ก เง นร ฐบาลแบบ ไม ม คนค ำประก น

รายงาน วชิ าวทิ ยาการคำนวณ รหสั ว30118 จัดทำโดย เลขที่ 18 1.นางสาวณชิ ชาวณี ์ ชยั ศรศี าสตร์ เลขท่ี 20 2.นางสาวชวศิ า ธรรมสวาสดิ์ เลขท่ี 26 3.นาย วาสนิ อบั ดลุ ลาห์ เลขท่ี 28 4.นางสาวเวชกญั ญา ปราชญาบณั ฑติ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/4 เสนอ ครจู ริ ายุ ทองดี รายงานเลม่ นเ้ี ป็ นสว่ นหนงึ่ ของรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณรหสั ว 30118 โรงเรยี นนวมนิ ทราชนิ ูทศิ เตรยี มอดุ มศกึ ษานอ้ มเกลา้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 สงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ รายงานฉบบั นเี้ ป็ นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าวทิ ยาการคำนวณรหสั ว30118ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท5่ี โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื ศกึ ษาเกยี่ วกบั หลกั การเขยี นโปรแกรม ขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรมโครงสรา้ งภาษา คอมพวิ เตอร์ กระบวนการเขยี นโปรแกรม ในการจัดทำรายงานประกอบสอ่ื การเรยี นรใู ้ นครัง้ นี้ ผจู ้ ัดทำขอ ขอบคณุ ครจู ริ ายุ ทองดี ผใู ้ หค้ วามรแู ้ ละแนวทางการศกึ ษา และ เพอ่ื นๆทใ่ี หค้ วามชว่ ยเหลอื มาโดยตลอด คณะผจู ้ ัดทำหวงั เป็ นอยา่ ง ยง่ิ วา่ รายงานฉบบั นจ้ี ะอำนวยประโยชนต์ อ่ ผทู ้ ส่ี นใจและศกึ ษเนอ้ื หา เพม่ิ เตมิ และพัฒนาศกั ยภาพ และบรรลตุ ามเป้าหมาย ลงชอื่ นักเรยี นผจู ้ ัดทำรายงาน ผจู ้ ัดทำ

สารบญั หนา้ เรอ่ื ง ก คำนำ สารบญั ข 1. วทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 1-9 2. กระบวนการเทคโนโลยี 10-15 3. พนื้ ฐานของภาษาซี 16-19 4. เทคโนโลยปี ระยกุ ต์ 20-31 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวช 33-34

วิทยาการคอมพวิ เตอร์ การนาํ วิทยาการคอมพิวเตอร์มาใช้ในชีวิตประจําวนั วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ หรอื วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer science) เป็นศาสตร์ เกย่ี วกบั การศึกษาค้นคว้าทฤษฏกี ารคำนวณสำหรบั คอมพิวเตอร์ และทฤษฏีการประมวล ผลสารสนเทศ ทั้งดา้ นซอฟต์แวร์ ฮารด์ แวร์ และ เครือขา่ ย ซง่ึ วิทยาการคอมพิวเตอร์น้นั ประกอบดว้ ยหลายหวั ข้อที่เกี่ยวขอ้ งกบั คอมพิวเตอร์ ต้ังแต่ระดับนามธรรม หรอื ความคดิ เชงิ ทฤษฎี เชน่ การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ ้ันตอนวธิ ี ไปจนถงึ ระดบั รปู ธรรม เชน่ ทฤษฎี ภาษาโปรแกรม ทฤษฏีการพัฒนาซอฟต์แวร์ ทฤษฎฮี ารด์ แวร์คอมพวิ เตอร์ และ ทฤษฏเี ครือข่าย ในแงข่ องศาสตรเ์ กยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์น้ัน วทิ ยาการคอมพิวเตอรเ์ ป็นหนึ่งในห้าสาขาท่ี เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบดว้ ย วิทยาการคอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ และวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์

การนำเทคโนโลยี Internet of Things ประยกุ ต์ใชใ้ นด้านต่าง ๆ Smart Industry การนำเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใ์ ช้เพอื่ ชว่ ยเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการ ผลติ แก้ปญั หาและลดความผดิ พลาดในการผลติ ช่วยแกป้ ญั หาเร่อื งการขาดแคลนคนงาน ชว่ ยเพิ่มผลผลิตลดต้นทนุ การผลติ เพิ่มคุณภาพของสนิ คา้ และลดความเสย่ี งจากการใชง้ าน ของอุปกรณ์เคร่ืองจกั รที่มีอนั ตรายสงู เช่นการเปิด-ปดิ เครือ่ งจักรการจัดการคลังสินค้าซ่งึ สามารถทำใหท้ ราบปริมาณสินคา้ ในคลงั สินคา้ Smart City การนำเทคโนโลยี Internet of Things มาประยกุ ต์ใช้เพื่อชว่ ยปรบั ใชก้ ับ โครงสร้างพ้ืนฐานและระบบต่างๆของเมอื งท่ีเน้นการอนรุ กั ษส์ ่งิ แวดล้อมและการพฒั นา อยา่ งยงั่ ยนื ครบวงจรยกตวั อย่างเชน่ ระบบโดยสารใชร้ ะบบพลงั งานไฟฟา้ ทงั้ หมดโดยมี รถยนต์จกั รยานที่สามารถใช้ร่วมกนั ได้กรณฉี ุกเฉนิ ก็มีรถยนต์ไฮบริดไวส้ ำรองไมจ่ ำเป็น ตอ้ งมีรถส่วนตัวระบบการบรหิ ารพลงั งานรปู แบบระบบนเิ วศ (Ecosystem) ครบวงจร ประเทศไทยไดเ้ ริม่ จัดทำโครงการนำร่อง Smart City เมืองนา่ อยู่ 2 แหง่ ประกอบด้วยเขต เทศบาลเมืองปา่ ตองและเขตเทศบาลนครภเู กต็ โดยนำอินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื ทุกสรรพส่งิ มา ประยุกต์ใช้กับเมืองใหน้ ่าอยแู่ ละปลอดภัยมากยงิ่ ข้ึน Smart Life การนำเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันเพ่ือ ตอบสนองรปู แบบการใช้ชวี ิตในยคุ ปจั จุบนั ทำใหส้ ามารถจัดการกบั อปุ กรณเ์ คร่อื งมอื ตา่ งๆ ให้ทาํ งานผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ซ่ึงอปุ กรณเ์ คร่อื งมอื ตา่ งๆจะมีชิปประมวลผลฝัง ตวั อยซู่ ึง่ สามารถแลกเปลีย่ นข้อมลู กันผา่ นระบบอินเทอร์เนต็ ทำใหส้ ามารถควบคมุ อปุ กรณ์ เหล่านัน้ ไดเ้ ช่นตูเ้ ยน็ อัจฉรยิ ะสามารถตรวจสอบจำนวนสงิ่ ของท่ีอยู่ในตู้เย็นวนั หมดอายุ ของอาหารทแี่ ชใ่ นต้เู ย็นและทำการแจง้ เตอื นผา่ นแอปพลิเคช่นั บน Smart Phone เครอ่ื ง ซกั ผา้ อัจฉรยิ ะสามารถควบคมุ และตงั้ คา่ ระบบการซักผ้าในโหมดต่างๆและรายงาน

สถานการณข์ องการซกั ผ้าจนกระทัง่ ซกั ผ้าเสรจ็ สามารถตรวจจับวา่ เจ้าของกลับถงึ บ้านแลว้ เครอื่ งซักผา้ จะทำปิดเครื่องอตั โนมตั ิ เทคโนโลยอี นิ เทอร์เนต็ เพ่ือสรรพสงิ่ ยงั มกี ารนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นด้านการรกั ษาความ ปลอดภัยใช้ตรวจจบั การเขา้ -ออกของบคุ คลใช้ดา้ นการเรียนการสอนโดยการเช่ือมต่อ Smart Phone กับอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการแสดงผลเช่น Smart Board หรอื Projector และ ปจั จบุ นั มกี ารนำไปประยุกตใ์ ชง้ านด้านต่างๆในทกุ ๆดา้ น ปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ปัญญาประดษิ ฐ์เปน็ ระบบคอมพิวเตอรท์ ี่ ถูกพฒั นาให้มีความสามารถในการเรียนรู้ใชเ้ หตุผลพัฒนาและปรบั ปรงุ ข้อบกพรอ่ งใหด้ ีขึ้น การทำงานใกล้เคียงกบั ระบบประมวลผลและการตอบสนองของมนุษยแ์ ต่ละสถานการณ์ เพอ่ื ใหค้ อมพิวเตอรป์ ฏบิ ัตงิ านแทนมนุษย์ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพเปน็ เทคโนโลยีทท่ี ำให้ คอมพิวเตอรม์ ลี กั ษณะเสมือนมนษุ ยห์ รือจกั รกลอัจฉรยิ ะไม่ว่าจะเป็นในเรอื่ งของความคิด การวิเคราะห์หรือแม้กระทั่งการเลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์ต่างๆโดยใชโ้ ปรแกรมหรือ ซอฟตแ์ วรต์ า่ งๆท่มี นษุ ย์นนั้ ไดเ้ ขียนหรือจัดทำชดุ คำส่งั ขน้ึ มาแล้วนำมาประมวลผลหรอื นำ มาฝังไว้กบั อปุ กรณ์ส่วนใดสว่ นหนึง่ เพื่อทำใหเ้ กดิ ระบบจักรกลอจั ฉริยะหรืออุปกรณ์นั้น ๆ สามารถที่จะส่อื สารกับมนษุ ย์ปัญญาประดิษฐ์สามารถแยกไดห้ ลายประเภทดังน้ี 1. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) เปน็ การพฒั นาให้ ระบบคอมพวิ เตอรเ์ ข้าใจภาษามนษุ ย์ท่ใี ช้ในชีวิตประจำวันเชน่ ภาษาองั กฤษภาษาไทยหรอื ภาษาจีนโดยระบบคอมพวิ เตอรจ์ ะสามารถอ่านพดู ฟังและเขา้ ใจภาษาทำใหก้ ารตดิ ตอ่ สื่อสารระหว่างเครื่องคอมพวิ เตอร์กบั มนษุ ยเ์ ป็นไปอยา่ งสะดวกและมีประสิทธภิ าพ

2.ระบบการรบั รูภ้ าพ (Vision System) ถกู พัฒนาขึน้ เพอื่ เลียนแบบการมองเหน็ ของ บุคคลโดยมีส่วนรับสญั ญาณภาพการประมวลผลและรายงานผลตามท่ถี กู กำหนดไว้เชน่ การตรวจสอบบคุ คลในการเข้า-ออกในสถานทีต่ ่างๆการเปดิ -ปดิ อปุ กรณโ์ ดยใช้การตรวจ จบั ใบหนา้ 3.โครงขา่ ยประสาทเทยี ม (Articial Neural Network) เปน็ ระบบคอมพวิ เตอรท์ ี่ พฒั นาใหม้ ีการจำลองการทำงานของสมองและระบบเสน้ ประสาทของมนุษย์ซ่ึงจะมีความ สามารถในการสงั เกตการเรียนรกู้ ารจดจำการทำซำ้ และการแยกแยะสง่ิ ตา่ งๆได้ซง่ึ จะถกู นำมาใชง้ านด้านการพยากรณ์หนุ้ และการลงทนุ การพยากรณย์ อดขายและนำมาประยกุ ต์ ใชใ้ นการฝึกหัดการผา่ ตัดผู้ป่วยแบบจำลองเป็นตน้ 4.หุ่นยนต์ (Robotics) เปน็ การพัฒนาระบบคอมพวิ เตอร์เพือ่ จำลองการทำงานของ มนุษยโ์ ดยทำการออกแบบอปุ กรณแ์ ละกำหนดคำส่งั ให้หุ่นยนต์ปฏบิ ตั งิ านน้ัน ๆ ได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพปจั จุบนั ห่นุ ยนต์ได้มกี ารพัฒนาอย่างรวดเร็วและสามารถนำไปใช้งานแทน มนษุ ย์เชน่ แขนกลทีท่ ำงานในโรงงานอุตสาหกรรมหุ่นยนตเ์ ก็บกู้ระเบิดห่นุ ยนตท์ ำความ สะอาดท่ีใช้งานอำนวยความสะดวกในชวี ติ ประจำวนั 5.ระบบผูเ้ ชยี่ วชาญ (Expert System) ระบบคอมพวิ เตอร์ทถ่ี ูกพฒั นาใหส้ ามารถรับรู้ และทำงานเฉพาะด้านไดอ้ ยา่ งผู้เชย่ี วชาญโดยนำองคค์ วามรแู้ ละประสบการณ์จาก ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะสาขาหรอื เฉพาะด้านจัดเก็บในระบบฐานข้อมลู ซง่ึ จะช่วยใหน้ ำ สารสนเทศจากระบบมาใชใ้ นการวางแผนตัดสินใจในกรณีตา่ งๆเชน่ การวนิ จิ ฉัยทางการ แพทย์การขุดเจาะนำ้ มนั การพยากรณอ์ ากาศและการวางแผนทางการเงนิ การนำปัญญาประดษิ ฐ์มาประยุกตใ์ ช้ในด้านตา่ งๆ

ปัญญาประดษิ ฐ์มปี ระโยชนต์ ่อเทคโนโลยีกับชีวิตประจำวันเป็นอยา่ งมากโดยแบง่ ด้าน ต่างๆทีม่ ีการนำระบบน้มี าใชด้ ังน้ี 1.ด้านการคมนาคมอัจฉริยะเปน็ การใชร้ ะบบปญั ญาประดิษฐ์ควบคุมการทำงานของรถ หรอื ยานพาหนะเพือ่ ให้เกดิ เป็นจกั รกลอัจฉรยิ ะทีส่ ามารถควบคมุ ความช้นื ภายในรถยนต์ หรอื อณุ หภูมิภายในรถยนตเ์ พอื่ ให้เกดิ ความเหมาะสมกบั ตัวของผู้ขับขนี่ ั้นและระบบ ปัญญาประดษิ ฐห์ รอื ปญั ญาประดิษฐน์ ้ันยงั สามารถคน้ หาตำแหนง่ หรือเสน้ ทางท่ใี ชใ้ นการ สญั จรไปยังปลายทางทด่ี ที ส่ี ดุ โดยใช้เวลาอันสน้ั ที่สุด 2.ด้านการประมวลผลภาษาเป็นการใชร้ ะบบปัญญาประดิษฐป์ ระมวลผลทางด้านภาษาจะ แปลงภาษาจากภาษาหนึง่ เป็นอีกภาษาหนึ่งเพ่ือใหผ้ ้ฟู ังหรอื ผู้ท่ตี อ้ งการรับข่าวสารได้เขา้ ใจ ถึงข้อความท่ีตอ้ งการจะแปลงของข้อความนัน้ ๆ กเ็ ป็นอีกทางเลอื กหนงึ่ ของเทคโนโลยกี บั ชวี ิตประจำวันในกรณีท่ไี ม่เข้าใจภาษานั้นช่วยลดช่องว่างทางภาษาในการส่อื สารไดอ้ ยา่ ง มาก 3.ด้านระบบเครือขา่ ยตา่ ง ๆ เชน่ ในการคน้ หาขอ้ มูลหรือข่าวสารข้อความทต่ี อ้ งการอยากรู้ บนระบบเครอื ข่ายโดยใช้คยี ์เวริ ด์ ในการค้นหากจ็ ะสามารถหาได้โดยไม่ยากซ่ึงเปน็ เทคโนโลยีกับชีวิตประจำวันทีผ่ ู้คนใหค้ วามสำคัญมากในเร่อื งของการค้นหาขอ้ มลู ต่างๆบน ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ 4. ด้านการแพทยห์ รอื ดา้ นสุขภาพต่าง ๆ เปน็ การใชร้ ะบบปญั ญาประดิษฐวดั ความดนั ของ ผูป้ ่วยหรอื ผทู้ ีม่ ารับบรกิ ารนั้น ๆ โดยระบบจกั รกลอัจฉริยะนจี้ ะมกี ารเรียนรโู้ ดยการบบี รัด จากตน้ แขนของผปู้ ว่ ยหรือผู้รับบรกิ ารแลว้ นำคา่ ทีไ่ ด้นัน้ มาวเิ คราะห์และแปลงเป็นตวั เลข

ใหเ้ ข้าใจรวมถึงการสแกนรา่ งกายของผ้ปู ว่ ยหรอื ผู้มารบั บริการเพ่อื ค้นหาจุตผดิ ปกตขิ อง ร่างกายอกี ทงั้ ยงั สามารถพินิจวิเคราะห์ถึงโรคทีเ่ ป็นและวิธกี ารแกไ้ ขพรอ้ มรกั ษาตัวได้ 5.ด้านการค้าในเชิงธรุ กิจพาณิชย์เปน็ การใช้ระบบปัญญาประดิษฐว์ เิ คราะหแ์ ละประมวล ผลได้รวดเร็วกวา่ มนุษย์เชน่ คำนวณและพยากรณ์ผลตอบแทนจากการลงทุนในห้นุ พยากรณ์ยอดขายการคำนวณอปุ สงคแ์ ละอุปทานของผลิตภณั ฑ์ 6.ดา้ นระบบรกั ษาความปลอดภัยเป็นการใช้ระบบปญั ญาประดษิ ฐส์ แกนหรอื ตรวจจบั สิง่ ผดิ ปกติเพ่อื หาวตั ถตุ อ้ งสงสัยหรอื ไม่พงึ ประสงคโ์ ดยใชเ้ วลาในการตรวจสอบไมน่ านใช้ ตรวจสอบสิทธิการเข้า-ออกสถานท่ีสำคญั ของบคุ คลระบบปัญญาประดษิ ฐม์ คี วามสำคัญ กับชวี ิตประจำวนั เปน็ อยา่ งมากและเขา้ มามีบทบาทตอ่ มนุษยม์ ากขึ้นซ่ึงเปรยี บเสมอื นจกั ร กลอจั ฉริยะที่สามารถทำหนา้ ทีแ่ ทนมนุษยไ์ ดห้ ลาย ๆ อยา่ งด้วยกนั ปญั ญาประดิษฐ์น้ยี งั คง มีการพัฒนาตอ่ ไปอยา่ งท่ีไม่มที ีส่ ้นิ สดุ เพอ่ื ตอบสนองตอ่ ผ้คู นโดยใช้เทคโนโลยีกับชีวิต ประจำวันให้มากขึน้ เพ่ือประหยัดเวลาและงบประมาณรวมถงึ ทรัพยากรมนษุ ยอ์ ีกดว้ ย การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) Cloud Computing คอื การ ประมวลผลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการใหบ้ ริการทคี่ รอบคลมุ ถึงการใช้จัดเตรยี ม ทรพั ยากรสำหรบั การประมวลผลแอปพลเิ คชันหน่วยจดั เกบ็ ขอ้ มูลและระบบออน ไลน์ตา่ งๆโดยผใู้ ช้งานจะตอ้ งเชอ่ื มตอ่ ระบบอินเทอรเ์ นต็ ข้อดีคอื ไม่ จาํ เป็นตอ้ งลงทุนซอ้ื ฮารด์ แวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software) เองทัง้ ระบบไม่ ต้องวางระบบเครือขา่ ยเองลดความรับผิดชอบในการดูแลระบบผู้ใช้ทกุ คนสามารถเข้าถงึ ระบบข้อมูลต่างๆผ่านอนิ เทอร์เนต็ สามารถจดั การบริหารทรพั ยากรของระบบ

กระบวนการเทคโนโลยี การจดั การข้อมลู ข้อมูล(Data)เปน็ องคป์ ระกอบทีส่ ำคญั สว่ นหนงึ่ ของระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอรก์ ารจดั การข้อมูล(Date Management)เป็นกลยทุ ธห์ นึง่ ในการบริหารองค์การใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในยุคของเทคโนโลยี ขา่ วสารคอมพวิ เตอร์ที่เจรญิ กา้ วหน้าไปอยา่ งรวดเร็ว การจัดการและบรหิ ารองค์การให้ประสบความสำเรจ็ นน้ั การ ตดั สนิ ใจท่ีถูกต้อง รวดเร็ว และทันตอ่ เหตกุ ารณถ์ ือเปน็ หัวใจของการทำธุรกิจในยคุ ปัจจุบนั ดังนัน้ การจัดการข้อมลู ให้ มีประสิทธภิ าพ เพ่อื นำไปสู่การตัดสินใจทถ่ี ูกต้องจะชว่ ยใหอ้ งค์การอย่รู อดไดใ้ นการแขง่ ขันกบั องคก์ ารอ่นื ๆ ขอ้ มลู คอื ข้อเท็จจรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเหตกุ ารณ์ต่างๆ ทไ่ี ด้จากการสังเกต การจดบันทึก การสมั ภาษณแ์ ละการ สอบถาม แตข่ อ้ มลู น้ีตอ้ งยงั ไม่มกี ารประมวลผล ไมม่ ีการวเิ คราะห์ หรือทเ่ี รยี กวา่ เป็นข้อมูลดิบ โดยท่ียงั ไมส่ ามารถนำ ไปใช้ประโยชนไ์ ดท้ ันที หลกั ในการจัดข้อมูล 1.ความสามารถในการเขา้ ถงึ ข้อมูล (Access)

ได้งา่ ยรวดเรว็ และถกู ต้องโดยจะต้องมีการกำหนดสทิ ธิในการเรยี กใช้ข้อมูลตามลำดบั ความสำคัญของผูใ้ ช้ 2.จะต้องมีระบบรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมลู (Security) ขอ้ มูลที่จัดเก็บไวจ้ ะตอ้ งมีระบบรักษาความปลอดภัยเพ่อื ป้องกันการจารกรรมขอ้ มลู 3.สามารถเปล่ียนแปลงแกไ้ ขในอนาคตได้ (Edit) ท้งั นเี้ น่ืองจากแผนทวี่ างไวอ้ าจจะต้องมีการเปล่ยี นแปลงตามสถานการณ์จึงทำให้ตอ้ งมีการจัดระเบียบข้อมูล แกไ้ ข ข้อมลู พร้อมท้งั จัดหาข้อมลู มาเพ่ิมเติม 4.ข้อมูลทีจ่ ดั เกบ็ อาจจะตอ้ งมีการจดั แบง่ เปน็ ส่วนหรอื สร้างเปน็ ตาราง เพือ่ งา่ ยแกก่ ารปรบั ปรงุ ข้อมลู ในลกั ษณะการจัดการฐานข้อมูลแบบสมั พันธ์ (Relational database) ซ่งึ จะกล่าวถงึ ภายหลงั ประเภทของขอ้ มลู ขอ้ มูลท่ีนำมาประมวลผลเพ่ือใหเ้ ป็นสารสนเทศสามารถจำแนกตามลกั ษณะได้ 2 ลกั ษณะคือ 1)จำแนกตามแหล่งท่ีมา 2)จำแนกตามรูปแบบของขอ้ มลู ขอ้ มูลที่จำแนกตามแหล่งท่ีมา สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.แหล่งขอ้ มลู ภายในองคก์ รแบบน้ีจะเป็นการเกบ็ ขอ้ มูลท่ีเกิดข้ึนภายในหน่วยงานของตนเอง เช่น ขอ้ มลู ของ นกั เรียน ขอ้ มลู ในบริษทั ขอ้ มูลในโรงพยาบาล เป็นตน้ 2.แหล่งขอ้ มลู ภายนอกองคก์ ร เป็นขอ้ มูลท่ีไดม้ าจากแหล่งอื่นที่อยนู่ อกหน่วยงานซ่ึงขอ้ มูลเหล่าน้ีส่วนมากจะเป็น ขอ้ มูลท่ีมีความพิเศษกวา่ ขอ้ มูลภายในองคก์ ร เพราะตอ้ งอาศยั ความสามารถของหน่วยงานอื่นเขา้ มาเก่ียวขอ้ ง เพ่ือ

ความเหมาะสม และ ความเป็นธรรมของขอ้ มูลน้นั ๆ เช่น ตอ้ งการทราบอตั ราการใชจ้ ำนวนไฟฟ้ าที่มีจำนวนมาก ท่ีสุด 10 อนั ดบั ตน้ ของประเทศจะเห็น วา่ การตอ้ งการทราบขอ้ มลู เหล่าน้ีจะตอ้ งอาศยั แหล่งขอ้ มูลของท่ีอ่ืน เช่น หน่วยงานการไฟฟ้ า หน่วยงานจดั เกบ็ ค่าไฟฟ้ า ขอ้ มลู ที่จำแนกตามรูปแบบของขอ้ มลู สามารถจำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ขอ้ มลู ช้นั ตน้ หรือ ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ (Primary data) เป็นขอ้ มลู ทางตรง ที่พบ หรือประสบดว้ ยตน หรือถา้ เป็นการเขียน ตอ้ งเป็นการเขียนรวบรวมไวเ้ ป็นคร้ังแรกจากผเู้ ขียนโดยตรงขอ้ มลู ข้นั ปฐมภมู ิน้ีบางคร้ังอาจ จะเป็นขอ้ มลู ท่ีไม่ถกู ตอ้ งจากความเป็นจริง เพราะยงั ไม่ไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มลู เช่น การสำรวจมดจากการสำรวจ ดว้ ยตาเปล่าอาจจะมองเห็นวา่ มดไม่มีขนที่บริเวณรอบๆร่างกายแต่ในความเป็นจริงถา้ นำมดมาส่องดว้ ย กลอ้ ง จุลทรรศน์ จะเห็นวา่ มดจะมีขนรอบๆ ร่างกาย 2.ขอ้ มลู ช้นั ท่ีสอง หรือ ขอ้ มลู ทุติยภมู ิ (Secondary data) เป็นขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากบนั ทึกของบุคคลอ่ืนหรือการบอกกล่าว ถ่ายทอดต่อเนื่องมาจากผอู้ ่ืน เช่น การคน้ ควา้ เอกสารในหอ้ งสมุดการอ่านหนงั สือการดูโทรทศั น์ การฟังรายการข่าว เป็ นตน้

การรวบรวมขอ้ มูล การรวบรวมขอ้ มูลคือกระบวนการในการแสวงหาขอ้ มูล และเกบ็ บนั ทึกขอ้ มูลไวเ้ พื่อใหง้ ่ายต่อการนำไป ใชใ้ นกรณีท่ีมีขอ้ มูลจำนวน มากๆ ฉะน้นั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู จำนวนมากๆจึงจำเป็นที่จะตอ้ งจดั ระบบการรวบรวม ขอ้ มูลควร วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ท่ีสำคญั มี 4 วธิ ี คือ 1. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการสอบถาม ใชใ้ นกรณีที่ตอ้ งการทราบขอ้ มลู เกี่ยวกบั เรื่องใดเรื่องหน่ึงจากบุคคลและเป็นเรื่องที่มีรายละเอียดแบบเจาะลึกการใช้ วธิ ีการสอบถามจะไดข้ อ้ มลู ที่มีรายละเอียดมากแต่ขอ้ เสียของการรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการสอบถามน้ีคือจะใชไ้ ด้ ในกรณีท่ีจะ สอบถามบุคคลเพียงกลุ่มเลก็ ๆ เท่าน้นั 2. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ ีการสงั เกต คือการพิจารณาดูสิ่งน้นั ๆโดยตรงภายในระยะเวลาและสถานท่ีท่ีกำหนดการรวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ีการสงั เกตน้ีนิยม ใชก้ บั สตั ว์ หรือส่ิงที่ไม่สามารถควบคุมได้ หรือสิ่งท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดความเป็นธรรมชาติมากที่สุดเช่นสงั เกต พฤติกรรมของสตั วห์ รือสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในชวั่ โมงคณิตศาสตร์ 3.การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลดว้ ยวธิ ี การสำรวจ คือ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยส่งแบบสอบถาม การสมั ภาษณ์บุคคลเป้ าหมายซ่ึงการสำรวจจะไดร้ ับขอ้ มูลที่เฉพาะ เจาะจงและลึกกวา่ แบบสงั เกตและสามารถท่ีจะรวบรวมขอ้ มลู จากบุคคลเป้ าหมาย ไดจ้ ำนวนมาก 4.วธิ ีการคน้ ควา้ จากเอกสารหรือขอ้ มูลข้นั ที่ 2

คือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการคน้ ควา้ ตามเอกสารจากแหล่งต่างๆเช่น หอ้ งสมุดหนงั สือเป็นตน้ หรือจากการจด บนั ทึกหรือการบอกกล่าวจากบุคคลอ่ืน ซ่ึงเป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู หาไดง้ ่ายและมีแหล่งขอ้ มูลอา้ งอิง พืน้ ฐานซี ต้นกำเนิดภาษาซี ภาษาซีถือวา่ เป็นภาษาระดับสูงถกู พฒั นาโดยเดนนสิ ริดชีแห่งหอ้ งทดลองเบลล์ทเี่ มอรร์ ีฮิล มลรัฐนวิ เจอรซ์ ี่ โดยเดนนิส ไดใ้ ช้หลกั การของภาษาบีซพี แี อล ซงึ่ พัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสนั การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส รดิ ชมี จี ดุ มุง่ หมายให้เป็นภาษาสำหรับใชเ้ ขยี นโปรแกรมปฏบิ ตั ิการระบบยูนกิ ซ์ และได้ต้ังช่อื วา่ ซี เพราะเหน็ ว่าซีเปน็ ตัวอกั ษร ต่อจากบขี องภาษาBCPLภาษาซีถอื ว่าเป็นภาษาระดบั สงู ทงั้ นเ้ี พราะภาษาซมี ีวิธีใชข้ อ้ มลู และมโี ครงสรา้ งการควบคมุ

การทำงานของโปรแกรมเปน็ อย่างเดยี วกบั ภาษาของโปรแกรมระดับสูงอน่ื ๆจงึ ถอื วา่ เป็นภาษาระดบั สงู ทำใหภ้ าษาซี เปน็ อสิ ระจากฮาร์ดแวร์ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึง่ ตรงกบั ชนิดของขอ้ มลู นน้ั ได้เองทำใหโ้ ปรแกรมท่เี ขยี น ด้วยภาษาซีที่เขยี นบนเคร่ืองหน่งึ สามารถนำไปใช้กับอีกเครอ่ื งหนงึ่ ได้ ประกอบกบั การใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นบั ได้ วา่ เป็นตัวอย่างท่ดี ขี องการเปน็ อิสระจากฮารด์ แวร์ องคป์ ระกอบของภาษาซี เเบ่งออกเปน็ 3 สว่ น สว่ นท่ี 1 ส่วนหวั (header) ส่วนหวั เปน็ สว่ นทร่ี ะบซุ ีคอมไพเลอร์เตรียมการทำงานทก่ี ำหนดในส่วนนไ้ี ว้ โดย หน้าคำส่งั จะมีเคร่อื งหมาย # ตวั อยา่ ง # include <stdio.h> หมายถงึ เปน็ การระบใุ ห้นำไฟล์ stdio.h มารวมกับไฟลน์ ี้ เพ่อื ที่จะสามารถใช้คำสงั่ ทอ่ี ยู่ในไฟล์นี้มาใช้ งานได้ # define START 0 หมายถึง เปน็ การกำหนดค่าคงทีใ่ หก้ ับตวั แปร START โดยใหม้ คี ่าเปน็ 0 # define temp 37 หมายถงึ เป็นการกำหนดใหต้ วั แปร temp มคี า่ เท่ากับ 37

ส่วนท่ี 2 ประกาศตัวแปร (Declaration) สว่ นประกาศตัวแปร เป็นการกำหนดชนดิ ขอ้ มูลที่จะใชใ้ นโปรแกรม ซึ่งตวั แปร หรือข้อมูลต่างๆนนั้ จะ ถูกประกาศ(Declare) ในสว่ นนี้กอ่ น จงึ จะสามารถนำไปใชใ้ นโปรแกรมได้ดงั ตวั อย่าง int stdno; หมายถงึ เปน็ ตัวกำหนดว่าตวั แปร stdno เปน็ ชนดิ ขอ้ มูลจำนวนเตม็ integer ซึง่ อาจได้แกค่ า่ 0,4,-1, -3,...เปน็ ตน้ float score; หมายถึง เปน็ การกำหนดวา่ ตวั แปร score เป็นข้อมลู ชนิดเลขมจี ดุ ทศนยิ ม(floating point) ซง่ึ อาจมี ค่า 0.23, 1.34, -21.002,….เป็นตน้ สว่ นที่ 3 ส่วนตัวคำสงั่ (Boddy) สว่ นตัวคำสง่ั คอื ส่วนของโปรแกรม โดยจะต้องเร่มิ ต้นดว้ ยฟงั ก์ชนั main () แลว้ ใส่เครือ่ งหมาย กำหนดขอบเขตเร่ิมต้นของตัวโปรแกรมคอื { หลังจากนัน้ ใส่คำสัง่ หรือฟงั กช์ นั ตา่ งๆโดยแตล่ ่ะคำสั่งหรอื ฟงั กช์ ัน นัน้ ๆ จะต้องปดิ ดว้ ยเครื่องหมาย ; เม่ือตอ้ งการจบโปรแกรมใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย } ดงั ตวั อยา่ ง main () { /*เริม่ ตน้ โปรแกรม*/ คำสัง่ ตา่ งๆ ;

ฟงั กช์ ัน่ ; ผ้พู ัฒนาภาษาซี – ค.ศ. 1970 มกี ารพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซงึ่ ทำงานบน เครอื่ ง DEC PDP-7 ซงึ่ ทำงานบนเครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอรไ์ มไ่ ด ้ และ ยงั มขี อ้ จำกดั ในการใชง้ านอยู่ (ภาษา B สบื ทอดมาจาก ภาษา BCPL ซงึ่ เขยี นโดย Marth Richards) – ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ไดส้ รา้ งภาษา C เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ ภาษา B ใหด้ ยี งิ่ ขน้ึ ในระยะแรกภาษา C ไม่ เป็ นทนี่ ยิ มแกน่ ักโปรแกรมเมอรโ์ ดยทว่ั ไปนัก

– ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ไดเ้ ขยี น หนังสอื เลม่ หนงึ่ ชอ่ื วา่ The C Programming Language และหนังสอื เลม่ นท้ี ำใหบ้ คุ คลทว่ั ไปรจู ้ ักและนยิ มใชภ้ าษา C ในการเขยี น โปรแกรม มากขน้ึ – แตเ่ ดมิ ภาษา C ใช ้Run บนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 8 bit ภายใตร้ ะบบ ปฏบิ ตั กิ าร CP/M ของ IBM PC ซงึ่ ในชว่ งปี ค. ศ. 1981 เป็ นชว่ งของ การพัฒนาเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ ภาษา C จงึ มี บทบาทสำคญั ใน การนำมาใชบ้ นเครอื่ ง PC ตงั้ แตน่ ัน้ เป็ นตน้ มา และมกี ารพัฒนาตอ่ มาอกี หลาย ๆ คา่ ย ดงั นัน้ เพอ่ื กำหนดทศิ ทางการใชภ้ าษา C ใหเ้ ป็ นไป แนวทางเดยี วกนั ANSI (American National Standard Institute) ได ้ กำหนดขอ้ ตกลงทเ่ี รยี กวา่ 3J11 เพอ่ื สรา้ งภาษา C มาตรฐานขน้ึ มา เรยี น วา่ ANSI Cค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แหง่ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเบล (Bell Laboratories) ไดพ้ ัฒนาภาษา C++ ขน้ึ รายละเอยี ดและความ สามารถของ C++ มสี ว่ นขยายเพม่ิ จาก C ทส่ี ำคญั ๆ ไดแ้ ก่ แนวความ คดิ ของการเขยี นโปรแกรมแบบกำหนดวตั ถเุ ป้าหมายหรอื แบบ OOP (Object Oriented Programming) ซงึ่ เป็ นแนวการเขยี นโปรแกรมท่ี เหมาะกบั การพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญท่ มี่ คี วามสลบั ซบั ซอ้ นมาก มี ขอ้ มลู ทใี่ ชใ้ นโปรแกรมจำนวนมาก จงึ นยิ มใชเ้ ทคนคิ ของการเขยี น โปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญใ่ นปัจจบุ นั นี้ จดุ เดน่ -จดุ ดอ้ ยของภาษา

จุดด้อย ภาษาซี ไมม่ ีตัวจัดการจองหน่วยความจำในตัวเอง เมอ่ื เวลาเราตอ้ งการจองหน่วยความจำแบบ Dynamic ภาษา C ทำ wrapper เพอื่ ตดิ ต่อกับ OS เพื่อขอจองหนว่ ยความจำโดยตรง ปญั หากค็ ือ การตดิ ต่อกันระหว่างโปรแกรมของเรากบั OS เป็น ไปอยา่ งหลวมๆ ถา้ โปรแกรมลืมบอก OS ว่าเลกิ จองหนว่ ยความจำดงั กลา่ ว หน่วยความจำน้นั กจ็ ะถกู จองไปเรือ่ ยๆ เราจะเหน็ เคร่ือง คอมพิวเตอร์ทำงานได้เรว็ ในตอนเช้า แตพ่ อตกบ่ายก็ชา้ ลงจนทำงานไม่ไหว จนสดุ ท้ายตอ้ ง boot ใหม่ สาเหตหุ ลกั ของ ปัญหาน้คี อื ส่งิ ท่เี รียกวา่ หนว่ ยความจำรวั่ หรอื Memory Leak จุดเด่น คือการรองรบั pointer นนั้ อาจจะมองได้ว่าคือจุดอ่อนที่สดุ ของภาษาซี ทำไมถึงเปน็ เช่นน้นั pointer คือความสามารถ ท่ีภาษาอนญุ าตใหเ้ ราสามารถอ่านเขียนหนว่ ยความจำไดโ้ ดยตรง ซ่งึ ประสทิ ธภิ าพสูงมาก (สูสีกบั ภาษา Assembly) เปรยี บไดก้ บั เราเปดิ ร้านขายของชำ แลว้ บอกลูกค้าวา่ เพอื่ ความรวดเรว็ ไปหยิบของเองเลย แลว้ มาจ่ายเงนิ ก็แลว้ กนั ซึ่งวิธนี ้เี ร็วมากลกู คา้ ไมต่ ้องรอราเป็นผ้หู ยิบให้เลย เขาหยิบได้เอง แตค่ วามสะดวกน้ี กต็ อ้ งแลกถ้าลูกคา้ คนน้ันเมา เดิน เตะของพังหมด หรืออาจจะขโมยดว้ ยซ้ำ อีกปัญหาหน่งึ กค็ อื ตัวของภาษาซี ไม่มีตัวจัดการจองหนว่ ยความจำในตวั เอง เมอ่ื เวลาเราตอ้ งการจองหนว่ ยความจำแบบ Dynamic ภาษาซี ทำ

wrapperเพื่อตดิ ต่อกบั OS เพ่อื ขอจองหนว่ ยความจำโดยตรง ปัญหากค็ ือ การติดต่อกนั ระหวา่ งโปรแกรมของเรา กับ OS เปน็ ไปอยา่ งหลวมๆ ถา้ โปรแกรมลมื บอก OS วา่ เลกิ จองหนว่ ยความจำดังกล่าว หนว่ ยความจำน้ันก็จะถกู จองไปเรื่อยๆ เราจะเหน็ เคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ ำงานได้เรว็ ในตอนเช้า แต่พอตกบ่ายก็ช้าลงจนทำงานไมไ่ หว จน สดุ ท้ายต้อง bootใหม่ สาเหตหุ ลกั ของปัญหานค้ี ือ ส่ิงทเ่ี รียกวา่ หนว่ ยความจำรว่ั หรอื Memory Leak ถึงแมว้ นั น้ี ภาษาซี กเ็ สอื่ มความนยิ มไปมากแล้ว ต้งั แต่ GUI OS อย่างWindows เข้ามามีบทบาทภาษาซปี รับตวั เองเขา้ กับ การเขียนโปรแกรมแบบ GUI ไม่คอ่ ยได้ จงึ เสอ่ื มความนิยมไปเกือบหมด คงเหลอื แตก่ ารใช้งานบน UNIX เท่านน้ั ท่ี ยังคงพอใชภ้ าษาซกี นั อยู่ การประยุกต์ใชภ้ าษา ภาษาซเี ปน็ ภาษาระดบั สงู ท่สี ามารถทำงานแบบภาษาระดบั ต่ำ(assembly language)ได้ ด้วยลักษณะการใช้งานของ ภาษาและตัวแปลภาษาทมี่ คี วามสามารถแปลงโปรแกรมไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การประยกุ ตใ์ ช้งานภาษาซีเพอ่ื เขียน โปรแกรมจงึ สามารถทำไดอ้ ย่างหลากหลายเชน่ การคำนวณทางคณิตศาสตรก์ ารจัดการแฟ้มขอ้ มลู การเขยี นโปรแกรม ระบบปฏิบตั กิ าร การควบคมุ อุปกรณ์ตอ่ พ่วงกบั คอมพวิ เตอร์หรือใช้สรา้ งโปรแกรมประยกุ ตอ์ ืน่ ๆ ท้งั น้ีต้องมีการพจิ ารณา ถึงฟงั กช์ นั การใชง้ านของภาษาและตัวแปลภาษาด้วย การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ไม่เพยี งตอ้ งรรู้ ปู แบบภาษา(syntax) เท่านน้ั แต่จำเปน็ ต้องรูข้ ั้นตอนการสรา้ งโปรแกรมด้วย เพ่ือใหโ้ ปรแกรมสามารถทำงานไดค้ รบตามความต้องการอยา่ งถูก ต้อง wrapperเพือ่ ตดิ ตอ่ กับ OS เพ่ือขอจอง การประยกุ ตใ์ ช้ภาษา ภาษาซเี ป็นภาษาระดบั สูงทีส่ ามารถทำงานแบบภาษาระดบั ตำ่ (assembly language)ได้ ด้วยลกั ษณะการใชง้ านของ ภาษาและตัวแปลภาษาท่ีมคี วามสามารถแปลงโปรแกรมได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การประยกุ ตใ์ ช้งานภาษาซีเพ่อื เขียน โปรแกรมจึงสามารถทำไดอ้ ยา่ งหลากหลายเชน่ การคำนวณทางคณติ ศาสตรก์ ารจดั การแฟม้ ข้อมูล การเขยี นโปรแกรม ระบบปฏิบตั กิ าร การควบคุมอปุ กรณ์ตอ่ พว่ งกบั คอมพิวเตอร์หรือใชส้ รา้ งโปรแกรมประยกุ ตอ์ น่ื ๆ ท้งั นต้ี ้องมกี ารพจิ ารณา

ถึงฟังกช์ ันการใช้งานของภาษาและตัวแปลภาษาดว้ ย การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาซี ไมเ่ พียงต้องรูร้ ูปแบบภาษา(syntax) เท่าน้นั แต่จำเป็นต้องรู้ข้ันตอนการสรา้ งโปรแกรมดว้ ย เพอื่ ให้โปรแกรมสามารถทำงานไดค้ รบตามความต้องการอย่างถูก ต้อง เทคโนโลยปี ระยกุ ต์ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการศึกษา การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการศกึ ษาน้นั มีวตั ถุประสงค์เพ่ือกระจายการศึกษาใหเ้ ขา้ ถงึ ประชาชนใหม้ าก ทีส่ ดุ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นการศึกษา สามารถบันทกึ เปน็ ไฟลใ์ นระบบคอมพิวเตอร์และนำ ไฟล์ดงั กลา่ วมาเผยแพรผ่ า่ นระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ เพื่อให้ผ้เู รียนทอี่ ยหู่ ่างไกลมโี อกาสเรยี นรไู้ ดใ้ นเวลาท่ี สะดวก อกี ทง้ั ยังจดั ทำเปน็ ลกั ษณะของส่ือผสม (multimedia) ซง่ึ สามารถกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นสนใจเรียนอยู่ตลอด เวลา รวมทัง้ ยังจำลองสภาพจริงท่ชี ว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นรูอ้ ย่างชัดเจน ดังนั้นในทอ้ งถน่ิ หา่ งไกลทข่ี าดบคุ ลากร ทางการศกึ ษาเฉพาะทาง ขาดอปุ กรณ์การทดลองหรืออุปกรณท์ างการศึกษาต่าง ๆ ก็ยังคงสามารถเรยี นรไู้ ด้ เท่าเทยี มกับเด็กในเมอื ง 1) วดี ทิ ศั น์ตามอัธยาศัย (Video on Demand : VOD) เปน็ ระบบทนี่ ำภาพวิดีโอมาบันทึกเปน็ ไฟล์ในระบบ คอมพิวเตอร์และนำไฟล์ดังกลา่ วมาเผยแพร่ผา่ นระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นท่อี ยหู่ ่างไกลมีโอกาส

เรยี นร้ไู ดใ้ นเวลาทส่ี ะดวก อกี ท้งั ยังจัดทำเปน็ ลกั ษณะของสอ่ื ผสม (multimedia) ซึ่งสามารถกระตนุ้ ให้ผู้เรียน สนใจเรยี นอยู่ตลอดเวลา รวมท้ังยังจำลองสภาพจรงิ ที่ชว่ ยให้เกิดการเรยี นรู้อย่างชดั เจน ดังนั้นในทอ้ งถ่ินห่างไกล ที่ขาดบคุ ลากรทางการศึกษาเฉพาะทาง ขาดอปุ กรณก์ ารทดลองหรอื อุปกรณท์ างการศกึ ษาต่าง ๆ ก็ยงั คงสามารถ เรยี นรไู้ ดเ้ ท่าเทยี มกบั เด็กในเมอื ง ตวั อย่างเว็บไซตท์ น่ี ำเสนอวดี ิทัศนต์ ามอัธยาศัย 2) หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-books) เป็นหนังสือทอี่ ยูใ่ นรปู แบบของไฟล์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่ไม่ต้องใช้กระดาษ หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกสส์ ามารถอา่ นได้โดยใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอรป์ ระเภทพกพาและซอฟต์แวรท์ ่ใี ช้อ่าน เชน่ เคร่อื ง คอมพวิ เตอรโ์ นต้ บกุ๊ เครอื่ งพดี ีเอ และโทรศัพทม์ ือถือบางรุ่นทมี่ ีระบบปฏบิ ัตกิ าร Microsoft Mobile นอกจากนี้ หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ยงั สามารถดาวนโ์ หลดหรอื อา่ นไดจ้ ากเว็บไซดท์ างอนิ เทอรเ์ นต็ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์มีบทบาทในวงการการศกึ ษามากขึ้นด้วยเหตผุ ล ดงั น้ี 1. สามารถอา่ นไดส้ ะดวกทุกท่ี ทุกเวลาทม่ี ีอปุ กรณ์พกพาทีส่ ามารถอา่ นหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส์ 2. มีสสี นั สวยงาม สามารถใสเ่ สียง ภาพเคลอ่ื นไหวให้เน้ือหาน่าสนใจ ทำให้ผูเ้ รยี นอา่ นและทำความเขา้ ใจได้งา่ ย 3. โปรแกรมท่ีใชใ้ นการสร้างหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ ชง้ านง่ายและสรา้ งไดอ้ ย่างรวดเรว็ เทคโนโลยีในงานธรุ กจิ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในสาขาธรุ กจิ พาณชิ ย์ และสำนกั งาน มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการ ผลติ และการบริการ ตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นธุรกจิ พาณชิ ย์ และสำนักงาน จำแนกได้ ดงั น้ี 1) การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-commerce) คอื การทำกิจกรรมทางธรุ กิจผา่ นชอ่ งทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ในทกุ ชอ่ งทางเช่น อินเทอรเ์ นต็ โทรศัพท์ วทิ ยุ แฟกซ์ เปน็ ตน้ ทัง้ ในรูปแบบขอ้ ความ เสยี ง และภาพ โดยกจิ กรรมทางธุรกิจจะเนน้ การขายสนิ ค้าหรอื บรกิ ารซ่ึงเริม่ ต้งั แต่ส่วนของ ผู้ชอื่ สามารถดำเนนิ การเลือกซ้ือสนิ คา้ หรอื บรกิ าร คำนวณเงนิ ชำระเงิน รวมถงึ การไดร้ ับบรกิ ารหลังการขายไดโ้ ดย

อัตโนมตั ิ ส่วนของผู้ขาย สามารถนำเสนอสินค้า รับเงนิ ชำระคา่ สินคา้ ตดั สินค้าจากคลงั สินค้า และประสานงานไปยังผู้จดั สง่ สนิ ค้า รวมถึงการบริหารหลงั การขายได้โดยอตั โนมตั ิ กิจกรรมทางธรุ กิจดังกล่าวในปจั จุบนั นิยมจดั ทำรปู แบบของเว็บ ไซต์ เช่น www. amazon.com เปน็ เวบ็ ไซตก์ ารค้าปลกี ออนไลนท์ ีใ่ หญ่ทสี่ ุด โดยในช่วงแรกจะขายหนังสือ แต่ปจั จุบนั กำลังพัฒนาการขายสนิ คา้ เพมิ่ เติมโดยลกู ค้าสามารถดาวนโ์ หลดเพลง ภาพวิดโี อ และหนังสอื ได้ ปัจจุบันประเทศไทยนิยมใชพ้ าณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ สก์ บั ธรุ กิจประเภท OTOP ซง่ึ สามารถประชาสัมพันธ์ สินคา้ ของแต่ละทอ้ งถนิ่ ให้เป็นทรี่ ูจ้ ักท่ัวโลก ซ่ึงชว่ ยสรา้ งรายได้ให้กบั ชมุ ชนได้ในระดับหนึ่ง ประโยชน์ของการพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ 1. เพิ่มช่องทางการขายจากช่องทางปกติ ได้แก่ การขายหน้าร้านค้า เปน็ การขายผ่านเว็บไซต์ ทำใหเ้ กดิ การ ประชาสัมพนั ธส์ นิ คา้ และบรหิ ารขององค์กรไดท้ ว่ั โลก 2. ลดค่าใช้จา่ ย เช่น ทำเลทต่ี งั้ อาคารประกอบการ โกดงั เกบ็ สินคา้ ห้องแสดงสินคา้ รวมถงึ พนักงานขาย พนักงาน แนะนำสินค้า พนักงานตอ้ นรบั ลูกคา้ เปน็ ตน้ 3. สามารถใหบ้ รกิ ารขายได้ตลอด 24 ชว่ั โมง ทุกวันและตลอดเวลา 4. สามารถใหบ้ รกิ ารหลงั การขายและแก้ไขปญั หาท่เี กดิ ขนึ้ กบั สินค้าได้รวดเรว็ 2) สำนกั งานอตั โนมตั ิ (office automation) เป็นการนำเอาเทคโนโลยีสมยั ใหม่ ได้แก่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ซอฟตแ์ วร์ โทรศพั ท์ เทเลเท็กซ์ เครอื่ งเขยี นตามคำบอก อตั โนมัติ (dictating machines) เคร่ืองถ่ายเอกสารแบบหน่วยความจำ เครื่องโทรสาร ฯลฯ มาใช้ช่วยให้การปฏิบัตงิ าน ในสำนักงาน เกดิ ประสทิ ธภิ าพและความสะดวกรวดเรว็ มากขน้ึ การใช้อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์จะช่วยในเร่ืองการประมวลผลข้อมลู ได้อย่างรวดเรว็ การติดตอ่ สือ่ สารภายในสำนักงานเปน็ ไป อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และยังชว่ ยใหล้ ดปริมาณการใช้กระดาษของสำนักงานได้เป็นอย่างดี เทคโนโลยดี ้านการแพทย์

การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีสารสนเทศด้านสาธารณสขุ และการแพทย์มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลกั เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีสุขภาพอนามยั ทด่ี ขี น้ึ ตลอดจนไดร้ ับการรกั ษาพยาบาลทด่ี ีขึ้น ดังน้ี 1) ระบบแพทย์ทางไกล (telemedicine) เปน็ โครงการของรฐั บาลทย่ี กระดบั การใหบ้ ริการรกั ษาผู้ปว่ ยในทอ้ งถน่ิ ทุรกนั ดารผ่านเครือขา่ ยโทรคมนาคม โดยเรมิ่ จาก สง่ ข้อมูลผู้ปว่ ยดว้ ยการถา่ ยทอดสดผ่านทางดาวเทียมในการประชุมทางไกลผา่ นเครอื ข่าย (video conference system) ขณะตรวจอาการผปู้ ว่ ยจากสถานีอนามยั เช่อื มไปยงั เคร่อื งปลายทางทีโ่ รงพยาบาลประจำอำเภอ เพื่อใหแ้ พทยผ์ ู้เช่ียวชาญ ของโรงพยาบาลปลายทางไดด้ ภู าพลกั ษณะของผู้ป่วย กอ่ นทำการวนิ จิ ฉัยอาการผา่ นจอมอนเิ ตอร์อย่างละเอยี ดอีกครง้ั พร้อมกบั ให้คำแนะนำในการรักษากลับมายงั เจ้าหนา้ ที่สถานีอนามัย เพ่ือใหก้ ารรกั ษาพยาบาลเปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ งและถูก วธิ ีทีส่ ดุ 2) ระบบการปรกึ ษาแพทยท์ างไกล (medical consultation) เปน็ ระบบการปรกึ ษาระหวา่ งโรงพยาบาลชมุ ชนกับโรงพยาบาลทม่ี ีแพทย์ผู้เชยี่ วชาญผ่านสญั ญาณดาวเทยี ม ซง่ึ สามารถ ส่งได้ทง้ั ข้อมลู ภาพ ภาพเคล่อื นไหว และเสยี ง

บรรณานุกรม https://www.ar.co.th/kp/th/409 https://sites.google.com/site/p5chutikan/6-kar-rwbrwm-khxmul http://www.lks.ac.th/sara/anchalee/c_born.htm https://th.wikipedia.org/wiki/เทคโนโลยสี ารสนเทศ https://sites.google.com/site/computerbusiness03/hnwy-thi-2-xeksar-thi-chi-ni-ng an-thurkic/kar-prayukt-chi-thekhnoloyi-ni-ngan-thurkic http://pichpizza.blogspot.com/2014/12/blog-post_43.html https://sites.google.com/site/rattiyacom11/-khxdi-khx-seiy-khxng-phasa-si http://tuchchapron.blogspot.com/p/c_4502.html https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B5_(%E0%B8%A0%E0%B8%B 2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81 %E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1) https://sites.google.com/site/krunoptechno/withyakar-khxmphiwtexr-kab-kar-dan ein-chiwit-1 ภาคผนวช

1. แนบภาพเกย่ี วกบั สถติ ิเก่ยี วกับผเู้ ข้าชมการไลฟ์ (Live) หรือ นำเสนอออนไลน์ ยอดววิ 100 หรอื ยอดแชร์ 100 2.ยอดผ้เู ข้าดูเวบ็ ไซตข์ อง Admin ยอดแชร์ 100 เวบ็ ไซตน์ เ้ี หมาะสำหรับผู้ตอ้ งการ ศกึ ษา วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ กระบวนการเทคโนโลยี พน้ื ฐานของภาษาซี เทคโนโลยี ประยกุ ต์