะห์ สงั เคราะห์ หรอื การ สรปุ ผลเปน็ ตน้ ในตารางการกำหนดจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมของหนว่ ยการเรียนที่ได้สร้างขน้ึ นจี้ ะใช้สญั ลกั ษณ์ ตัวอักษร R แทนการฟน้ื คนื ความรู้(Recalled Knowledge) ใชส้ ญั ลกั ษณ์ตัวอักษร A แทนการประยุกต์ ความรู้(Applied Knowledge) และใช้สญั ลักษณ์ตัวอักษร T แทนการสง่ ถ่ายความรู้(Transferred Knowledge) ซงึ่ จะไดผ้ ลดังตารางท่ี 2 ตารางท่ี 2 ตารางการกำหนดจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมของหนว่ ยการเรียน ระดบั จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หนว่ ยการเรยี นและเนื้อหา RAT ของหนว่ ยการเรียน 1 ความรูเ้ บื้องตน้ เกย่ี วกบั ไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.1 บอกความหมายของ 1.1 การปฐมนเิ ทศ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ถกู ตอ้ ง 1.2 ยกตัวอยา่ งการนำเอาเทคนิคของ 1.2 ความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร์ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอร์ไปใช้ประโยชน์ได้ ถูกต้อง 1.3 การทัศนศึกษากิจกรรมหนุ่ ยนต์ แบบออนไลน์ ✓ 2 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายนอก 2.1 บอกความหมายของขาใช้งาน 2.1 การจดั เรียงขาและการใช้งาน ✓ ไมโครคอนโทรลเลอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.2 บอกความแตกตา่ งของขาใช้งาน 2.2 แผนผังไดอะแกรมเวลาของ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้ถูกต้อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.3 การตอ่ วงจรเริ่มใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ ✓

๑๖ ตารางที่ 2 ตารางการกำหนดจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมของหน่วยการเรยี น(ตอ่ ) ระดับ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม หนว่ ยการเรยี นและเนื้อหา RAT ของหนว่ ยการเรยี น 3 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายใน 3.1 บอกความหมายของรีจิสเตอร์ภายใน 3.1 หลักการเบื้องต้นของโครงสรา้ งภายในของ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ด้ถกู ต้อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ 3.2 บอกความแตกต่างของโมดูลใช้งาน 3.2 รจี ิสเตอรข์ องไมโครคอนโทรลเลอร์ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ดถ้ ูกต้อง 3.3 โมดูลใชง้ านของไมโครคอนโทรลเลอร์ ✓ 4 ชุดคำสงั่ ของไมโครคอนโทรลเลอร์ 4.1 บอกความหมายของชุดคำส่ัง ไมโครคอนโทรลเลอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 4.1 หลกั การเบ้ืองตน้ ของคำสั่งของ ✓ 4.2 บอกความแตกตา่ งของฟังชน่ั ของคำส่งั ไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ไดถ้ ูกต้อง 4.2 การใชง้ านฟงั ช่นั ของคำสง่ั ✓ 5.1 บอกหลกั การเบื้องตน้ ของการเช่ือมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ ผา่ นพอร์ตอนกุ รมได้ถูกต้อง 5.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพ่ือ 4.3 การเขียนโปรแกรมคำส่ังของ ✓ เชอ่ื มตอ่ ผ่านพอร์ตอนุกรมได้ถูกต้อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ 6.1 บอกการเชือ่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ 5 การเชอ่ื มต่อผ่านพอรต์ อนกุ รม กบั อปุ กรณภ์ ายนอกเบ้ืองตน้ ไดถ้ ูกต้อง 6.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพอ่ื 5.1 หลกั การเชื่อมต่อผา่ นพอรต์ อนุกรม ✓ เชอ่ื มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ 5.2 การเชือ่ มต่อวงจรการเชื่อมต่อผา่ นพอรต์ ✓ ภายนอกไดถ้ ูกตอ้ ง อนุกรม 7.1 บอกหลักการเบ้ืองต้นของการควบคุม 5.3 การเขียนโปรแกรมเพ่อื การเช่อื มต่อผ่านพอรต์ ✓ หลอดไฟLED ได้ถกู ต้อง อนุกรม 7.2 เขยี นโปรแกรมเพอ่ื ควบคุมหลอดไฟ LED ตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง 6 การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอปุ กรณ์ ✓ ภายนอกเบื้องต้น 6.1 หลักการเบอื้ งตน้ ของการเช่อื มตอ่ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ภายนอก ✓ 6.2 การเชื่อมต่อวงจรอุปกรณ์ภายนอกเบื้องตน้ 6.3 การเขียนโปรแกรมเพ่อื เช่ือมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอุปกรณภ์ ายนอก 7 การควบคมุ หลอดไฟ LED ✓ 7.1 หลักการเช่ือมต่อหลอดไฟ LED 7.2 การเชอ่ื มตอ่ วงจรหลอดไฟ LED ✓ 7.3 การเขียนโปรแกรมเพือ่ ควบคุมหลอดไฟ LED ✓

๑๗ ตารางที่ 2 ตารางการกำหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมของหนว่ ยการเรยี น(ต่อ) หนว่ ยการเรยี นและเนื้อหา ระดับ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 8 การเช่อื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับอปุ กรณ์ RAT ของหนว่ ยการเรยี น อนิ พุทแบบดิจิตอล 8.1 หลักการเบ้ืองตน้ ของการเชอื่ มต่อ ✓ 8.1 บอกหลกั การเบื้องต้นของการเชอ่ื มต่อ ไมโครคอนโทรลเลอร์กบั อปุ กรณ์อนิ พทุ แบบดจิ ิตอล ✓ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอปุ กรณ์อนิ พทุ แบบ 8.2 การเชือ่ มต่อวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์กบั ✓ ดิจติ อลได้ถูกต้อง อปุ กรณ์อนิ พทุ แบบดจิ ิตอล 8.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพอ่ื 8.3 การเขยี นโปรแกรมเพือ่ เชื่อมตอ่ ✓ เชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กบั อปุ กรณ์ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณอ์ นิ พทุ แบบดจิ ิตอล ✓ อนิ พุทแบบดจิ ิตอลตามขอ้ กำหนดได้ถูกตอ้ ง 9 การอา่ นค่าแอนนาลอ๊ ก ✓ 9.1 หลักการการอ่านคา่ แอนนาล๊อก 9.1 บอกหลกั การเบ้ืองต้นของการอา่ นค่า 9.2 การเชื่อมตอ่ วงจรอุปกรณแ์ อนนาล๊อก ✓ แอนนาล๊อกได้ถูกตอ้ ง 9.3 การเขียนโปรแกรมเพ่ืออา่ นค่าแอนนาล๊อก ✓ 9.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพอ่ื ✓ การอ่านค่าแอนนาล๊อกตามข้อกำหนดได้ 10 การสง่ ออกสญั ญาณแอนนาล๊อก ถกู ต้อง 10.1 หลกั การการส่งออกสัญญาณแอนนาล๊อก ✓ 10.1 บอกหลักการเบ้ืองตน้ ของการสง่ ออก 10.2 การเชือ่ มต่อวงจรอปุ กรณแ์ อนนาล๊อกเอาท์ ✓ สญั ญาณแอนนาล๊อกได้ถกู ต้อง พทุ ✓ 10.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพื่อ 10.3 การเขียนโปรแกรมเพื่อการสง่ ออกสัญญาณ ส่งออกสัญญาณแอนนาล๊อกตามข้อกำหนด แอนนาลอ๊ ก ไดถ้ ูกตอ้ ง 11 การเชือ่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ผา่ นการ สือ่ สารแบบ SPI 11.1 บอกหลักการเบื้องตน้ ของการเช่ือมต่อ 11.1 หลกั การเบอ้ื งตน้ ของการเช่ือมต่อ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการส่อื สารแบบ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการส่ือสารแบบ SPI SPI ได้ถูกต้อง 11.2 การเชอ่ื มต่อวงจรอปุ กรณภ์ ายนอกผ่านการ 11.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพื่อ สอ่ื สารแบบ SPI การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการ 11.3 การเขียนโปรแกรมเพื่อเช่ือมต่อ ส่อื สารแบบ SPI ตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ผา่ นการส่อื สารแบบ SPI

๑๘ ตารางที่ 2 ตารางการกำหนดจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมของหนว่ ยการเรียน(ต่อ) ระดับ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หน่วยการเรียนและเน้ือหา RAT ของหนว่ ยการเรียน 12 การเชื่อมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการ 12.1 บอกหลักการเบื้องตน้ ของการเชื่อมต่อ สอ่ื สารแบบ I2C ไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการสอื่ สารแบบ 12.1 หลักการเบอื้ งตน้ ของการเชอ่ื มต่อ ✓ I2C ได้ถูกต้อง ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการสือ่ สารแบบ I2C 12.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพ่ือ 12.2 การเช่อื มต่อวงจรอปุ กรณ์ภายนอกผา่ นการ ✓ การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการ สอื่ สารแบบ I2C ส่อื สารแบบ I2C ตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง 12.3 การเขียนโปรแกรมเพ่ือเชอ่ื มต่อ ✓ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการสอื่ สารแบบ I2C 13 การควบคุมมอเตอร์ 13.1 บอกหลักการเบ้ืองตน้ ของการควบคุม 13.1 หลกั การควบคุมมอเตอร์เบอื้ งตน้ ✓ มอเตอร์ ได้ถูกต้อง 13.2 การเชอ่ื มต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ 13.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพ่ือ 13.3 การเขยี นโปรแกรมเพ่ือควบคมุ มอเตอร์ ✓ การควบคุมมอเตอร์ ตามข้อกำหนดไดถ้ ูกตอ้ ง ✓ 14 การเชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับเซนเซอร์ 14.1 บอกหลักการเช่ือมต่อ แสง ไมโครคอนโทรลเลอร์กับเซนเซอรแ์ สง ได้ 14.1 หลกั การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กบั ✓ ถูกต้อง เซนเซอร์แสง 14.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพ่ือ 14.2 การเชอื่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ บั วงจร ✓ เช่อื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กบั เซนเซอร์ เซนเซอรแ์ สง แสงตามข้อกำหนดได้ถกู ต้อง 14.3 การเขียนโปรแกรมเพื่ออา่ นค่าเซนเซอร์แสง ✓ 15 การประยุกต์ใช้งานระบบควบคุมอัตโนมตั ิด้วย 15.1 บอกหลักการ การประยุกต์ใชง้ านระบบ เซนเซอรแ์ สง ควบคมุ อัตโนมัติด้วยเซนเซอร์แสง ได้ถูกต้อง 15.1 หลกั การการประยกุ ต์ใช้งานระบบควบคุม ✓ 15.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพ่ือ อตั โนมัตดิ ว้ ยเซนเซอรแ์ สง การประยุกต์ใช้งานระบบควบคมุ อตั โนมัติ 15.2 การเชอ่ื มต่อวงจรระบบควบคุมอัตโนมตั ิดว้ ย ✓ ดว้ ยเซนเซอร์แสงตามข้อกำหนดได้ถูกตอ้ ง เซนเซอรแ์ สง 15.3 การเขียนโปรแกรมกำหนดจดุ ทำงานของ ✓ ระบบควบคุมอัตโนมัติด้วยเซนเซอร์แสง

๑๙ ตารางที่ 2 ตารางการกำหนดจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมของหน่วยการเรยี น(ตอ่ ) ระดบั จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หนว่ ยการเรียนและเนื้อหา RAT ของหนว่ ยการเรยี น 16 การบูรณาการเปน็ ชน้ิ งานระบบควบคุมอตั โนมตั ิ 16.1 บอกหลักการ การบูรณาการเปน็ ดว้ ยเซนเซอร์แสง ชิ้นงานระบบควบคุมอตั โนมตั ิดว้ ยเซนเซอร์ 16.1 การหาคณุ สมบัตทิ างกายภาพของอปุ กรณ์ ✓ แสง ได้ถูกต้อง 16.2 การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปในการสรา้ ง ✓ 16.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพื่อ แผ่นวงจรพิมพ์ การบรู ณาการเป็นชิน้ งานระบบควบคมุ 16.3 การสรา้ งแผ่นวงจรพมิ พ์ ✓ อัตโนมัติดว้ ยเซนเซอรแ์ สงตามข้อกำหนดได้ 16.4 การประกอบวงจรสวิตชท์ ำงานด้วยแสง ✓ ถูกต้อง 16.5 การทดสอบการทำงานระบบควบคุม ✓ อัตโนมัติด้วยเซนเซอรแ์ สง 17 การประยุกต์ใชง้ านวงจรควบคุมอัตโนมตั ิสำหรับ 17.1 บอกหลักการ การประยุกต์ใช้งานวงจร หนุ่ ยนต์เดินตามเสน้ ควบคุมอัตโนมัติสำหรบั ห่นุ ยนตเ์ ดินตามเส้น 17.1 หลักการประยุกต์ใช้งานวงจรควบคุม ✓ ไดถ้ ูกต้อง อัตโนมตั ิสำหรบั หุ่นยนตเ์ ดินตามเส้น 17.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพ่ือ 17.2 การกำหนดตารางความจรงิ ของการทำงาน ✓ การประยุกตใ์ ช้งานวงจรควบคมุ อตั โนมัติ 17.3 การเขยี นวงจรควบคุมอัตโนมตั ิสำหรับ ✓ สำหรับห่นุ ยนต์เดินตามเสน้ ตามข้อกำหนดได้ หุ่นยนต์เดินตามเส้น ถกู ต้อง 17.4 การหาคุณสมบัติทางกายภาพของอปุ กรณ์ ✓ 17.5 การใชง้ านโปรแกรมสำเรจ็ รูปในการสร้าง ✓ แผน่ วงจรพิมพ์ 17.6 การสรา้ งแผน่ วงจรพมิ พ์วงจรควบคมุ ✓ อตั โนมัตสิ ำหรบั หนุ่ ยนต์เดนิ ตามเส้น 18 การบูรณาการเปน็ ชิ้นงานหนุ่ ยนต์เดินตามเส้น 18.1 บอกหลักการ การบรู ณาการเป็น อัตโนมัติ ชิ้นงานหนุ่ ยนตเ์ ดนิ ตามเส้นอัตโนมตั ิได้ 18.1 การประกอบวงจรหุน่ ยนต์เดนิ ตามเสน้ ✓ ถูกต้อง อตั โนมัติ 18.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพื่อ 18.2 การทดสอบการทำงานวงจรหนุ่ ยนต์เดนิ ตาม ✓ การบรู ณาการเป็นชิ้นงานหุน่ ยนตเ์ ดินตาม เสน้ อตั โนมัติ เสน้ อตั โนมตั ิตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง 18.3 การปรับปรงุ การทำงานวงจรห่นุ ยนตเ์ ดนิ ✓ ตามเส้นอตั โนมตั ิ

๒๐ 7. การเขยี นตารางรายการหนว่ ย สมรรถนะ และจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หลังจากทีไ่ ด้กำหนดจุดประสงค์รายวชิ า คำอธิบายรายวิชา และสมรรถนะของรายวิชาให้สอดคล้อง องคป์ ระกอบตา่ งๆ เรยี บรอ้ ยแล้วเราจะสามารถเขยี นตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมเพื่อใหห้ นว่ ยการเรยี นท่เี รากำหนดข้นึ มคี วามสอดคล้องกบั สมรรถนะรายวิชา สามารถเขียนเปน็ ตาราง ไดด้ งั นี้ ตารางท่ี 3 ตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม หน่วยการเรยี นและเน้ือหา สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกับไมโครคอนโทรลเลอร์ สมรรถนะ แสดงความรเู้ กี่ยวกบั โครงสร้างและ 1.1 การปฐมนิเทศ หลกั การทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.2 ความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร์ จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1.3 การทัศนศึกษากิจกรรมหุน่ ยนต์ แบบออนไลน์ 1.1 บอกความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ ถูกต้อง 1.2 ยกตัวอย่างการนำเอาเทคนคิ ของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ไปใช้ประโยชน์ได้ถกู ต้อง 2 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายนอก สมรรถนะ แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั โครงสรา้ งและ 2.1 การจดั เรยี งขาและการใช้งาน หลกั การทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 2.2 แผนผังไดอะแกรมเวลาของ 2.1 บอกความหมายของขาใช้งาน ไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ดถ้ ูกต้อง 2.3 การตอ่ วงจรเร่ิมใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.2 บอกความแตกต่างของขาใชง้ าน ไมโครคอนโทรลเลอร์ ได้ถกู ต้อง 3 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอรภ์ ายใน สมรรถนะ แสดงความรู้เกีย่ วกบั โครงสรา้ งและ 3.1 หลกั การเบ้ืองต้นของโครงสร้างภายในของ หลักการทำงานของไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3.2 รีจสิ เตอรข์ องไมโครคอนโทรลเลอร์ 3.1 บอกความหมายของรีจสิ เตอร์ภายใน 3.3 โมดูลใช้งานของไมโครคอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ด้ถกู ต้อง 3.2 บอกความแตกต่างของโมดูลใช้งาน ไมโครคอนโทรลเลอรไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง

๒๑ ตารางท่ี 3 ตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม(ต่อ) หน่วยการเรียนและเนื้อหา สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 4 ชดุ คำสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์ สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม 4.1 หลกั การเบ้ืองตน้ ของคำส่ังของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลักการ ไมโครคอนโทรลเลอร์ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 4.2 การใชง้ านฟังช่นั ของคำส่งั ไมโครคอนโทรลเลอร์ 4.1 บอกความหมายของชุดคำส่ัง 4.3 การเขียนโปรแกรมคำสั่งของ ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ถูกตอ้ ง ไมโครคอนโทรลเลอร์ 4.2 บอกความแตกต่างของฟังช่ันของคำสงั่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ไดถ้ ูกต้อง 5 การเชอ่ื มต่อผา่ นพอรต์ อนกุ รม สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรม 5.1 หลักการเชอื่ มต่อผ่านพอรต์ อนุกรม ไมโครคอนโทรลเลอรถ์ ูกต้องตามหลกั การ 5.2 การเชื่อมต่อวงจรการเชื่อมต่อผ่านพอร์ตอนกุ รม จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 5.3 การเขียนโปรแกรมเพื่อการเชอื่ มต่อผ่านพอร์ต 5.1 บอกหลักการเบื้องต้นของการเช่ือมต่อผา่ นพอร์ต อนุกรม อนกุ รมไดถ้ ูกต้อง 5.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพือ่ เชื่อมต่อ ผา่ นพอร์ตอนุกรมได้ถกู ต้อง 6 การเช่อื มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอปุ กรณ์ สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม ภายนอกเบ้ืองตน้ ไมโครคอนโทรลเลอรถ์ ูกต้องตามหลักการ 6.1 หลักการเบ้ืองต้นของการเช่ือมต่อ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอปุ กรณ์ภายนอก 6.1 บอกการเชือ่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ 6.2 การเชือ่ มตอ่ วงจรอปุ กรณ์ภายนอกเบ้ืองต้น ภายนอกเบ้ืองตน้ ได้ถูกต้อง 6.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อเชือ่ มต่อ 6.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพือ่ เช่ือมต่อ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณภ์ ายนอก ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอุปกรณ์ภายนอกได้ถูกต้อง 7 การควบคุมหลอดไฟ LED สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม 7.1 หลกั การเชอ่ื มต่อหลอดไฟ LED ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลกั การ 7.2 การเชอ่ื มตอ่ วงจรหลอดไฟ LED จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 7.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อควบคุมหลอดไฟ LED 7.1 บอกหลกั การเบื้องตน้ ของการควบคุมหลอดไฟ LED ไดถ้ ูกต้อง 7.2 เขยี นโปรแกรมเพอ่ื ควบคุมหลอดไฟ LED ตาม ขอ้ กำหนดได้ถูกต้อง

๒๒ ตารางท่ี 3 ตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม(ต่อ) หนว่ ยการเรยี นและเน้ือหา สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 8 การเชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ บั อปุ กรณ์อินพุท สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม แบบดิจิตอล ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลักการ 8.1 หลักการเบ้ืองต้นของการเช่อื มต่อ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอปุ กรณ์อินพุทแบบดจิ ิตอล 8.1 บอกหลกั การเบื้องตน้ ของการเชื่อมตอ่ 8.2 การเชื่อมต่อวงจรไมโครคอนโทรลเลอร์กบั ไมโครคอนโทรลเลอร์กับอปุ กรณ์อินพทุ แบบดิจิตอลได้ อปุ กรณ์อนิ พทุ แบบดจิ ติ อล ถกู ต้อง 8.3 การเขียนโปรแกรมเพอื่ เชอื่ มต่อ 8.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพื่อเชื่อมต่อ ไมโครคอนโทรลเลอร์กักับอปุ กรณ์อินพทุ แบบดจิ ติ อล ไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอุปกรณ์อินพทุ แบบดิจิตอล ตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง 9 การอ่านค่าแอนนาลอ๊ ก สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม 9.1 หลกั การการอ่านคา่ แอนนาลอ๊ ก ไมโครคอนโทรลเลอรถ์ ูกต้องตามหลกั การ 9.2 การเชอื่ มต่อวงจรอุปกรณแ์ อนนาล๊อก จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม 9.3 การเขียนโปรแกรมเพือ่ อ่านค่าแอนนาล๊อก 9.1 บอกหลักการเบื้องตน้ ของการอา่ นค่าแอนนาล๊อก ได้ถูกตอ้ ง 9.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพ่อื การอ่านค่า แอนนาล๊อกตามข้อกำหนดได้ถกู ต้อง 10 การส่งออกสญั ญาณแอนนาลอ๊ ก สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรม 10.1 หลักการการสง่ ออกสัญญาณแอนนาลอ๊ ก ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลกั การ 10.2 การเชือ่ มต่อวงจรอปุ กรณแ์ อนนาล๊อกเอาท์พทุ จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 10.3 การเขียนโปรแกรมเพื่อการสง่ ออกสัญญาณ 10.1 บอกหลักการเบื้องตน้ ของการส่งออกสญั ญาณ แอนนาลอ๊ ก แอนนาลอ๊ กไดถ้ ูกต้อง 10.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพื่อสง่ ออก สญั ญาณแอนนาล๊อกตามขอ้ กำหนดไดถ้ ูกต้อง 11 การเชือ่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการส่อื สาร สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม แบบ SPI ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลกั การ 11.1 หลกั การเบือ้ งต้นของการเชือ่ มต่อ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม ไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการสื่อสารแบบ SPI 11.1 บอกหลักการเบื้องตน้ ของการเชื่อมต่อ 11.2 การเชอ่ื มต่อวงจรอุปกรณภ์ ายนอกผา่ นการ ไมโครคอนโทรลเลอร์ผา่ นการสื่อสารแบบ SPI ได้ สื่อสารแบบ SPI ถกู ต้อง 11.3 การเขยี นโปรแกรมเพ่ือเช่อื มต่อ 11.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพื่อการ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการส่ือสารแบบ SPI เชอื่ มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ผา่ นการส่อื สารแบบ SPI ตามข้อกำหนดไดถ้ ูกต้อง

๒๓ ตารางท่ี 3 ตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม(ต่อ) หนว่ ยการเรียนและเนื้อหา สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 12 การเชื่อมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการส่อื สาร สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม แบบ I2C ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลักการ 12.1 หลักการเบื้องตน้ ของการเช่อื มต่อ จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการสื่อสารแบบ I2C 12.1 บอกหลักการเบ้ืองต้นของการเชื่อมต่อ 12.2 การเชอ่ื มต่อวงจรอปุ กรณ์ภายนอกผ่านการ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการสื่อสารแบบ I2C ได้ ส่อื สารแบบ I2C ถกู ต้อง 12.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อเชือ่ มต่อ 12.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพื่อการ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ ่านการส่ือสารแบบ I2C เช่อื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่านการส่อื สารแบบ I2C ตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง 13 การควบคุมมอเตอร์ สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรม 13.1 หลกั การควบคมุ มอเตอรเ์ บอ้ื งต้น ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลักการ 13.2 การเชื่อมต่อวงจรควบคุมมอเตอร์ จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 13.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่อควบคมุ มอเตอร์ 13.1 บอกหลักการเบ้ืองตน้ ของการควบคมุ มอเตอร์ ไดถ้ ูกตอ้ ง 13.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพื่อการ ควบคมุ มอเตอร์ ตามข้อกำหนดไดถ้ ูกตอ้ ง 14 การเชือ่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับเซนเซอรแ์ สง สมรรถนะ ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรม 14.1 หลักการเชอื่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับ ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกต้องตามหลักการ เซนเซอรแ์ สง จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 14.2 การเชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ บั วงจร 14.1 บอกหลักการเชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับ เซนเซอร์แสง เซนเซอร์แสง ไดถ้ ูกต้อง 14.3 การเขยี นโปรแกรมเพื่ออ่านค่าเซนเซอร์แสง 14.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพ่ือเช่ือมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์กับเซนเซอร์แสงตามข้อกำหนด ไดถ้ ูกต้อง 15 การประยุกต์ใช้งานระบบควบคุมอัตโนมตั ดิ ้วย สมรรถนะ ประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ในงาน เซนเซอร์แสง ควบคุมถูกตอ้ งตามขอ้ กำหนด 15.1 หลกั การการประยุกต์ใชง้ านระบบควบคุม จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม อัตโนมตั ิด้วยเซนเซอร์แสง 15.1 บอกหลักการ การประยุกตใ์ ช้งานระบบควบคุม 15.2 การเชื่อมต่อวงจรระบบควบคมุ อัตโนมตั ิดว้ ย อัตโนมตั ิด้วยเซนเซอรแ์ สง ได้ถกู ต้อง เซนเซอรแ์ สง 15.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพื่อการ 15.3 การเขียนโปรแกรมกำหนดจดุ ทำงานของระบบ ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบควบคมุ อัตโนมัติดว้ ยเซนเซอร์ ควบคุมอัตโนมัตดิ ว้ ยเซนเซอร์แสง แสงตามข้อกำหนดได้ถกู ต้อง

๒๔ ตารางที่ 3 ตารางรายการหน่วย สมรรถนะ และจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม(ตอ่ ) หนว่ ยการเรียนและเน้ือหา สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 16 การบรู ณาการเปน็ ชน้ิ งานระบบควบคุมอตั โนมัติ สมรรถนะ ประยุกต์ใชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์ในงาน ดว้ ยเซนเซอร์แสง ควบคมุ ถูกต้องตามขอ้ กำหนด 16.1 การหาคุณสมบัตทิ างกายภาพของอปุ กรณ์ จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 16.2 การใชง้ านโปรแกรมสำเรจ็ รูปในการสร้าง 16.1 บอกหลักการ การบรู ณาการเปน็ ชิน้ งานระบบ แผน่ วงจรพิมพ์ ควบคมุ อัตโนมัตดิ ้วยเซนเซอร์แสง ได้ถูกต้อง 16.3 การสรา้ งแผน่ วงจรพมิ พ์ 16.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพ่ือการบูรณา 16.4 การประกอบวงจรสวติ ช์ทำงานด้วยแสง การเป็นช้ินงานระบบควบคมุ อัตโนมัตดิ ว้ ยเซนเซอร์ 16.5 การทดสอบการทำงานระบบควบคุมอตั โนมตั ิ แสงตามข้อกำหนดได้ถูกต้อง ด้วยเซนเซอร์แสง 17 การประยุกตใ์ ชง้ านวงจรควบคมุ อัตโนมัตสิ ำหรับ สมรรถนะ ประยุกตใ์ ชง้ านไมโครคอนโทรลเลอร์ในงาน หนุ่ ยนตเ์ ดนิ ตามเส้น ควบคุมถูกต้องตามข้อกำหนด 17.1 หลักการประยุกตใ์ ชง้ านวงจรควบคมุ อตั โนมัติ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม สำหรับหนุ่ ยนตเ์ ดินตามเสน้ 17.1 บอกหลักการ การประยุกตใ์ ช้งานวงจรควบคุม 17.2 การกำหนดตารางความจรงิ ของการทำงาน อตั โนมัติสำหรับหุ่นยนต์เดนิ ตามเสน้ ไดถ้ ูกต้อง 17.3 การเขยี นวงจรควบคมุ อัตโนมัตสิ ำหรบั หนุ่ ยนต์ 17.2 ประกอบวงจรและเขียนโปรแกรมเพื่อการ เดินตามเส้น ประยกุ ตใ์ ชง้ านวงจรควบคุมอัตโนมัติสำหรบั หุ่นยนต์ 17.4 การหาคุณสมบัตทิ างกายภาพของอุปกรณ์ เดินตามเสน้ ตามข้อกำหนดได้ถกู ต้อง 17.5 การใชง้ านโปรแกรมสำเรจ็ รูปในการสรา้ ง แผน่ วงจรพิมพ์ 17.6 การสร้างแผน่ วงจรพมิ พ์วงจรควบคมุ อตั โนมตั ิ สำหรับหนุ่ ยนตเ์ ดินตามเสน้ 18 การบรู ณาการเป็นช้นิ งานหุ่นยนต์เดนิ ตามเสน้ สมรรถนะ ประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ในงาน อัตโนมตั ิ ควบคมุ ถูกต้องตามข้อกำหนด 18.1 การประกอบวงจรหุ่นยนตเ์ ดนิ ตามเส้น จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม อตั โนมัติ 18.1 บอกหลักการ การบูรณาการเป็นชิ้นงานหุ่นยนต์ 18.2 การทดสอบการทำงานวงจรห่นุ ยนต์เดินตาม เดนิ ตามเสน้ อตั โนมัติได้ถูกต้อง เสน้ อัตโนมตั ิ 18.2 ประกอบวงจรและเขยี นโปรแกรมเพื่อการบรู ณา 18.3 การปรับปรงุ การทำงานวงจรหุ่นยนตเ์ ดินตาม การเปน็ ชน้ิ งานหนุ่ ยนต์เดนิ ตามเสน้ อตั โนมัติตาม เสน้ อตั โนมตั ิ ขอ้ กำหนดได้ถกู ต้อง

๒๕ 8. การเขียนตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร(Table of Specifications) หลังจากทไี่ ด้กำหนดจุดประสงคร์ ายวชิ า คำอธบิ ายรายวิชา และสมรรถนะของรายวิชาให้สอดคลอ้ ง องค์ประกอบต่างๆ เรียบร้อยแล้วเราจะสามารถเขียนตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร(Table of Specifications) สามารถเขียนเปน็ ตารางไดด้ งั นี้ ตารางท่ี 4 ตารางวิเคราะห์หลกั สูตร(Table of Specifications) พฤติกรรม พทุ ธพิ สิ ยั ชอ่ื หนว่ ย ความรู้ ความ ้ขาใจ การนำไปใ ้ช การวิเคราะห์ การ ัสงเคราะห์ การประเ ิมน ่คา ัทกษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลำ ัดบความสำ ัคญ จำนวนคาบ 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั 2.78 1.11 0.56 0 0 0 0 1.11 5.56 1 4 ไมโครคอนโทรลเลอร์ 2 โครงสรา้ งของไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.78 1.11 0.56 0 0 0 0 1.11 5.56 2 4 ภายนอก 3 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ 2.78 1.11 0.56 0 0 0 0 1.11 5.48 18 4 ภายใน 4 ชุดคำส่งั ของไมโครคอนโทรลเลอร์ 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 8 4 5 การเชอ่ื มต่อผ่านพอรต์ อนกุ รม 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 9 4 6 การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 10 4 กับอปุ กรณ์ภายนอกเบ้ืองต้น 7 การควบคุมหลอดไฟ LED 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 11 4 8 การเชื่อมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 12 4 กับอุปกรณ์อินพุทแบบดิจติ อล 9 การอ่านค่าแอนนาลอ๊ ก 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 13 4 10 การสง่ ออกสญั ญาณแอนนาลอ๊ ก 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 14 4 11 การเชื่อมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 15 4 ผา่ นการสือ่ สารแบบ SPI 12 การเช่อื มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ 0.56 1.11 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 16 4 ผา่ นการสอื่ สารแบบ I2C

๒๖ ตารางที่ 4 ตารางวิเคราะห์หลกั สูตร(Table of Specifications)(ต่อ) พฤติกรรม พทุ ธพิ ิสยั ช่ือหน่วย ความรู้ ความ ้ขาใจ การนำไปใ ้ช การวิเคราะห์ การ ัสงเคราะห์ การประเ ิมน ่คา ัทกษะพิสัย จิตพิสัย รวม ลำ ัดบความสำ ัคญ จำนวนคาบ 13 การควบคุมมอเตอร์ 1.11 0.56 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 17 4 14 การเชอ่ื มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์ 1.11 0.56 0.56 0 0 0 2.22 1.11 5.56 7 4 กบั เซนเซอรแ์ สง 15 การประยุกต์ใชง้ านระบบควบคมุ 0.56 0.56 1.11 0 0 0 2.22 1.11 5.56 6 4 อัตโนมัตดิ ว้ ยเซนเซอรแ์ สง 16 การบูรณาการเปน็ ช้นิ งานระบบ 0.56 0.56 1.11 0 0 0 2.22 1.11 5.56 5 4 ควบคมุ อัตโนมตั ดิ ว้ ยเซนเซอร์แสง 17 การประยุกตใ์ ชง้ านวงจรควบคุม 0.56 0.56 1.11 0 0 0 2.22 1.11 5.56 4 4 อตั โนมัติสำหรบั ห่นุ ยนต์เดนิ ตามเสน้ 18 การบูรณาการเป็นชน้ิ งานหนุ่ ยนต์ 0.56 0.56 1.11 0 0 0 2.22 1.11 5.56 3 4 เดินตามเสน้ อัตโนมัติ รวม 17.84 16.68 12.28 0 0 0 33.3 19.98 100 72

๒๗ 9. การเขยี นตารางการวเิ คราะหข์ อ้ สอบปลายภาค หลังจากทีไ่ ด้เขียนตารางวิเคราะห์หลักสตู ร(Table of Specifications) เรยี บร้อยแลว้ เราจะสามารถเขียน ตารางการวิเคราะหข์ ้อสอบปลายภาค เพอ่ื ใชป้ ระเมนิ ดา้ นพทุ ธพิ ิสัยและทักษะพิสัย สามารถเขียนเป็นตารางได้ดังน้ี ตารางที่ 5 ตารางการวิเคราะห์ข้อสอบปลายภาค พุทธิพสิ ัย ชื่อหน่วย ความรู้ ทกั ษะพสิ ัย รวม ลำดับ ความ ้ขาใจ การนำไปใ ้ช 1 ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกับไมโครคอนโทรลเลอร์ 311 0 51 2 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายนอก 311 0 52 3 โครงสรา้ งของไมโครคอนโทรลเลอร์ภายใน 311 0 5 18 4 ชุดคำสง่ั ของไมโครคอนโทรลเลอร์ 111 2 58 5 การเชื่อมต่อผ่านพอรต์ อนุกรม 111 2 59 6 การเช่อื มต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับอุปกรณ์ภายนอก เบ้ืองต้น 111 2 5 10 7 การควบคุมหลอดไฟ LED 8 การเชื่อมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กับอปุ กรณ์อนิ พุทแบบ 111 2 5 11 ดิจติ อล 9 การอา่ นคา่ แอนนาล๊อก 111 2 5 12 10 การส่งออกสญั ญาณแอนนาล๊อก 11 การเชอ่ื มตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการสอื่ สารแบบ SPI 111 2 5 13 12 การเช่ือมตอ่ ไมโครคอนโทรลเลอรผ์ า่ นการสอ่ื สารแบบ I2C 111 2 5 14 13 การควบคุมมอเตอร์ 111 2 5 15 14 การเช่ือมต่อไมโครคอนโทรลเลอรก์ ับเซนเซอร์แสง 111 2 5 16 15 การประยุกตใ์ ช้งานระบบควบคุมอัตโนมัติดว้ ยเซนเซอร์แสง 111 2 5 17 16 การบรู ณาการเป็นช้นิ งานระบบควบคุมอัตโนมัติดว้ ย 111 2 57 เซนเซอรแ์ สง 111 2 56 17 การประยุกต์ใช้งานวงจรควบคมุ อตั โนมัติสำหรับห่นุ ยนต์เดนิ ตามเสน้ 111 2 55 18 การบูรณาการเป็นชนิ้ งานหนุ่ ยนต์เดนิ ตามเสน้ อัตโนมัติ รวม 111 2 54 111 2 53 24 18 18 30 90

๒๘ 10. การเขียนโครงการสอน หลังจากทไ่ี ด้เขยี นตารางวเิ คราะห์หลักสูตร(Table of Specifications) เรียบร้อยแลว้ เราจะสามารถเขยี น ตารางโครงการสอนในภาคเรียนนี้ สามารถเขยี นเปน็ ตารางไดด้ งั นี้ ตารางที่ 6 ตารางโครงการสอนวชิ าไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บื้องต้น วชิ า ไมโครคอนโทรลเลอร์ รหัสวชิ า 20127-21072 จำนวนชั่วโมงเรยี น 4 ชม./สปั ดาห์ จำนวน 2 หนว่ ยกิจ หน่วย จำนวน สปั ดาห์ สอน ท่ี ชือ่ เร่อื ง ช่วั โมง 1 1 to 4 1 ความรู้เบื้องต้นเกีย่ วกับไมโครคอนโทรลเลอร์ 4 2 5 to 8 2 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอรภ์ ายนอก 4 3 9 to 12 3 โครงสร้างของไมโครคอนโทรลเลอรภ์ ายใน 4 4 13 to 16 4 ชดุ คำสั่งของไมโครคอนโทรลเลอร์ 4 5 17 to 20 5 การเชอื่ มต่อไมโครคอนโทรลเลอร์กบั อุปกรณ์ภายนอกเบื้องต้น 4 6 21 to 24 6 การเช่ือมต่อผ่านพอร์ตอนุกรม 4 7 25 to 28 7 การควบคมุ หลอดไฟLED 4 8 29 to 32 8 การควบคมุ หลอดไฟ 7-Segment 4 9 33 to 36 9 การควบคุมมอเตอร์ 4 10 37 to 40 10 การควบคมุ สเตปมอเตอร์(Stepper Motor) 4 11 41 to 44 11 การเชอ่ื มต่ออปุ กรณ์แสดงผล LCD 4 12 45 to 48 12 การเขียนโปรแกรมอ่านค่าแอนนาล๊อก 4 13 49 to 52 13 การเชอ่ื มต่อไอซีวัดอุณหภูมิ 4 14 53 to 56 14 การออกแบบวงจรควบคุมอุณหภูมิอัตโนมตั ิ 4 15 57 to 60 15 การประยุกต์ใช้งานวงจรควบคุมอุณหภูมอิ ัตโนมัติ 4 16 61 to 64 16 การบรู ณาการเปน็ ชน้ิ งานวงจรควบคมุ อุณหภูมิอัตโนมตั ิ 4 17 65 to 68 17 การประยุกต์ใชง้ านวงจรควบคุมอตั โนมัติสำหรับห่นุ ยนตเ์ ดินตาม 4 เสน้ 18 69 to 72 18 การบูรณาการเปน็ ชิ้นงานหนุ่ ยนต์เดินตามเสน้ อัตโนมตั ิ 4 72

๒๙ บรรณานุกรม ผศ.อารยา ศานตสิ รร ดร.สุภาพร แกว้ กอ เลีย่ วไพโรจน์ และ ดร.ศราวธุ เปรมใจ . การพัฒนาศกั ยภาพท่พี ักแบบ สมั ผัสวฒั นธรรมชนบทเพอ่ื ส่งเสรมิ ชมุ ชนท่องเทย่ี วยง่ั ยืนกรณศี กึ ษาอำเภออัมพวา จงั หวัดสมุทรสงคราม . คณะ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ . 2553. ธันยพร วณิชฤทธา . การจัดการความรู้ในชมุ ชน กรณีศกึ ษาดา้ นการจดั การทอ่ งเทยี่ วเชิงนิเวศโดยชมุ ชนมีสว่ นรว่ ม จงั หวัดสมุทรสงคราม . วิทยานพิ นธม์ หาบัณฑติ ภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร . 2550 อาภรณ์ จนั ทร์สมวงศ์ . วิถีชีวติ และสวนไทยในบริบทการพัฒนา : กรณศี ึกษาชุมชนชาวสวน ในจังหวดั สมทุ รสงคราม . วทิ ยานิพนธ์มหาบัณฑิต. วิทยาศาสตร์ (เทคโนโลยกี ารบรหิ ารสิ่งแวดล้อม) . บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหิดล . 2541 ประดิษฐ์ เจอื จาน . เอกสารประกอบการอบรมโครงการการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อน แตง่ ตงั้ ใหม้ ีและเลื่อนเป็นวทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ . สำนักพัฒนาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชีวศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา . 2554 รศ.ดร.อนันต์ ศรโี สภา . การวดั ผลการศกึ ษา . สำนักพิมพไ์ ทยวฒั นาพานิช . กทม . พิมพ์ครั้งท่ี 3 . 2525 เอกชัย มะการ . เรียนรู้เข้าใจใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกลู AVR ดว้ ย Arduino . บริษัทอีทที ีจำกัด . กรุงเทพ . 2552 ผศ.ดร.กรองได อณุ หสูต , การประเมนิ ผลตาพฤติกรรมการเรยี นร,ู้ เอกสารประกอบการบรรยาย , มหาวิทยาลยั มหิดล . กรุงเทพ . 2554 ไพโรจน์ ตีรณธนากุล และไพบูลยเ์ กียรโกมล, 2541, บทความวิชาการ เรอ่ื ง Creating IMMCAI Package. วารสารครุศาสตร์อตุ สาหกรรม ฉบบั ที่ 3. กรงุ เทพมหานคร ไพโรจน์ ตรี ณธนากลุ และ คณะ, 2546, การออกแบบและการผลติ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ การสอนสำหรบั e-Learning, ศนู ย์ส่อื เสริมกรงุ เทพ, หนา้ 5-125. ไพโรจน์ ตีรณธนากุล, ไพบูลย์ เกียรโกมล และสริ ิลกั ษณ์ ตรี ณธนากุล, 2542, Design IMM Computer Instruction การออกแบบการสอนบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน, มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี