ก นป โฮมสเตย จ นทบ ร ม เคร องเล น

  • 1. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ แนวทางการจัดกจิ กรรมท่องเท่ยี วสำหรับโฮมสเตย ์ อาจารย์มานิศา ผิวจันทร์ 1 สาขาวิชาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โฮมสเตย์ หรือ ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมท้องถิ่นนั้น เป็นกิจกรรมทางการท่องเที่ยวหนึ่งที่ นักท่องเท่ยี วไดเ้ ขา้ มาใชช้ วี ิตและสัมผัสประสบการณก์ับเจา้ ของบา้ น พักกับเจ้าของบ้านโดยที่กิจกรรม สว่ นใหญจ่ ะเป็นกจิ กรรมในชีวิตประจำวันของเจ้าของบ้าน หรือเจ้าของโฮมสเตย์ที่ปฏิบัติอยู่ การจัด กจิ กรรมทอ่ งเท่ยี วโดยนักทอ่ งเที่ยวมีส่วนรว่ มในการเรยี นรู้ ปฏบิัตติ าม และรว่ มกิจกรรมกับครอบครัว ของโฮมสเตย ์ หรือเจา้ ของบา้ นถือเป็นจุดประสงคห์ ลักของการทอ่ งเท่ยี วแบบโฮมสเตย์ โดยมีการจ่าย คา่ ตอบแทนท่เี หมาะสม การจัดทำโฮมสเตย ์ หรือท่พีักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท ตอ้ งมองในหลายมติ โิ ดยพจิ ารณาตามวิถี ชีวิตที่แตกต่างกันของชุมชนนั้น ต้องมองว่าบ้านไม่ใช่แค่ที่พัก แต่ต้องประกอบไปด้วย “คนและจิต วิญญาณของชุมชน” การส่งเสริมและพัฒนาจะต้องส่งเสริมให้ชุมชนมีความพร้อมก่อน มีจุดยืนที่ ชัดเจน มวี ถิ ชี วี ิต วัฒนธรรมและประเพณที่เี ป็นเอกลักษณ ์ และเต็มใจท่จี ะตอ้ นรับผู้มาเยือน โดยต้องมี การพัฒนาและอนุรักษด์ ้านส่งิ แวดล้อม เศรษฐกจิ สังคม ชุมชน และ จติ วญิ ญาณไปในเวลาเดยี วกัน 2 อีกรูปแบบหนึ่งที่นิยมในต่างประเทศและใช้คำว่า Home Stay เช่นกันซึ่งหากดูในเชิงความหมายแล้ว แตกตา่ งจากในประเทศไทยในบางมติ ิ คือ รูปแบบของโฮมสเตย์ที่อยู่ในเขตสังคมเมือง โดยเป็นที่พักที่ อาศัยอยใู่ นชายคาเดยี วกับเจา้ ของบา้ น ทำกจิ กรรมและอยู่ร่วมกับเจ้าของบ้านเช่นกันซึ่งเป็นที่นิยมจัด ใหส้ำหรับนักทอ่ งเที่ยวที่มาศกึ ษาแลกเปล่ยี นวัฒนธรรม หรือศึกษาภาษาระยะสั้นเพื่อการเรียนรู้ หรือ บางครั้งถูกเรียกว่า Host Family หรือ Home Stay แต่ในประเทศไทยการกล่าวถึงโฮมสเตย์จะเป็นส่วนหนึ่ง ของกจิ กรรมการท่องเท่ยี วโดยชุมชน (Community-based tourism) โดยชาวบา้ นหรือคนในชุมชนรว่ มกันบรหิ าร จัดการที่พักสำหรับนักท่องเที่ยวที่อยากมาสัมผัสวิถีชีวิตและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ส่งเสริม ใหเ้ กดิ รายได้ในชุมชนเพื่อการพัฒนาท่ยีั่งยืนมากกว่าโฮมสเตย์ที่เป็นเจ้าของคนเดียวหรือจัดเป็นธุรกิจ คล้าย Guest House เราจึงสามารถแบ่งประเภทของโฮมสเตย์ในประเทศไทยได้ 2 รูปแบบใหญ่ คือ 1. โฮมสเตย์ชนบทหรือแบบการบริหารจัดการโดยชุมชน (Rural Homestay or Eco Homestay) 2. โฮมสเตย์เมืองหรือแบบธุรกิจเด่ยี ว (Modern Homestay) 1 อาจารย์ประจำสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 053-943297 e-mail: manisa.p@cmu.ac.th 2 มาตรฐานโฮมสเตย์ไทย พ.ศ.2551
  • 2. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ แนวคิดการท่องเที่ยวโฮมสเตย์ 3 หนังสือคู่มือแนวทางการจัดการท่พีักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทของการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศ ไทย กล่าวว่า ข้อเสนอพื้นฐานที่มีต่อนักท่องเที่ยว คือ โฮมสเตย์ (Home Stay) หรือที่พักสัมผัส วัฒนธรรมชนบท รวมถงึ การใหบ้ ริการอื่นๆ อาทิ อาหาร การนำเท่ยี ว การศึกษาวิถีชีวิตชุมชน เป็นต้น โฮมสเตย์ (Home Stay) หรือที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทจะเป็นบ้านที่มีความพร้อมสำหรับการแบ่ง พื้นที่ของบ้านพักอาศัยให้บริการกับนักท่องเที่ยว เสมือนสมาชิกหรือญาติของบ้านพัก โดยมีความ พร้อมภายใต้การบริหารจัดการของชุมชน การมีวถิ ีชีวติ ที่เรียบงา่ ยแบบสังคมชนบทเป็นจุดขายที่สำคัญที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจ การจัดกจิ กรรมท่พีักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทจงึ เป็นส่งิ อำนวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเท่ยี วชุมชนและเป็นทางเลือกในตลาดท้องถิ่นที่ไม่ใช่คู่แข่งในเชิงพาณิชย์ในพื้นที่ที่มีโรงแรม หรือ รสี อรท์ จงึ ไม่ถือเป็นการประกอบการท่พีักในเชงิ ธุรกจิ แตต่ อ้ งอยภู่ ายใตศั้กยภาพและความพร้อมของ ชุมชนเป็นหลัก บรกิ ารท่เี สนอให  (Service Offered) 1) วิถกี ารดำเนนิ ชวี ิตท่เี รยี บงา่ ยแบบสังคมชนบท 2) วัฒนธรรมทอ้ งถิ่นท่มี เี อกลักษณเ์ ฉพาะ 3) ความปลอดภัย 4) ความสะอาด 5) ห้องพักและอาหาร 6) กิจกรรมการท่องเที่ยว สว่ นในเรื่องของการจัดการกจิ กรรมท่พีักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทควรท่จี ะมกี ารรวมกลมุ่ จัดตงั้ ในรูปของ กลุ่ม/ชมรม/สหกรณ์ ซึ่งสมาชิกและคนในชุมชนจะต้องมีความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในด้านการจัด รายการนำเที่ยวและการจัดรายการนำเท่ยี ว รายการนำเที่ยว หรือโปรแกรมท่องเที่ยว (Itinerary) เป็นกิจกรรมการท่องเที่ยวในแต่ละวันที่ กำหนดไวส้ำหรับนักทอ่ งเที่ยว โดยมรี ายละเอยี ดระบุวัน เวลา สถานที่ท่องเที่ยว กิจกรรม สถานที่พัก อาหาร เพื่อใหนั้กท่องเท่ยี วทราบถงึ สิ่งท่จี ะไดรั้บจากการทอ่ งเท่ยี วนนั้ สำหรับโฮมสเตยก์ ารจัดรายการ นำเที่ยวอาจแตกต่างไปจากรายการนำเที่ยวปกติ เนื่องจากวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวเป็นการ เรยี นรวู้ ถิ ชี วี ติ และชุมชน โดยมีข้อกำหนดการพักแรม ณ บา้ นของเจ้าของโฮมสเตย์หลังใดหลังหนึ่งใน 3 แนวคดิ การท่องเท่ยี วแบบโฮมสเตย์, มปป.
  • 3. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ชุมชนนั้น ดังนั้นการจัดรายการนำเที่ยวของโฮมสเตย์ จะเน้นที่กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในชุมชน แหล่ง ท่องเที่ยวในชุมชนและใกล้เคียง ไม่มีการเปลี่ยนที่พักระหว่างการเดินทาง และรูปแบบอาหารเป็น อาหารท้องถ่นิ หรืออาหารที่เจา้ บ้านประกอบขนึ้ ใหกั้บนักทอ่ งเท่ยี ว รูปแบบของกิจกรรมท่องเที่ยวโฮมสเตย์ รูปแบบของกิจกรรมท่องเท่ยี วโฮมสเตยอ์ าจเปล่ยี นไปตามทอ้ งถ่นิ หรือส่งิ แวดลอ้ ม เชน่ หมบู่ า้ น ชนบทที่มวี ถิ ชี วี ิตทางเกษตร ก็จะมวี ิธีการจัดการกจิ กรรมทอ่ งเท่ยี วท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการเกษตรกรรม เช่น เก็บพืชผักสวนครัว ในขณะที่หากคุณมีบ้านอยู่ในเขตเมืองและมีพื้นที่ห้องพักเหลือที่จะจัดโฮมสเตย ์ ลักษณะกจิ กรรมการท่องเท่ยี วก็จะมีลักษณะท่แี ตกตา่ งไป แตส่ิ่งท่เี หมือนกันคือ กจิ กรรมสว่ นใหญเ่ ปน็ การเรยี นรวู้ ถิ ีชีวติ ไม่ว่าบ้านพักโฮมสเตย์จะอยู่ในเขตไหน สามารถประยุกต์สิ่งแวดล้อมของพื้นที่เข้า เป็นสว่ นหน่งึ ของกิจกรรมไดเ้ ชน่ กัน สำหรับการจัดกจิ กรรมท่องเท่ยี วของโฮมสเตย ์ ส่งิ ท่คี วรคำนงึ ถงึ มดีังตอ่ ไปนี้ 1. กิจวัตรประจำวัน ของคนในครอบครัว หรือเจ้าของบ้าน กจิ วัตรประจำวันของคนในครอบครัว หรือเจา้ ของบา้ น เป็นกจิ กรรมอันดับแรกท่สี ามารถนำมา เป็นส่วนหนึ่งให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้ประสบการณ์ใหม่ โดยอาจเริ่มจากการประกอบอาชีพหลัก กลา่ วคือ หากเจ้าของบ้านประกอบอาชีพหลักที่เป็นกิจการที่ดำเนินการภายในครอบครัว อาทิ ทำไร่ ทำสวน เก็บผักผลไม้ จักรสาน หัตถกรรม เป็นตน้ ซ่งึ กจิ กรรมเหลา่ นี้ เจา้ บา้ นสามารถนำนักท่องเที่ยว ที่เขา้ พักกับบ้านและครอบครัวของตนไปร่วมกจิ กรรมได ้ เพราะนักทอ่ งเท่ยี วโฮมสเตยม์ จีุดประสงคห์ ลัก ในการเรียนรู้และสัมผัสประสบการณ์ใหม่เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว กจิ กรรมที่สามารถนำมาผนวกกับโฮมสเตย์ได้ ยกตัวอย่างเช่น การตื่นเช้าใส่บาตร การทาน อาหารเชา้ ท้องถ่นิ หรือการรว่ มประกอบอาหารเชา้ แบบงา่ ย ๆ ด้วยตนเอง การออกไปช่วยงานเจ้าของ บ้านในสวน โดยมีการสอนวิธีการปลูกผัก เก็บผัก หรือการดูแลแปลงเกษตร หากเป็นโฮมสเตย์ในเมือง อาจสอนานด้านอื่น ๆ อาทิ ภาษาไทยพื้นฐาน การซื้อของในตลาดสดของไทย หรือหากคุณมีธุรกิจ ขนาดเล็กที่สามารถใหนั้กท่องเท่ยี วเรียนรไู้ ด ้ ก็สามารถนำมาเป็นกจิ กรรมได้ การทำกิจกรรมโดยใช้พืน้ ฐานของชวี ติ ประจำวันของเจา้ บา้ นนี้ ไมจ่ำเป็นที่จะต้องร่วมกิจกรรม ทั้งหมด การดำเนนิ กจิ กรรมไมเ่ รง่ รบี กิจกรรมที่เห็นความแตกต่างทางวัฒนธรรมและเกิดการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมหลักที่นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ให้ความสนใจ อาทิ  พืชผักสวนครัว ผลไม้ และกิจกรรมเกษตร  กจิ กรรมการทำไร่ชา นาขา้ ว สอนใหร้ จูั้กวธิ กี ารปลูก เก็บ เกี่ยว หรือกระบวนการต่าง ๆ เป็น ต้น
  • 4. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม   ฟาร์มโคนม ปศุสัตว์  หัตถกรรม จักรสาน  การประกอบอาหารท้องถ่นิ การเลือกซือ้ ของในตลาดทอ้ งถ่นิ เพื่อนำมาประกอบอาหาร ตัวอย่างของกิจกรรมที่เก่ยี วข้องกับชีวิตประจำวัน ช่วงเช้าเมื่อตื่นนอน นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัสตั้งแต่ประสบการณ์ด้านอาหาร อาหารเช้าที่ เจ้าของบ้านเตรียมให้เป็นอาหารแบบพื้นถิ่น หรืออาหารที่เจ้าบ้านและคนในวัฒนธรรมหรือชุมชน เดยี วกันจัดหารับประทาน ทานอาหารเสร็จอาจมกี ารอาบนำ้ ชำระลา้ งรา่ งกาย นักทอ่ งเท่ยี วเหลา่ นกี้็จะ ได้สัมผัสถงึ ความแตกตา่ งในเรื่องของอุปกรณ์ของใช้ในการอาบนํ้า เช่น การอาบนํ้าจากตุ่มใส่นํ้าและ การใชขั้น แทนที่จะอาบนํ้าจากฝักบัวหรือ Shower ที่นักท่องเที่ยวรู้จักเป็นอย่างดี สิ่งเล็ก ๆ เหล่านี้เป็น ความแตกตา่ งท่นี ่าหลงใหลของวัฒนธรรมในแตล่ ะพืน้ ที่ ยิ่งมีความแตกต่างมากเท่าไรประสบการณ์ที่ นักท่องเท่ยี วไดรั้บกลับไปยิ่งสร้างความประทับใจมากขนึ้ บางครงั้ หากเป็นชนบทที่หา่ งไกล มีการสอน การใชผ้ า้ ถุงและอาบนำ้ ตุ่มกลางแจ้งอกี ด้วย เนื่องจากสังคมวัฒนธรรมที่แตกต่าง สิ่งเหล่านี้เองที่กิจกรรมโฮมสเตย์นำมาเป็นจุดขายหลัก ดังนั้นการทำกิจกรรมโฮมสเตย์ที่ประทับใจ ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของตนเองเพื่อการ ท่องเท่ยี ว แต่เราเพียงแสดงใหเ้ ห็นถึงจุดยืนในวถิ ชี วี ติ ของตนท่ชีัดเจนเทา่ นนั้ 2. กิจกรรมในชุมชน/สภาพแวดล้อมชุมชน กจิ กรรมในชุมชนหรือสภาพแวดล้อมในชุมชน เปน็ส่งิ ดงึ ดูดใจอกี ประการหน่งึ ของนักทอ่ งเท่ยี ว โดยเจา้ บ้านแนะนำนักท่องเท่ยี วใหร้ ว่ มกิจกรรมกับชุมชน หรือ แนะนำวถิ ชี วี ติ อื่นในชุมชนท่นี า่ สนใจ เช่น  เดนิ เลน่ /ข่จีักรยานชมหมู่บา้ นหรือชุมชน  การชมตลาดท้องถิ่น  งานประเพณที ้องถ่นิ (งานแตง่ งาน งานบวช งานทางศาสนาความเชื่อ เป็นตน้ ) และ งานประเพณีประจำปี  การศกึ ษาวถิ ีชีวติ ความเปน็อยู่  การเดนิ ทางดว้ ยการคมนาคมของชุมชน เชน่ รถทางการเกษตร (อแี ตน๋ ) รถสองแถว ตุ๊กตกุ๊ สามลอ้ เพื่อสัมผัสบรรยากาศของวัฒนธรรม เพราะ ส่งิ เหลา่ นเี้ ปน็เสนห่ ข์ อง วัฒนธรรมไทย
  • 5. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม  3. แหล่งท่องเท่ยี วใกลเ้ คยี ง การจัดกิจกรรมนำเที่ยวนอกจาก2 ข้อข้างต้นแล้ว สามารถนำแหล่งทรัพยากรทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ โบราณสถานและวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่อยู่ในเขตใกล้เคียงกับชุมชนมาเป็นส่วนหนึ่งของ กจิ กรรมได ้ โดยประเทศไทยได้แบง่ แหล่งทรัพยากรการท่องเที่ยวออกเป็น 3 ประเภท (การท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย) คือ 1. ทรัพยากรทอ่ งเที่ยวประเภทธรรมชาติ 2. ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทประวัติศาสตร์โบราณสถานและโบราณวัตถุ 3. ทรัพยากรท่องเที่ยวประเภทศิลปวัฒนธรรมประเพณี และกิจกรรม การเลือกแหล่งท่องเที่ยวต้องคำนึงถึงองค์ประกอบของทรัพยากรการท่องเที่ยว คือ สิ่งดึงดูดใจของ แหล่งท่องเท่ยี ว การเข้าถงึ แหล่งทอ่ งเที่ยว และส่งิ อำนวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว โดยเจ้าบ้าน ควรศกึ ษาขอ้ มูลเพิ่มเตมิ เพื่อท่จี ะสามารถใหค้ำแนะนำใหนั้กทอ่ งเท่ยี วได้ สำหรับแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วท่ผี นวก เป็นสว่ นของของกจิ กรรมทอ่ งเที่ยวกับโฮมสเตย์ เชน่ นำ้ พุรอ้ น นำ้ ตก ลำธาร เส้นทางเดินป่า จุดชมวิว ทิวทัศน ์ สัตวป์ ่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เชน่ ห่งิ หอ้ ยเรืองแสง ตน้ ไมท้่มี ลีักษณะพเิ ศษ เป็นตน้ 4. ระยะเวลาของนักท่องเที่ยว และ ช่วงเวลาของกิจกรรม การจัดกจิ กรรมนำเที่ยวต้องขนึ้ อยกูั่บระยะเวลาการพำนักของนักทอ่ งเท่ยี ว โดยเจา้ บา้ นตอ้ งจัด ใหยื้ดหยนุ่ และเหมาะสม รวมถึงไมยั่ดเยยี ดโปรแกรมที่แน่นจนเกินไป ระยะเวลาของแต่ละกิจกรรมดู ตามความเหมาะสม เช่น การขี่จักรยานไปจุดชมวิวของหมู่บ้านที่ระยะทาง 1 กิโลเมตร อาจใช้เวลา ประมาณ 1 ชม. เพราะไม่มีกจิ กรรมอื่น ๆ บนจุดชมววิ นนั้ ในขณะท่กี จิ กรรมการไปตลาดเพื่อซือ้ ของมา ประกอบอาหารเย็นอาจใช้เวลามากกว่ากิจกรรมอื่น เพราะเป็นกิจกรรมที่อาศัยระยะเวลาและความ ละเอียดในการสอนประกอบอาหาร นอกจากนกีิ้จกรรมใด ๆ ก็ตามต้องดูถงึ ฤดูกาลของพืน้ ท่วี า่ สามารถปฏบิัตไิ ดห้ รือไมไ่ ด ้ และ ชแี้ จงใหนั้กทอ่ งเที่ยวทราบล่วงหน้า เชน่ กจิ กรรมการเก็บผลไม้ ถา้ นักทอ่ งเท่ยี วมาในฤดูท่ไี ม่ใชช่ ว่ งที่ ผลไมอ้ อกผล ก็ต้องเปล่ยี นเป็นกิจกรรมอื่น ๆ ซ่งึ หากนักทอ่ งเท่ยี วไมท่ ราบลว่ งหนา้ เมื่อมาถงึ อาจเกดิ ความผิดหวังและเกิดปัญหาได้ในภายหลัง 5. การสร้างเรื่องราวการเรยี นรู้ ในกจิ กรรมทกุประเภทของโฮมสเตย ์ การสื่อสารดว้ ยการอธบิ ายเป็นส่งิ สำคัญ เพราะส่งิ ที่ นักท่องเท่ยี วต้องการคือ ความเปน็มา ความสำคัญของกจิ กรรมท่พี วกเขากำลังปฏบิัตยิ ู่ เสมือนมูลคา่ ทางวัฒนธรรม เจ้าบ้านควรเป็นนักอธิบายเรื่องราว นักเล่าหรือตอบข้อซักถาม เช่น การเก็บใบชา
  • 6. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ นอกจากมีการสาธิตวิธีการเก็บ ก็ควรอธิบายถึงความเป็นมาของไร่ชา การปลูกชา หรือข้อมูลต่าง ๆ ใหกั้บนักท่องเที่ยวได้ทราบ เพราะนักท่องเท่ยี วเหลา่ นมี้ าสัมผัส “ประสบการณแ์ ละบรรยากาศของวถิ ี ชวี ติ ” การนำเสนอเป็นเรื่องเลา่ ต่าง ๆ จงึ เป็นสว่ นหน่งึ ของการเรยี นรู้ อยา่ ดำเนนิ กจิ กรรมโดยไมม่ กี าร สื่อสารใด ๆ 6. ความพร้อมของนักทอ่ งเท่ยี วและศักยภาพทางรา่ งกาย นักทอ่ งเท่ยี วแตล่ ะช่วงอายุมคี วามตอ้ งการท่แี ตกตา่ งกัน เจา้ บา้ นควรศกึ ษาขอ้ มูลพนื้ ฐานถงึ ความสนใจ และสภาพของรา่ งกาย เพราะกจิ กรรมบางอยา่ งนักทอ่ งเท่ยี วบางกลมุ่ ไมส่ ามารถรว่ ม กจิ กรรมได ้ อาทิ การเดินปา่ หรือเท่ยี วนำ้ ตก หากระยะทางไกล ทางชัน หรือสภาพอากาศท่หี ายใจไดไ้ ม่ สะดวก นักทอ่ งเที่ยวสูงวัยก็ควรหลกี เล่ยี ง หรือหอ้ งนำ้ ของโฮมสเตยบ์ างแหง่ อาจไม่เหมาะสมกับ นักท่องเท่ยี วสูงอายเุนื่องจากพืน้ ท่แี คบ หรือเป็นสว้ มนั่งพืน้ ก็ควรจัดผสูู้งอายุไปอยใู่ นบา้ นท่มี พี ืน้ ที่ หอ้ งนำ้ กวา้ งเพื่อความสะดวก เป็นต้น 7. ความสะอาดและความปลอดภัย ความสะอาดของท่พีักและอาหารเป็นส่งิ ท่นีักทอ่ งเท่ยี วใหค้ วามสำคัญ ตามมาตรฐานของ โฮมสเตย์ไทยมีการกำหนดในเรื่องของการจัดการด้านความสะอาดของที่พักและความสะอาดของ ภาชนะอาหารและการประกอบอาหารไว  ซ่งึ โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ นักทอ่ งเท่ยี วจะใส่ใจในเรื่องนี้เป็นพิเศษ นอกจากความสะอาดและความปลอดภัยในการเข้าพักโฮมสเตย์แล้ว ความปลอดภัยในการทำกิจกรรม การท่องเท่ยี วอื่น ๆ กับโฮมสเตยก์็ตอ้ งดูแลดว้ ย หากนักทอ่ งเท่ยี วไปเดนิ ปา่ ในชุมชนกับชาวบา้ นทอ้ งถิ่น สถานที่ท่มี สีัตวม์ พี ิษหรือมีความเส่ยี งอันตรายก็ควรหลกี เล่ยี ง หรือ มกี ารชแี้ จงลว่ งหนา้ เพื่อการเตรียม ตัวที่เหมาะสม การเดินป่าจะต้องมีการแนะนำการแต่งกาย หรือสิ่งที่ควรระมัดระวัง โดยเฉพาะใน ฤดูกาลที่มคี วามชืน้ จะต้องมีการอุปกรณ์กันทากหรือแมลง หรือ การเดินทางชั้นความเสี่ยงในการเกิด ดินสไลด์ หรือ น้ำป่าหลากในเขตน้ำตกควรแนะนำวิธีการป้องกันตัวเป็นอย่างดี 8. สิ่งท่คี วรชแี้ จงนักท่องเท่ยี วกอ่ นเขา้ พัก /กฎ ระเบยี บ ขอ้ จำกัด การสื่อใหนั้กท่องเท่ยี วทราบถงึ ว่าโฮมสเตยท์่นีักทอ่ งเท่ยี วกำลังจะไปใชช้ วี ติ อยดู่ ว้ ยในระยะเวลา ที่กำหนดนั้นมีลักษณะอย่างไร มีพื้นฐานวัฒนธรรมวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่างไร เป็นกระบวนการที่ สำคัญมากประการหนึ่ง เนื่องจากนักทอ่ งเท่ยี วจะไดรั้บรแู้ ละทำความเขา้ ใจกอ่ นท่จี ะเขา้ มาเป็นสว่ นหน่งึ ของประสบการณ์ที่ได้รับ และจัดระดับความคาดหวังของประสบการณ์ได้เหมาะสม กล่าวคือ นักท่องเท่ยี วจะมคี วามคาดหวังในสิ่งท่จี ะไดรั้บ หากคาดหวังนอ้ ยหรืออยใู่ นระดับท่เี ทา่ กับความจรงิ ของ โฮมสเตย ์ จะไมเ่ กดิ การตำหนหิ รือความคิดแงล่ บในภายหลัง แตห่ ากไมม่ กี ารชแี้ จงแล้วนักท่องเที่ยวจะ คาดหวังไวสู้งตามประสบการณข์ องตน ซ่งึ เมื่อมาพักโฮมสเตยจ์ รงิ อาจไม่เป็นอย่างที่หวังไว้ ทำให้เกิด
  • 7. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ กรณอี ื่น ๆ ตามมา สรุปคือ อันดับแรก ทำความเขา้ ใจกับลูกคา้ กอ่ นโดยชแี้ จงถงึ บรบิ ทพืน้ ที่ วัฒนธรรม วถิ ชี วี ติ โดยการนำเสนอจุดนคี้ วรเป็นข้อเท็จจรงิ อย่าอวดอ้างสรรพคุณที่เกินจริงเพื่อป้องกันปัญหาที่ อาจเกิดขึ้นในอนาคต ถัดจากนั้น ควรจัดทำข้อปฏิบัติ/ข้อห้ามของการอยู่ร่วมกับในโฮมสเตย์ และประกาศให้ นักท่องเที่ยวทราบ เนื่องจากวัฒนธรรมที่แตกต่างอาจทำให้เกิดความไม่เข้าใจได้ โดยอาจมี รายละเอียดกิจกรรมของครอบครัว และข้อกำหนดต่าง ๆ เพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจที่ตรงกัน นอกจากนี้ ที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบทหรือโฮมสเตย์ ต้องคำนึงถึงจิตสำนึกในการการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติของนักท่องเที่ยว และผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตชุมชนด้วย หรือที่เรียกว่า “การท่องเท่ยี วอยา่ งมคี วามรับผิดชอบ(Responsible Tourism)” 9. ความสามารถในการรองรับนักทอ่ งเท่ยี ว / การจำกัดจำนวนนักทอ่ งเท่ยี ว (Carrying Capacity) ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวของพื้นที่ คือ ความสามารถของพื้นที่ที่จะรองรับการใช้ ประโยชนใ์ นชว่ งเวลาหน่งึ ๆ ได้โดยไมก่ ่อใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ทรัพยากรและประสบการณท์่นีักทอ่ งเท่ยี ว ได้รับ โดยมีการประเมินในหลายด้าน อาทิ ด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านนิเวศวิทยา เป็นต้น หากแต่ กจิ กรรมของโฮมสเตยน์ นั้ ความสามารถในการรองรับในที่นี้จะเน้นไปในด้านของความสามารถในการ รองรับดา้ นสังคม (Social Carrying Capacity) ท่เี ดน่ ชัด เนื่องจากรูปแบบของกจิ กรรมโฮมสเตยจ์ ะอาศัยวถิ ชี วี ิต ชุมชนทอ้ งถ่นิ เป็นส่วนประกอบหลักของกจิ กรรม การที่จะรับนักท่องเที่ยวเข้ามาสัมผัสประสบการณ์ เหลา่ นคี้ วรอยู่ในจำนวนที่เหมาะสมกับแต่ละพืน้ ที่ และเพื่อเป็นการไมใ่ หชุ้มชนเสื่อมโทรมหรือถูกบุกรุก จากการท่องเที่ยวมากเกินไป ควรมีการจัดการโดยการจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยว เช่น นักท่องเที่ยว โฮมสเตย์ที่พักอาศัยอยู่ในชุมชน ครั้งละไม่เกิน 15 คน ในช่วงเวลาเดียวกัน เป็นต้น ความสามารถในการรองรับด้านสังคม (Social Carrying Capacity) หมายถึง จำนวนนักท่องเที่ยว สูงสุด รูปแบบกจิ กรรมการท่องเที่ยว และการพัฒนาเพื่อรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่คนในชุมชน ท้องถิ่นยอมรับไดโ้ ดยไม่เกิดความรสูึ้กในทางลบ และไมส่ รา้ งผลกระทบหรือกอ่ ใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรมภายในชุมชนไปในทศิ ทางลบ ยกตัวอยา่ งเชน่ การเปล่ยี นแปลงคา่ นยิ มดา้ นการ บรโิ ภค การเปลี่ยนแปลงการแต่งกาย ค่าครองชีพสูงขึ้น เป็นต้น หรือจำนวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ให้ ประสบการณ์การท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ
  • 8. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม  ตัวอย่างของกิจกรรมโฮมสเตย์ท่นี ิยมจัดโปรแกรม (Homestay Activities)  การสอนทำอาหาร (Cooking Classes)  กิจกรรมการออกกำลังกาย (Exercise)  ทัวร์สวน (Plantation Tour)  กิจกรรมปีนเขาเดินป่า (Hikes & Treks)  ชมวิถีชีวิตชุมชน หรือ ชนเผ่า (Local tour/ village walks/ Hill tribe visiting)  ดูนก / ตกปลา (Bird watching / Fishing)  ทัวรค์ ลองโดยเรือท้องถ่นิ (Canal sightseeing tour)  ข่จีักรยาน (Cycling)  ร่วมงานเทศกาลประเพณีท้องถิ่น (Access to local events)  เท่ยี วชมตลาดท้องถ่นิ (Visiting local market)
  • 9. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม  ตัวอย่าง- โปรแกรมท่องเที่ยวสำหรับที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท (Home Stay) 3 วัน 2 คืน ชุมชนบ้าน................................................................................................................................................. เกริ่นนำถึงชุมชน เนน้ การนำเสนออัตลักษณ์ ความโดดเด่น ของชุมชนให้นักท่องเที่ยวทราบอย่างย่อ ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ข้อกำหนดวัฒนธรรม (Cultural Conditions) 1………………………………………………………………………. 2………………………………………………………………………. 3………………………………………………………………………. แนวคิดของโปรแกรม (Cultural Theme) A Country Retreat : หลบหนีความวุ่นวายกับมุมมองชีวิตที่แตกต่าง “...................................................................................................................................” ราคา/ ค่าใช้จ่าย .............................................................. โปรแกรม/กำหนดการ วันที่ 1 บ่าย เดินทางถึง ณ หมู่บ้าน............................ เข้าที่พักโฮมเสตย์  นำชมบ้านพักและแนะนำสมาชิกในบ้าน พักผ่อนตามอัธยาศัย  ข่จีักรยานชมบรรยากาศและวิถีชวี ิตชุมชน หรือ ร่วมกิจกรรม การห่อใบตอง เพื่อทำขนมท้องถิ่น ค่ำ รับประทานอาหารเย็น และร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเจ้าบ้านหรือชุมชน วันที่ 2 เช้า ทำบุญใส่บาตรตามวิถีของชาวพุทธ เยี่ยมชมวัดในชุมชน และร่วมรับประทานอาหารเช้า ท้องถ่นิ กิจกรรมกับครอบครัว (ขึ้นอยู่กับช่วงเวลา) : สามารถเลือกเลือกกิจกรรมได้  กิจกรรมสานหมวก  เก็บใบชา / ใบเหมี่ยง  กิจกรรมการทำธูปจากสมุนไพร  การทำกล้วยทอด  เดินป่าศึกษาธรรมชาติ  ............................................ กิจกรรมไม่ควรจัดแบบตารางตายตัว ต้องสามารถยืดหยุ่น ได้ เนื่องจากนักท่องเที่ยวไม่ได้ซื้อโปรแกรมมาเพื่อเที่ยว อย่างเดียว แต่ต้องการสัมผัสวัฒนธรรม/การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์และการเรียนรู้
  • 10. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม  เที่ยง รับประทานอาหารกลางวัน บ่าย ชมตลาดท้องถิ่น เรียนรู้การซื้อของเพื่อประกอบอาหารไทย เรียนรู้วิธีการประกอบอาหารไทย/อาหารท้องถิ่นกับเจ้าบ้าน เย็น รับประทานอาหารที่ประกอบเอง และร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนกับเจ้าของบ้าน วันที่ 3 เช้า ขี่จักรยานไปชมพระอาทิตย์ ณ จุดชมวิว ........................................................................................................................... ............................................................................................................................. เที่ยง ล่ำลาชุมชน และเดินทางกลับเชียงใหม่ด้วยรถสองแถว หรือ รถโดยสารชุมชน ลักษณะกิจกรรมในโปรแกรม กิจกรรมสานหมวก ................................................................................................................................ .................................................................................................................................. เก็บใบชา / ใบเหม่ยี ง ................................................................................................................................... .................................................................................................................................... กิจกรรมการทำธูปจากสมุนไพร ........................................................................................................................... .................................................................................................................................... การทำกล้วยทอด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... เรียนรู้การคั่วเมล็ดกาแฟ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... เดินป่าศึกษาธรรมชาติ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... คำช้แี จง  กจิ กรรมอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะลมและขึ้นอยู่กับชว่ งฤดูกาล ควรสอบถามอีกครั้ง  พื้นที่ชุมชนอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ นักท่องเที่ยวต้องชำระค่าใช้จ่ายค่าเข้าอุทยาน  นักท่องเที่ยวต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของชุมชน และ ยอมรับในวัฒนธรรมของชุมชนที่แตกต่าง  ไฟฟ้าจะหยุดทำการตั้งแต่ 21.30-05.00 น.  ราคาค่าใช้จ่ายนี้ รวมค่าที่พัก 1 คืน อาหาร 3 มื้อ และกิจกรรมตามที่ระบุ  ……………………………………………………………………….. ส่งิ ท่ตี้องเตรยี มมากับการเข้าพักโฮมสเตย์  สเปรย์กันยุงหรือ สเปรย์กันทาก (สำหรับเดินป่า)  มีแมลงท้องถิ่นที่อาจกัดหรือเป็นอันตราย เช่น คุ่น ควรใส่เสื้อผ้าที่มิดชิด  อุปกรณ์การอาบนํ้า -อธิบายลักษณะของกิจกรรม -ข้อจำกัด เช่น เดินป่า 3 กม. ใช้ เวลา 2 ชม. เป็นทางชัน ไม่ เหมาะสมกับผู้สูงอายุ หรือ ในฤดู ฝนงดเว้นกิจกรรมนี้ เนื่องจากทาง ลื่นไม่สามารถเดินได้ / ธูปทำงาน จากสมุนไพร....อาจมีกลิ่นฉุนทำ ให้ปวดศีรษะสำหรับบางคน เป็น ต้น
  • 11. Stay) รุ่นที่ 2 (25-27 มิถุนายน 2555) โดยสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม   ยารักษาโรคประจำตัว  เสื้อกันฝน (ในช่วงเดือน มิถุนายน – ตุลาคม)  ………………………………………………………………………………………… _______________________________________________________________________________________________________________________________ บรรณานุกรม กรมการทอ่ งเท่ยี ว กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า, มาตรฐานโฮมสเตยไ์ทย พ.ศ.2551, แหล่งที่มา (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: //123.242.133.66/tourism/th/home/standard_detail.php?id=28 (20 มิถุนายน 2555) มานิศา ผิวจันทร์ (2552), เอกสารประกอบการสอนการจัดการธุรกิจนำเที่ยว. สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่และคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2555), โครงการย่อยการจัด โปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน ภายใต้โครงการพัฒนาต้นแบบชุมชนท่องเที่ยว เชงิ สุขภาพเครือข่ายกลุ่มภาคเหนือตอนบน 1 (เชียงใหม/่ลำพูน/ลำปาง/แมฮ่่องสอน) (อยู่ระหว่าง การดำเนินโครงการ) เอกสารงานวิจัยแนวคิดการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์. แหล่งที่มา (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก: dataverse.dvn.utcc.ac.th/dvn/FileDownload/?fileId=1726167 (21 มิถุนายน 2555) Burkart & Medlink (1981). Tourism: Past, Present and Future. 2 nd. Ed Oxford: Butterworth-Hienemann.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด