กระบวนการพ ฒนา ผ เร ยนท ม ความแตกต างระหว างบ คคล

Page 48 - การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับผู้นำทางการศึกษา

  1. 48

` 1-38 การพัฒนาทักษะและประสบการณ์วิชาชีพสำ�หรับผู้นำ�ทางการศึกษา

  1. สถาน​ศึกษา​มี​การนำ�​เทคโนโลยี​มา​ใช้​เป็น​สื่อ​ใน​การ​จัด​ประสบ​การ​เรียน​รู้​ให้​แก่​ผู้​เรียน​มาก​ขึ้น ประเด็น​สำ�คัญ​ใน​การนำ�​เทคโนโลยี​มา​ใช้​ก็​คือ​ต้อง​นำ�​มา​ใช้​ให้​นักเรียน​มี​ความ​เข้าใจ​เนื้อหา​อย่าง​ถ่องแท้ มิใช่​ เพียง​แต่​หา​ข้อมูล​เพียง​ผ่านๆ และ​ต้อง​ระวัง​มิ​ให้​เกิด​การ​วัด​ประเมิน​ผล​ที่​จะ​ทำ�ให้​นักเรียน​ที่​มีฐ​ านะ​ดี​พอที่​จะ​ มีส​ ื่อเ​ทคโนโลยีเ​รียนร​ ู้เ​องท​ ี่บ​ ้านไ​ด้เ​ปรียบน​ ักเรียนท​ ี่ไ​ม่มีส​ ื่อเ​ทคโนโลยีเ​หล่าน​ ั้น (Davies and Ellison, 2003: 18)
  2. การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​สถาน​ศึกษา​จะ​เปลี่ยนแปลง​ไป โดย​จะ​ต้อง​จัดการ​ศึกษา​ให้​ทั้ง​เด็ก​วัย​เรียน และ​ผู้ใหญ่
  3. ความเ​ข้าใจใ​นค​ ำ�​ว่าการเ​รียนร​ ู้ ที่ม​ ผี​ ลม​ าจ​ ากค​ วามเ​ข้าใจใ​นร​ ะบบก​ ารท​ ำ�งานข​ องส​ มองม​ ากข​ ึ้น นำ�​ ไป​สู่ก​ าร​ออกแบบ​การจ​ ัดการ​เรียน​รู้ท​ ี่ส​ อดคล้องก​ ับผ​ ู้​เรียน​แต่ละบ​ ุคคล​มากข​ ึ้น (Davies and Ellison, 2003 : 21)
  4. บทบาทข​ องค​ รร​ู วมไ​ปถ​ งึ ท​ กั ษะแ​ ละส​ มรรถนะท​ ีจ​่ �ำ เป็นจ​ ะเ​ปลีย่ นไ​ป แมว้ า่ ค​ วามช​ �ำ นาญเ​ฉพาะว​ ชิ า​

    ยัง​เป็นส​ มรรถนะท​ ี่ส​ ำ�คัญอ​ ยู่ ทักษะอ​ ื่นๆ จะส​ ำ�คัญม​ าก​ขึ้น เช่น ทักษะ​ใน​การเ​ข้า​ถึง​ข้อมูล ทักษะ​การจ​ ูงใจ​ให​้ นกั เรยี นท​ �ำ งานเ​ปน็ กล​ ุม่ ทกั ษะท​ จี​่ ะก​ ระตุน้ ใ​หน​้ กั เรยี นร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบใ​นง​ านข​ องต​ วั เ​อง เปน็ ตน้ ลกั ษณะก​ ารจ​ ดั การ​ ทมี ง​ านใ​นส​ ถานศ​ กึ ษาก​ จ​็ ะเ​ปน็ การท​ �ำ งานร​ ว่ มก​ นั ม​ ากกวา่ ท​ จี​่ ะใ​หค​้ รท​ู �ำ งานแ​ ยกก​ นั และต​ อ้ งใ​หค​้ รพ​ู รอ้ มก​ บั ก​ าร​ เปลี่ยนแปลงแ​ ละเ​ปน็ ผ​ ู้นำ�​การพ​ ฒั นาใ​หมๆ่ โดยก​ ารม​ คี​ วามค​ ิดท​ ีย่​ ดื หยุน่ เ​พื่อป​ รบั ค​ วามค​ ดิ ส​ �ำ หรับส​ ิ่งแ​ วดล้อม​ ที่เ​ปลี่ยนแปลง​ไป เพื่อใ​ห้เ​กิดค​ วามย​ ืดหยุ่นน​ ี้ร​ ูปแ​ บบ​การ​จ้างง​ านจ​ ะม​ ีล​ ักษณะ​เป็น​สัญญา​ระยะ​สั้นโ​ดย​ไม่ต​ ้อง​ จ้าง​โดยร​ ะบบ​ราชการ​ที่ต​ ายตัว และ​งบป​ ระมาณด​ ้าน​บุคลากร​ควร​ยืดหยุ่น​เพียง​พอที่ส​ ่ง​ผลใ​ห้ส​ ถาน​ศึกษา​จ้าง​ บุคลากรต​ ามจ​ ำ�นวนน​ ักเรียนแ​ ละต​ ามค​ วามจ​ ำ�เป็นไ​ด้ รวมไ​ปถ​ ึงร​ ะบบก​ ารป​ ระเมินบ​ ุคลากรท​ ีก่​ ำ�หนดม​ าตรฐาน​ ตามค​ วามส​ ามารถท​ จี่​ ะเ​พิ่มผ​ ลก​ ารเ​รยี นร​ ขู​้ องน​ กั เรยี น และก​ ารใ​หร้​ างวลั ท​ มี ง​ านม​ ากกวา่ ใ​หร​้ างวลั ค​ รร​ู ายบ​ คุ คล (Davies and Ellison, 2003: 9-26) กล่าว​อีกน​ ัย​หนึ่ง สถาน​ศึกษาต​ ้องการอ​ ิสระม​ าก​ขึ้น เพื่อ​จัดการเ​รียน​การ​สอน​ที่​เหมาะ​สม​กับผ​ ู้​เรียน​ ที่​มี​ความต​ ้องการ​หลาก​หลาย มีค​ วามเ​ป็น​บริโภค​นิยม และม​ ี​ความ​สามารถก​ ารใ​ช้​เทคโนโลยี​สูง ผู้ส​ อน​ก็ต​ ้อง​ ปรับ​ตัว​ให้​สามารถ​สอน​ผู้​เรียนท​ ี่​มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน​ได้ ซึ่ง​ผู้นำ�​การ​ศึกษาจ​ ะ​ต้อง​สนับสนุน​การ​พัฒนา​เหล่า​นี้ และ​จะ​ต้อง​ปรับ​ทั้ง​การ​วางแผน โครงสร้าง และ​กระบวนการ​ทำ�งาน โดย​พิจารณา​ปัจจัย​ภายนอก​ดัง​ที่​กล่าว​ มา​แล้ว ด้วยก​ าร​เปลี่ยนก​ ระบวน​คิด (mindsets) ของ​คนใน​สถานศ​ ึกษาใ​ห้​เพิ่ม​ความต​ ั้งใจ​ใน​การท​ ำ�งานแ​ ละ​ มี​ส่วน​ร่วม​ในภ​ าพ​อนาคต​ของส​ ถาน​ศึกษา จาก​สถานการณ์​ของ​ประเทศไทย​ใน​ปัจจุบัน และ​แนว​โน้ม​โลก​อนาคต​ที่​ได้​นำ�​เสนอ จำ�เป็น​อย่าง​ยิ่ง​ หากก​ ารศ​ ึกษาไ​ทยจ​ ะช​ ่วยใ​ห้ป​ ระเทศไทย ดำ�รงอ​ ยู่ไ​ด้อ​ ย่างม​ ีศ​ ักดิ์ศรี ผู้เ​รียนไ​ด้ร​ ะดับม​ าตรฐานน​ านาชาติ ด้วย​ การพ​ ัฒนาอ​ ย่างเ​ร่งด​ ่วน โดย​เฉพาะด​ ้าน​ภาษา และ​ความ​เข้าใจใ​น​ระบบ​เศรษฐกิจส​ ังคมแ​ บบ​พหุ​วัฒนธรรม ที​่ ผู้คนใ​นส​ ังคมเ​ดียวกันจ​ ะม​ ี​ความแ​ ตก​ต่างด​ ้าน​วัฒนธรรม​สูง​กว่าป​ ัจจุบัน และท​ ักษะช​ ี​วิ​ตอื่นๆ ผู้คน​ใน​วงการ​ การ​ศึกษา​จะ​ต้อง​ปรับ​เปลี่ยน​กระบวน​ทัศน์ (paradigm shift) ไม่​ให้​ยึด​ติด​กับ​อำ�นาจ​ตาม​โครงสร้าง โดย​ ละเลยแ​ ก่นข​ องก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษา ได้แก่ การเ​รียนร​ ู้ข​ องผ​ ู้เ​รียน และส​ ถานศ​ ึกษาจ​ ะต​ ้องม​ องภ​ าพร​ วมข​ องร​ ะบบ​ การ​ศึกษา​ให้​ตอบ​โจทย์​การ​เป็น​พลเมือง​โลก​ของ​นักเรียน​ให้​ได้ โดย​การ​คิด​ไกล แต่​ปฏิบัติ​ได้​จริง​ใน​ท้อง​ถิ่น

    `

การบริหารงานวชิ าการ : การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้

เสนอ รศ.ดร.รุง่ ชัชดาพร เวหะชาติ

รายวิชา 0302521 การบริหารงานวชิ าการ สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ

การบรหิ ารงานวชิ าการ : การพัฒนากระบวนการเรียนรู้

เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ

นางสาวสรุ ิษา จดั ทำโดย นายรสุ ลนั แกว้ วิเศษ รหัสนสิ ติ 621997043 นายหะสัน เจะ๊ อารง รหสั นิสิต 621997057 กาเหย็ม รหสั นสิ ิต 621997064

นิสติ สาขาการบริหารการศึกษา กลมุ่ S601 ปกี ารศกึ ษา 2562

รายงานนเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวชิ า 0302521 การบรหิ ารงานวชิ าการ หลกั สตู รการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ

คำนำ

รายงานเรื่องการบริหารงานวิชาการ : การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการ ศึกษา รายวิชา 0302521 การบริหารงานวิชาการ คณะผูจ้ ดั ทำได้มีการสืบค้นข้อมูลและรวบรวมเน้ือหา โดยมี วตั ถุประสงค์เพอ่ื การศึกษาความรู้เก่ยี วกับความหมาย ความสำคญั หลักการ และขอบขา่ ยของการบรหิ ารงาน วชิ าการ ซึ่งจะเน้นไปทขี่ อบข่ายเร่อื งการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ และการจัดกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รียน เปน็ สำคญั ตลอดจนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

คณะผูจ้ ัดทำหวงั เป็นอย่างย่ิงว่ารายงานเล่มน้ีจะให้ความร้แู ละเป็นประโยชน์ตอ่ ผ้อู า่ นทุก ๆ ท่านที่ สนใจในการศกึ ษาการบริหารงานวชิ าการเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพอื่ นำไปใช้เป็นแนวทา งใน การศึกษาและปฏิบัตงิ านต่อไป

คณะผ้จู ัดทำ

สารบัญ ข

เร่ือง หน้า คำนำ ก สารบญั ข การบริหารงานวชิ าการ 1 1 ความหมายของการบริหารงานวิชาการ 2 ความสำคญั ของการบรหิ ารงานวชิ าการ 3 หลักการบริหารงานวิชาการ 5 ขอบขา่ ยของการบรหิ ารงานวิชาการ 6 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 7 ความหมายของการพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ 11 ความสำคัญของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 12 แนวคิดการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 15 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั 15 ความหมายของการจัดกระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั 16 แนวคดิ การจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ 18 หลักการจดั การเรียนรทู้ ีเ่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ 19 บทบาทของผบู้ ริหารในการจดั การเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั 19 การจดั การเรยี นรู้สำหรับครใู นศตวรรษที่ 21 19 แนวคดิ การจัดการเรียนร้สู ำหรบั ครใู นศตวรรษท่ี 21 21 การจดั การเรียนรสู้ ำหรบั ครูในศตวรรษท่ี 21 31 บรรณานกุ รม

1

การบริหารงานวิชาการ : การพฒั นากระบวนการเรียนรู้

งานวิชาการเป็นงานหลัก หรือเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มุ่งให้กระจายอำนาจในการบริหารจัดการไปให้ สถานศึกษาให้มากที่สุด ด้วยเจตนารมณ์ที่จะให้สถานศึกษาดำเนินการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้เสียทุก ฝ่าย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญทำให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารและการจัดการ สามารถพัฒนา หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผลและประเมินผล รวมทั้งการวัดปัจจัยเกื้อหนุนการพัฒนา คุณภาพนักเรยี น ชุมชน ทอ้ งถ่ินไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพและมีประสิทธิภาพ

การบรหิ ารงานวิชาการ

1. ความหมายของการบรหิ ารงานวิชาการ นกั วชิ าการและนกั การศกึ ษาหลายท่านไดใ้ ห้ความหมายของการบริหารงานวิชาการ ดังนี้ สุธินี แซ่ซิน (2561) ได้ให้ความหมายของการบริหารงานวชิ าการวา่ เป็นกระบวนการบรหิ ารงานหรือ การดำเนินงานกิจกรรมทุกอย่างในสถานศึกษา เพื่อพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เกิด ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลสงู สดุ โดยบรรลุตามวัตถุประสงค์ทก่ี ำหนด และเกดิ ประโยชนส์ ูงสุดกับผู้เรยี น ให้ ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และสามารถดำรงชีวิตอยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข พิมพร พ่ออามาตย์ (2560) กล่าววา่ การบริหารงานวชิ าการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทกุ ชนดิ ใน สถานศึกษา เป็นหัวใจสำคัญของสถานศึกษา เนื่องจากสถานศึกษาต้องพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้ เกิดประสทิ ธภิ าพ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่งึ จะเกี่ยวข้องกับการดำเนนิ งานท้งั หมด หากสถานศึกษา ใดดำเนนิ งานด้านการบริหารงานวิชาการมีคณุ ภาพ จะสง่ ผลใหส้ ถานศึกษาน้ันมีมาตรฐานและคณุ ภาพ ในทาง ตรงกันขา้ มหากสถานศึกษาใด มคี วามลม้ เหลวในการบรหิ ารงานวิชาการ สถานศึกษาน้ันก็จะไม่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ดังนั้นงานด้านบริหารงานวิชาการจึงเปน็ สงิ่ สำคญั ในการบรหิ ารงานในสถานศึกษา ดวงเดือน แก้วฝ่าย (2558) ได้กล่าวว่า การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การดำเนินงานในขอบข่าย ภารกิจทุกอย่างของผู้บริหารโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับกิจการปรับปรุงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ดี บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน พัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม โดยผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกฝ่าย ต้องร่วมมอื กัน มูนา จารง (2560) ไดส้ รุปความหมายของการบริหารงานวิชาการว่า เปน็ กระบวนการดำเนินงานของ บุคลากรในสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความรู้ ทักษะ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการกำหนดนโยบาย

2

การวางแผน ปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนให้ดีขึ้น ให้ ผูเ้ รยี นมคี ณุ ภาพตามที่สถานศกึ ษาและหลกั สูตรแกนกลางไดก้ ำหนดไว้

Sergiovanni and other (2004) กล่าววา่ การบริหารงานวชิ าการ เปน็ การกำหนดปรัชญาการศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ การจัดหาหลักสูตรการเรียนการสอน การ ประเมนิ ผลการเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร การจดั ทำโครงการต่าง ๆ และการสร้างบรรยากาศในสถานศกึ ษา

Fry, Ketteridge and Marshall (2009) ได้ให้ความหมายของการบริหารงานวิชาการ หมายถึง การ ดำเนินกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขการเรียนการสอนของ นักเรียนให้ได้ผลดี มีประสิทธิภาพมากที่สุด ประกอบด้วยงานหลายอยา่ ง เช่น หลักสูตร การจัดแผนการเรียน องคป์ ระกอบด้านการบริหารจดั การสถานศกึ ษา

สรุปได้ว่า การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทุกชนิดของผู้บริหารสถานศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้บริหารต้องเป็นผู้นำในการบริหารร่วมกับครู และบุคลากรที่เกีย่ วข้องในการให้คำปรึกษา แนะนำและประสานงานด้านหลักสตู ร การนำหลักสูตรไปใช้ งาน การเรียนการสอน งานด้านวัสดุ อุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอน งานวัดผลและประเมินผล งานห้องสมุด งานนิเทศภายใน และงานประชุม อบรมทางวิชาการ เพื่อส่งเสริม ปรับปรุง และพัฒนาการเรียนการสอนให้ ผเู้ รยี นได้รบั การพฒั นาในทุก ๆ ด้านอยา่ งเต็มศกั ยภาพ

2. ความสำคญั ของการบริหารงานวิชาการ งานวิชาการถือเป็นหัวใจสำคัญของการบริหารการศึกษา เพราะการจัดการศึกษาให้มีมาตรฐานและ คุณภาพ ล้วนขึ้นอยู่กับงานวิชาการท้ังสิ้น เนื่องจากงานวิชาการจะเกีย่ วข้องกับหลักสูตร การจัดการเรียนการ สอน การพฒั นาสตปิ ัญญา ความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยใหผ้ ูเ้ รียนสามารถแสวงหาความรู้ ก้าวทันโลก สามารถปรับตัวอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมนี กั การศกึ ษา นกั วชิ าการหลายทา่ นได้ใหค้ วามสำคญั ของการบรหิ ารงานวชิ าการไว้ ดงั น้ี ภูรติ า เพอื่ วิทยา (2561) กลา่ วา่ การบรหิ ารงานวิชาการนับว่าเป็นงานทสี่ ำคัญของโรงเรียนเป็นหน้าที่ หลักของโรงเรียนทจ่ี ะต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรก เพราะเป็นหวั ใจของการบริหารโรงเรยี น ผู้บริหารต้อง สนใจและเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี ที่จะสรา้ งผู้เรียนใหม้ คี ณุ ภาพ มีความรู้ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมีคณุ สมบัติตามท่ี หลกั สูตรกำหนด เพื่อนำไปใชใ้ นการดำรงชวี ติ ในสงั คมต่อไปไดเ้ ปน็ อย่างดี ธัญญลักษณ์ ผาภูมิ (2559) ได้สรุปว่า การบริหารงานวิชาการถือเป็นงานหลักของสถานศึกษาที่บอก ถึงมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา เป็นเครื่องบ่งชี้ความเจริญก้าวหน้าของสถานศึกษา ซึ่งบ่งบอกถึง ประสิทธภิ าพการจัดการศึกษาแกผ่ ู้เรียนทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทง้ั เป็นงานท่ีเกี่ยวกับผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรทุกระดบั ในสถานศึกษาโดยตรง

3

วิมล เดชะ (2559) ได้ให้ความสำคัญของงานวิชาการว่า เป็นงานที่มีความสำคัญมากท่ีสุด ผู้บริหาร ต้องใหค้ วามสำคัญเป็นลำดบั แรก ต้องมกี ารสนับสนุน ส่งเสริม และติดตามการทำงานของผเู้ กีย่ วข้อง ไดแ้ ก่ ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ผ้บู ริหารจำเปน็ ต้องบริหารงานวิชาการร่วมกบั ครูให้เกดิ คุณภาพและผลประโยชน์ ต่อผู้เรียน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนตรงตามเป้าหมายของหลักสตู รสถานศึกษาและมปี ระสิทธภิ าพ

กระทรวงศึกษาธิการ (2546) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการบริหารงานวิชาการว่า งานวิชาการเป็น งานหลัก หรือเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มุ่งให้กระจายอำนาจในการบริหารจัดการไปให้สถานศึกษาให้มากทีส่ ุด โดยมี วตั ถุประสงคเ์ กี่ยวกบั งานวิชาการ ดังนี้

1. เพื่อให้สถานศึกษาบริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และสอดคล้องกับ ความต้องการของนกั เรียน สถานศึกษา ชมุ ชน และทอ้ งถิ่น

2. เพื่อให้การบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษาได้มาตรฐานและมีคุณภาพสอดคล้อง กับระบบประกันคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อพัฒนาตนเอง และการประเมินจาก หนว่ ยงานภายนอก

3. เพื่อให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนจัดปัจจัยเกื้อหนุนการ พัฒนาการเรียนรู้ที่สนองตามความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และท้องถิ่น โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญได้อย่างมี คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ

4. เพื่อให้สถานศึกษาได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และของบคุ คล ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงานและสถาบันอ่ืน ๆ อยา่ งกวา้ งขวาง

3. หลกั การบริหารงานวชิ าการ การบริหารงานวิชาการ เป็นหัวใจสำคัญของการบริหารสถานศึกษา งานอื่น ๆ มีความสำคัญใน ลักษณะสนับสนุนงานวิชาการให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ในการบริหารงานวิชาการ ผู้บริหาร จำเป็นจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการในการบรหิ ารงานวชิ าการ เพื่อปฏิบัติไปสู่ความสำเร็จ ใน การบริหารงานวิชาการจำเปน็ ตอ้ งมหี ลกั การทส่ี ำคัญ ๆ ดงั น้ี พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ได้บัญญัติใน มาตรา 39 วรรค 2 กำหนดให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาดำเนินการกระจาย อำนาจการบริหารและการจดั การศึกษา ให้คำนึงถงึ หลักการ ดังตอ่ ไปน้ี

1. ความพร้อมและความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และสถานศึกษาทจ่ี ะสามารถรบั ผดิ ชอบดำเนนิ การตามขดี ความสามารถได้อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ

4

2. ความสอดคล้องกับกฎหมาย กฎระเบยี บ ประกาศ หรือมตคิ ณะรัฐมนตรีทเ่ี ก่ียวข้องกับเรื่องที่ จะกระจายอำนาจ

3. ความเปน็ เอกภาพด้านมาตรฐานและนโยบายด้านการศึกษา 4. ความเป็นอสิ ระและความคลอ่ งตัวในการบรหิ ารและการจัดการศึกษา 5. มุ่งเน้นการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนและผู้มสี ่วนไดเ้ สียในพ้ืนท่ี 6. มุ่งให้เกิดผลสำเร็จแก่สถานศึกษาโดยเน้นการกระจายอำนาจให้แก่สถานศึกษาให้มากที่สุด เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษานนั้ มคี วามเข้มแขง็ และความคล่องตัว 7. เพิม่ คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพให้แกส่ ถานศึกษา 8. เพอ่ื ให้ผูม้ หี น้าที่รบั ผิดชอบในการดำเนินการเป็นผตู้ ัดสนิ ใจในเร่อื งนนั้ ๆ โดยตรง รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ (2556) ได้กล่าวถงึ หลกั การบริหารงานวิชาการ ดงั นี้ 1. หลักการพัฒนาคุณภาพ (Quality Management) เป็นการบริหารเพื่อนำไปสู่ความเป็นเลิศ ทางวชิ าการ องคป์ ระกอบการของคุณภาพท่เี ป็นตวั ชวี้ ดั คอื ผลผลติ และกระบวนการ เปน็ ปัจจยั สำคัญทีท่ ำให้ บุคคลและผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ พัฒนาศักยภาพเป็นที่ยอมรับของสังคมในระดับสากลมากขึ้น โดย อาศัยกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา ได้แก่ การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการ ประเมนิ ผล 2. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) การปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการบริหารได้พัฒนา อย่างตอ่ เน่ือง สมำ่ เสมอ โดยหลักการมีส่วนร่วม การเสนอแนะ และการพฒั นาในงานวชิ าการ ต้องอาศัยความ ร่วมมือจากหลายฝ่าย จึงอาจดำเนินงานในรูปของคณะกรรมการวิชาการ โดยมีเป้าหมายนำไปสู่การพัฒนา คณุ ภาพได้มากขึ้น การมีส่วนรว่ มตอ้ งเร่มิ จากการร่วมคดิ ร่วมทำ และร่วมประเมินผล 3. หลกั การ 3 องคป์ ระกอบ (3-Es) ได้แก่ ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล ประหยดั

3.1 หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไว้เป็นไปตาม ข้ันตอน และกระบวนการ มีปัญหาและอุปสรรคขณะดำเนินการ สามารถปรับปรุงแกไ้ ขได้ การมีประสิทธิภาพ เนน้ กระบวนการ (Process) การใชก้ ลยุทธ์ และเทคนคิ วิธีการตา่ ง ๆ ทที่ ำใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์มากที่สุด

3.2 หลักการประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลผลิต (Outcome) ตามวัตถุประสงค์ ท่ีกำหนดไว้ ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะเพิ่มขึ้น รวมทั้งการคำนึงถึง ผลประโยชน์ที่ไดร้ บั

3.3 หลักการประหยัด (Economy) หมายถึง การใช้เวลาน้อย การลงทุนน้อย การใช้กำลัง หรือแรงงานน้อย โดยไม่ต้องเพิ่มทรัพยากรบริหาร แต่ได้ผลผลิตตามที่คาดหวัง ดังนั้น การลงทุนทางวิชาการ จงึ คำนงึ ถงึ หลกั การความประหยัด

5

4. หลักความเป็นวิชาการ (Academics) หมายถึง ลักษณะที่ควบคุมเนื้อหาสาระของวิชาการ ได้แก่ หลักการพัฒนาหลักสูตร หลักการเรียนการสอน หลักการวัดผลประเมินผล หลักการเทคนิคการศึกษา และหลักการวิจัย หลกั การเหล่าน้เี ปน็ องคป์ ระกอบทีส่ ำคญั ท่ีก่อให้เกิดการเปลย่ี นแปลงและสร้างสรรค์

ปรียาพร วงศอ์ นตุ รโรจน์ (2555) ไดก้ ลา่ วถึง หลักการบรหิ ารงานวชิ าการไว้ ดงั นี้ 1. หลกั แห่งประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถงึ การไดม้ ีผลผลติ เพิม่ ขนึ้ โดยไม่เพิ่มการลงทนุ นั่น

คือ นักเรียน สามารถสำเร็จการศึกษาตามกำหนดของหลักสูตร โดยไม่ลาออกกลางคัน เรียนเกินเวลาและช้า เกินกำหนด

2. หลักแห่งประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลผลิตได้ตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ นั่นคือ นักเรยี น มีคุณภาพตามจดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร มคี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะ คณุ ภาพ และการจดั การได้

สรุปได้วา่ หลักการบริหารงานวชิ าการ ผบู้ ริหารโรงเรยี น ครูผู้สอน และบคุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ งจำเปน็ ต้อง มีความรู้ ความเข้าใจในหน้าที่ของการบริหารงานวิชาการ เพื่อพัฒนาคุณภาพของการศึกษาอันเป็นเป้าหมาย สูงสุดของภารกิจของสถานศึกษา ต้องคำนึงถึงการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ นำไปสู่คุณภาพที่คาดหวัง คำนึงถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการศึกษาโดยให้บุคลากรทุกฝ่ายมีความรับผิดชอบร่วมกัน ทำให้ผลผลิตมี คุณภาพ คำนึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความประหยัด ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงหลักการที่ได้กำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติและกฎกระทรวงทีเ่ กี่ยวข้อง

4. ขอบขา่ ยของการบรหิ ารงานวิชาการ งานวิชาการมขี อบข่ายครอบคลุมเกี่ยวกับงานทางวชิ าการในด้านการเรยี นการสอนต้งั แต่ การวางแผน เกี่ยวกับงานวิชาการ เพือ่ ดำเนนิ การเก่ยี วกับการเรียนการสอน การจัดบริการ การผลิตส่ือการสอน การวดั และ ประเมินผล รวมทั้งติดตามผล ตลอดจนการดำเนินกิจการของโรงเรียนต้องเป็นไปตามหลักสูตร จะเห็นได้ว่า งานวิชาการเป็นงานที่มีขอบข่ายครอบคลุมหลายด้าน เพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพแก่ผู้เรียนทุก ดา้ น ซง่ึ มีนักการศกึ ษา นักวชิ าการหลายทา่ นได้กำหนดขอบขา่ ยของการบรหิ ารงานวิชาการไว้ ดงั นี้ กระทรวงศึกษาธิการ (2550) ได้บัญญัติในราชกิจจานุเบกษา เรื่อง กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ด้านการบริหารงานวิชาการไว้ 17 ภาระหนา้ ท่ี ดังน้ี

1. การพัฒนาหรอื การดำเนินการเกย่ี วกับการใหค้ วามเหน็ การพัฒนาสาระหลักสูตรทอ้ งถิ่น 2. การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ 3. การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา 4. การพฒั นาหลกั สตู รของสถานศกึ ษา 5. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ 6. การวดั ผลและประเมินผล และดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี น 7. การวจิ ัยเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศึกษา

6

8. การพัฒนาและสง่ เสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรียนรู้ 9. การนเิ ทศการศกึ ษา 10. การแนะแนว 11. การพฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา 12. การส่งเสรมิ ชุมชนให้มคี วามเข้มแขง็ ทางวชิ าการ 13. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษา และองค์กรอื่น 14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรหน่วยงาน สถาน ประกอบการและสถาบนั อนื่ ท่ีจัดการศึกษา 15. การจดั ทำระเบยี บและแนวปฏิบัติเก่ยี วกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา 16. การคดั เลอื กหนังสือแบบเรียนเพอื่ ใช้ในสถานศึกษา 17. การพัฒนาและใช้ส่อื เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2552) ได้กำหนดขอบข่ายและภารกิจของการบริหาร และจัดการสถานศึกษาเก่ยี วกับงานบรหิ ารวิชาการไว้ 12 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3. การวัดผล ประเมนิ ผลและเทียบโอนผลการเรียน 4. การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 5. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา 6. การพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ 7. การนเิ ทศการศกึ ษา 8. การแนะแนวการศกึ ษา 9. การพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 10. การส่งเสรมิ ความร้ดู า้ นวิชาการแก่ชมุ ชน 11. การประสานความร่วมมอื ในการพฒั นาวิชาการกับสถานศึกษาอ่ืน 12. การส่งเสรมิ และสนบั สนนุ งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงานและสถาบันอ่ืน ทจี่ ัดการศึกษา

การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้

การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่สำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ทุกคน เนื่องด้วยการเรียนรู้ทำให้ มนุษย์ได้รับประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข การ เรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งภายนอกและภายในระบบโรงเรียน เป็นกิจกรรมและกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่าง

7

ต่อเนอื่ ง และครอบคลุมช่วงเวลายาวนานตลอดชวี ิตของบคุ คลทุกเพศทุกวัย การเรียนรูท้ ไี่ ด้รับของผู้เรียนในแต่ ละคนมคี วามแตกต่างกัน เน่ืองจากผเู้ รยี นแตล่ ะคนก็มปี ระสบการณ์การเรียนรู้และความสามารถท่ีแตกต่างกัน การเรียนรู้โดยการปฏิบัติจริง จะทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ และความรู้จะฝังแน่นอยู่ ในสมองของผเู้ รียนเปน็ การสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ท่ถี ูกต้องและมีประสิทธิภาพ

1. ความหมายของการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เปน็ ข้ันตอนท่สี ำคญั ที่สุดของการจดั การศึกษา เพราะการเรียนรู้เป็นส่ิง ท่ีเดก็ จะได้รบั การพัฒนาตามกิจกรรมการเรยี นการสอน เกดิ ขน้ึ จากการทำงานรว่ มกันภายในกลุ่มในห้องเรียน จากการแนะนำของครู การเรียนรู้ของเด็กจะสัมฤทธิ์ผลตามการสอนได้เหมาะสมเพียงใดนั้น มีนักการศึกษา หลายทา่ นได้กล่าวถงึ กระบวนการเรียนรู้ไว้ดังน้ี พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กล่าวถึงแนวการจดั การศกึ ษาในมาตรา 22 ว่า การ จัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญทีส่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพและได้ กำหนดไว้ในมาตรา 24 ว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานเกี่ยวข้องดำเนินการ ดงั ต่อไปนี้

1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียนโดย คำนึงถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล

2. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้ใช้เพ่ือ ป้องกนั และแก้ไขปญั หา

3. จดั กิจกรรมใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้จากประสบการณ์จรงิ ฝึกการปฏบิ ตั ใิ หท้ ำได้ คิดเป็น ทำเปน็ รัก การอา่ น และเกดิ การใฝ่รู้อยา่ งต่อเน่ือง

4. จัดการเรียนการสอน โดยการผสมผสานความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกันรวมทั้ง การปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ดี ีงาม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ์ ว้ในทุกวิชา

5. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวย ความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจได้เรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ

6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝา่ ยเพอ่ื ร่วมกนั พฒั นาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2550) ได้สรุปถึง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกบั การจดั กระบวนการเรียนรทู้ ่ผี เู้ รียนสำคญั ท่ีสุด ซึง่ ผสู้ อนตอ้ งคำนงึ ถงึ ประเดน็ สำคัญ ดังน้ี

8

1. สมองของมนษุ ยม์ ศี ักยภาพในการเรียนรูส้ งู สดุ สมองของมนษุ ย์ มีความพรอ้ มทจ่ี ะเรียนรู้ต้ังแต่ แรกเกิดมีความต้องการที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ ให้บรรลุอะไรก็ได้ มนุษย์ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับตนเอง ธรรมชาติและสง่ิ รอบตวั

2. มนุษย์สามารถเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ ต้องอาศัยสมองและระบบประสาทสัมผัส ซึ่งเป็นพื้นฐาน ของการรบั รู้ โดยรับความรู้สกึ จากอวยั วะรับความร้สู กึ คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ

3. กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพผู้สอนจะต้องสนใจและให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสัมพันธ์ ระหวา่ งสมอง (head) จติ ใจ (heart) มอื (hand) และสุขภาพองค์รวม (health)

4. การจัดกระบวนการเรียนรู้ควรจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมศักยภาพความเก่ง ความสามารถของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลเพ่ือใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นา เต็มตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล

5. จดั การเรียนรู้ใหผ้ ้เู รยี นมีประสบการณ์ตรง 6. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้สอดคล้องกบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ให้ผูเ้ รียนได้พัฒนา เตม็ ตามความสามารถทง้ั ด้านความสามารถด้านความรู้ จิตใจ อารมณ์ และทักษะตา่ ง ๆ 7. ผู้สอนควรลดการถ่ายทอดเนื้อหาวชิ า ใหผ้ ูเ้ รียนกับผสู้ อนมบี ทบาทร่วมกนั ใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนจากสถานการณ์จริงที่เป็นประโยชน์และสัมพันธ์กับชีวิต จรงิ เรยี นรู้ความจริงในตวั เองและความจรงิ ในสงิ่ แวดลอ้ มจากแหล่งเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย 8. กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรูอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพโดยการทดลองปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง 9. ครูผู้สอนควรทำหน้าที่เตรียมการจัดสิ่งเร้า ให้คำปรึกษา วางแนวทางจัดกิจกรรมและ ประเมนิ ผล สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (2556) ได้กลา่ วถึง การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผเู้ รียนโดยคำนึงถึง ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล 2. ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพอ่ื ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหา 3. จัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏบิ ตั ใิ ห้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักการ อ่าน และเกิดการใฝ่ร้อู ย่างต่อเน่ือง 4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลูกฝังคณุ ธรรม ค่านยิ มที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไวใ้ นทกุ วิชา 5. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนการสอน และ อำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรูแ้ ละมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นสว่ นหนึ่งของ

9

กระบวนการเรยี นรู้ ทงั้ นี้ ผูส้ อนและผู้เรียนอาจเรียนร้ไู ปพรอ้ มกันจากสอื่ การเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการ ประเภทตา่ ง ๆ

6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา และ บุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพ่ือร่วมกนั พฒั นาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพ

7. ศึกษาค้นคว้าพัฒนารูปแบบหรือการออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ีก้าวหน้า เพื่อเป็นผู้นำการ จัดกระบวนการเรยี นรู้ เพือ่ เป็นตน้ แบบใหก้ บั สถานศกึ ษาอื่น

รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ (2555) กล่าวว่า ภารกิจการบริหารงานวิชาการประการหน่ึงท่ีสำคัญย่ิง คือการ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สถานศึกษาจะต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ครูศึกษาจุดมุ่งหมาย ของหลกั สตู ร จดั กิจกรรมการเรยี นรโู้ ดยเน้นใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นรู้ และสรปุ องคค์ วามรูด้ ว้ ยตวั เอง โดยมีการศึกษา ผู้เรยี นเป็นรายบุคคล เพือ่ เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทสี่ อดคล้องกับความถนดั ความสนใจ และความตอ้ งการของผเู้ รียน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมคี วามรู้ความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ี กำหนดไวใ้ นหลักสูตรอยา่ งแท้จรงิ และยังกล่าวถึงแนวปฏบิ ตั กิ ารพฒั นากระบวนการเรียนรู้ไว้ ดงั นี้

1. สง่ เสรมิ ให้ครจู ัดทำแผนการเรยี นรตู้ ามสาระและหนว่ ยการเรียนรูโ้ ดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 2. ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน ฝึก ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงและการปฏิบัติจริง การส่งเสริมให้รักการอ่านและใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง การ ผสมผสานความรู้ต่าง ๆ ให้สมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมและค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ท่ี สอดคล้องกับเนื้อหาสาระกิจกรรม ทั้งนี้โดยจัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ และการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือเครือข่าย ผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการ จดั การเรียนการสอนตามความเหมาะสม 3. จัดให้มีการนิเทศการสอนแก่ครูในกลุ่มสาระต่าง ๆ โดยเน้นการนิเทศที่ร่วมมือช่วยเหลือกัน แบบกัลยาณมิตร เช่น นิเทศแบบเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนร่วมกัน หรือแบบอื่น ๆ ตาม ความเหมาะสม 4. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาครูเพอ่ื พัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม ทิศนา แขมมณี (2556) ได้สรุปถึง การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ โดยได้คิด ได้รวบรวมความรู้และลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้การดำเนินงานดังกล่าว สอดคล้องกบั แนวคดิ การเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ สถานศกึ ษาควรคำนึงถึงสิ่งต่อไปน้ี คอื 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย (physical participation) คือ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อช่วยให้ประสาทการเรียนรู้ของ ผเู้ รยี นต่ืนตัวพร้อมท่ีจะรับข้อมลู และการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทจี่ ะเกิดขน้ึ

10

2. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางสติปัญญา (intellectual participation) คือ กิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเคลื่อนไหวทางสติปัญญา ท้าทายความคิดของผู้เรียน สามารถกระตุ้นสมองของผูเ้ รียนใหเ้ กิดการเคล่อื นไหวเกิดความสนุกที่จะคดิ

3. กิจกรรมการเรียนรู้ทีด่ ีควรชว่ ยใหผ้ ู้เรียนมีสว่ นรว่ มทางสังคม (social participation) คือ เป็น กจิ กรรมท่ีชว่ ยให้ผเู้ รยี นมปี ฏิสมั พนั ธ์ทางสงั คมกบั บุคคล หรอื ส่ิงแวดล้อมรอบตัว ตอ้ งเรยี นรทู้ ่ีจะปรับตัวเข้ากับ ผอู้ ื่นและสภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ

4. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางอารมณ์ (emotional participation) คอื เป็นกิจกรรมทส่ี ง่ ผลต่ออารมณ์ ความรสู้ ึกของผ้เู รยี น ซ่ึงจะชว่ ยให้การเรียนรูน้ ั้นเกิดความหมายต่อตนเอง

มณีรัตน์ อภิวัฒนวรรณ (2559) กล่าวว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การดำเนินงาน เกีย่ วกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การส่งเสรมิ สื่อและแหล่งเรยี นรู้ การมีส่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การสง่ เสรมิ และการพัฒนาครู และการวัดและประเมนิ ผล

สุคนธา ดิษฐสุนันท์ (2558) กล่าววา่ การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ หมายถึง การส่งเสริมให้ครูจัดทำ แผนการเรียนรู้ตามสาระและหน่วยงานการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการ เรยี นร้ตู ามกล่มุ สาระและหนว่ ยการเรยี นตามความสนใจและความถนดั ของผเู้ รียน

หนูแปง ปะกิระคะ (2559) กล่าวว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การส่งเสริมให้ครูจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ตามสาระและหน่วยการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ จัดกระบวนการเรียนรูโ้ ดยจดั เนื้อหาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจและความถนดั ของผเู้ รียน จัดให้มกี ารนิเทศการสอนแก่ครู ในกลุ่มสาระต่าง ๆ โดยเน้นการนิเทศที่ร่วมมือช่วยเหลือกันแบบกัลยาณมิตร และส่งเสริมให้มีการพัฒนาครู เพ่อื พฒั นากระบวนการเรยี นรูต้ ามความเหมาะสม

Hoy and Miskel (2008) กล่าวว่า การพัฒนาการเรยี นรู้มาจากการใช้เทคนิคในการเรียนการสอน ที่ มุ่งเน้นไปที่ความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคลทางด้านความรู้และพฤติกรรม เป็นกระบวนการท่ี สลบั ซับซ้อนและไม่มีคำอธบิ ายไหนอธบิ ายไดด้ ีที่เป็นสดุ โดยในความเปน็ จริง ความแตกต่างทางดา้ นทฤษฎีการ เรียนรไู้ ดเ้ สนอคำจำกดั ความไม่มากกน็ ้อยขึ้นอยู่กับสิ่งทต่ี ้องการจะอธิบายน้ัน ๆ เราจะมุ่งเน้นไปที่ทฤษฎีท่ัวไป ของการเรยี นรู้ 3 ประการ ซง่ึ แต่ละทฤษฎีมีจุดเนน้ ไมเ่ หมอื นกัน ดงั ต่อไปนี้

1. ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมเป็นการเรียนรู้ เน้นทางด้านการสังเกตการณ์ความเปลี่ยนแปลง ทางดา้ นพฤตกิ รรม ทักษะ และความเป็นอยู่

2. ทฤษฎกี ระบวนการเรียนรู้เป็นการเนน้ ทางด้านความคิดภายในกจิ กรรม คอื การคิด การจดจำ การสรา้ งสรรค์ และการแก้ปญั หา

3. ทฤษฎีเกี่ยวกับการก่อตัวเป็นรูปเป็นร่าง เป็นการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับความสนใจเกี่ยวกับในตัว บคุ คลต่อความหมายในเหตุการณ์ต่าง ๆ และกิจกรรม และการเรียนรูเ้ ปน็ กอ่ ร่างของความรู้

11

สรุปได้ว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ หมายถึง การดำเนินงานเกี่ยวกับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นการเรียน การสอนตามสภาพจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามเนื้อหาสาระ กิจกรรม โดยมีการการส่งเสริมสื่อและแหล่งเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงจากพฤติกรรมเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ อันเนื่องมาจากการเรียนรู้ผ่าน สิ่งแวดล้อม หรือการฝกึ ฝน และประสบการณท์ ีไ่ ด้รับ และพฤติกรรมนัน้ จะต้องเป็นพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร ติดตัวไปตลอด

2. ความสำคญั ของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ถือวา่ มีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี น มีนักวิชาการและ นักการศึกษาหลายท่านไดก้ ลา่ วได้ ดงั นี้ กิ่งแก้ว เฟื่องศิลา (2558) กล่าวว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญต่อการบริหารงาน วิชาการ ต้องดำเนินการส่งเสริมให้ครูผู้สอนศึกษาวิเคราะห์ให้เข้าใจสาระสำคัญและเลือกวิธีการสอนท่ี เหมาะสม จดั การเรยี นรทู้ ่เี น้นความสำคัญทง้ั ความรู้ คณุ ธรรม โดยมุง่ เนน้ ให้ผเู้ รยี นผา่ นกระบวนการเรียนรู้ด้วย กิจกรรมต่าง ๆ ที่ให้ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนและคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนได้พัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ มคี วามสมบรู ณท์ งั้ ร่างกาย จิตใจ สงั คมและสตปิ ัญญา สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อ่นื ได้อย่างมีความสุข และนำความร้ไู ปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ หนูนิต ซื่อสัตย์ (2560) กล่าวว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้มคี วามสำคญั ท่ีจะต้องใชก้ ระบวนการ เรียนรู้ท่ีหลากหลายเพื่อเป็นเคร่ืองมือพัฒนาผูเ้ รียนไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร ซึ่งครูผู้สอนจะต้องรู้และเขา้ ใจ แนวคิดการจัดการเรียนรู้และผลที่เกิดกับผู้เรียน แล้วนำมาจัดการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียน โดยยึด ผเู้ รียนเปน็ สำคญั เปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนได้ฝึกคิดวิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รจู้ กั วิธคี ิด วิธีการดำเนิน ชวี ติ และมีทกั ษะในการเผชญิ ปญั หาต่าง ๆ ได้ จักรี มนต์ประสิทธิ์ (2560) กล่าวว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญเนื่องจากเป็นการ ดำเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ของครผู ู้สอนที่เป็นการจดั กระบวนการเรยี นรู้ หรือการจดั กิจกรรมต่าง ๆ ที่หลากหลาย เพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาการเรียนการสอนอันจะส่งผลทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อนักเรียน ทง้ั น้ี โดยคำนึงถึงผู้เรียนเป็น สำคัญ วิภาภรณ์ สร้อยคำ (2560) กล่าวว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจาก เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม มีการสอนที่ถูกต้องตลอดจนมีการอำนวยความสะดวกเพื่อจัดการเรียนการ สอนอย่างมีประสิทธิภาพ หลักที่สำคัญของการจัดการเรียนการสอนควรจัดความรู้และคุณสมบัติอื่น ๆ ท่ี ต้องการใหแ้ ก่ผูเ้ รียนได้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เนอ้ื หาท่ีสอนยึดหยุ่นตามเหตุการณ์ สภาพท้องถิ่น และความ สนใจของผูเ้ รียน โดยมีกระบวนการเรียนการสอนทีย่ ึดผู้เรียนเปน็ สำคัญ

12

ศิรินภา เมรัตน์ (2561) ได้กล่าวถึงความสำคัญของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ว่า เป็นการ ดำเนินงานของสถานศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนมีการวางแผนการจัดทำแผนการเรียนรู้ตามกลุ่ม สาระการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย และปฏิบัติจริง เน้น กระบวนการคิดและจุดมุ่งหมายหลักของสถานศึกษาอยู่ที่การจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดครูเข้าสอน มีการพัฒนาครู มีการนิเทศติดตามการสอนของครูและมีการประเมินผล ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของผู้เรยี น

จากความสำคัญข้างต้น สรุปได้ว่า การพัฒนากระบวนการเรียนรู้เป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อการ พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน โดยผู้สอนจำเป็นต้องมีความเข้าใจในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ โดยคำนึงถึง ประสบการณ์ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งผลให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาอย่างเต็ม ศกั ยภาพท้งั ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา

3. แนวคดิ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี คณุ ภาพไวใ้ นมาตรา 24 โดยให้สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องดำเนินการ ดงั ต่อไปน้ี

1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดย คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล

2. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพ่อื ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หา

3. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จรงิ ฝึกการปฏิบตั ิให้ทำได้ คดิ เป็น ทำเป็น รัก การอา่ น และเกดิ การใฝ่รอู้ ย่างตอ่ เน่อื ง

4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลกู ฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงามและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ในทกุ วชิ า

5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ครูผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ

6. จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผปู้ กครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝ่าย เพือ่ ร่วมกันพัฒนาผ้เู รียนตามศักยภาพ

การจดั การเรียนร้ตู ามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 น้ัน มุ่งหวงั ใหผ้ ู้เรียน เกิดกระบวนการเรียนรู้ที่สำคัญและเป็นเครื่องมือพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร อีกทั้งเป็น กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียนในการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันและอนาคต ดังนั้น ครูผู้สอน

13

จะตอ้ งรูแ้ ละเข้าใจแนวคิด แนวทางการจดั การเรียนรแู้ ละผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียนของการเรียนรู้แต่ละวิธี แล้วนำมา จดั การเรยี นรูใ้ หเ้ อือ้ ต่อการพัฒนาผูเ้ รียนใหเ้ กิดกระบวนการดงั กล่าว ซง่ึ ได้แก่

1. การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการ 2. กระบวนการสรา้ งความรู้ 3. กระบวนการคดิ 4. กระบวนการทางสังคม 5. กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแกป้ ญั หา 6. กระบวนการเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์จริง 7. กระบวนการปฏิบตั ิ ลงมอื ทำจรงิ 8. กระบวนการจัดการ 9. กระบวนการวจิ ยั 10. กระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง 11. กระบวนการลกั ษณะนสิ ัย นอกจากนี้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ.

  1. ได้กล่าวถึง การพฒั นากระบวนการเรียนร้ตู ามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ดงั น้ี 1. หลักการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ีกำหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึด ประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคณุ ธรรม 2. กระบวนการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรูท้ ่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการ เรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นเครื่องมือที่จะนำไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับ ผู้เรียน เช่น กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทาง สังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการ ปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการ ฝกึ ฝน พัฒนาเพราะจะสามารถช่วยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ได้ดี บรรลุเปา้ หมายของหลักสตู ร ดงั นัน้ ผู้สอน จึง จำเป็น ต้องศึกษาทำความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

14

3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐาน การเรยี นรู้ ตวั ชี้วดั สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ ผเู้ รียน แลว้ จงึ พิจารณาออกแบบการจดั การเรียนรู้โดยเลือกใชว้ ิธีสอนและเทคนคิ การสอน สือ่ และแหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ัฒนาเต็มตามศักยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายที่กำหนด

4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของ หลักสตู ร ทั้งผสู้ อนและผู้เรียนควรมีบทบาท ดงั นี้

4.1 บทบาทของผูส้ อน

  1. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการ

เรยี นรทู้ ท่ี ้าทายความสามารถของผเู้ รียน

  1. กำหนดเปา้ หมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการที่

เปน็ ความคิดรวบยอด หลกั การ และความสัมพันธ์ รวมทง้ั คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

  1. ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ

พฒั นาการทางสมอง เพื่อนำผเู้ รียนไปสู่เปา้ หมาย

  1. จัดบรรยากาศท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ และดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรียนรู้
  2. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน

  1. ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติ

ของวิชาและระดบั พฒั นาการของผู้เรยี น

  1. วิเคราะห์ผลการประเมนิ มาใช้ในการซอ่ มเสริมและพัฒนาผู้เรยี น รวมท้ังปรับปรุงการ

จดั การเรียนการสอนของตนเอง 4.2 บทบาทของผเู้ รียน

  1. กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรบั ผดิ ชอบการเรยี นรู้ของตนเอง
  2. เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ ตั้งคำถาม

คิดหาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวธิ กี ารตา่ ง ๆ

  1. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน

สถานการณ์ต่าง ๆ

  1. มีปฏิสมั พันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกบั กลุม่ และครู
  2. ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

จากที่กล่าวมาข้างต้น พอจะสรุปได้ว่า แนวทางในการจัดการเรียนรู้นั้นสถานศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ต้องส่งเสริมให้

15

ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความถนัด ความ สนใจของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ฝึกปฏิบัติ จริง พร้อมทั้งปลูกฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ จัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรยี น เพ่ือสง่ เสรมิ และปลูกฝังผ้เู รยี นใหม้ ีความสนใจตอ่ การเรยี นรู้ตลอดเวลา ท้งั ขณะท่ผี ู้เรียนอยู่ในและ นอกสถานศึกษา นอกจากนี้ สถานศึกษาต้องส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดย การสง่ เสริมให้ครผู ้สู อนทำวิจยั เพ่ือพฒั นากระบวนการเรียนรู้ สถานศกึ ษาจึงควรบรหิ ารการจัดการเรียนรู้ โดย เริ่มต้นจากการวางแผนการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ และการ ปรับปรุงการพฒั นาการจดั การเรียนรู้ เพื่อม่งุ พัฒนาให้ผ้เู รียนเป็นคนดี คนเก่ง และมคี วามสขุ

การจดั กระบวนการเรียนรทู้ เี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ

1. ความหมายของการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ ี่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ คำว่า “การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ” มีนักการศึกษาและนักวิชาการได้ให้ ความหมายไว้อยา่ งหลากหลาย ดังน้ี สุรพงศ์ อึ๊งโพธิ์ (2561) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง รูปแบบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตและสังคมของผู้เรียนมากทีสุด โดยคำนึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล ความสามารถทางปัญญา ความถนัด ความต้องการ ความสนใจและวิธีการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติจริง ได้พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง และ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองด้วยวิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ตามมาตรฐานของหลักสตู ร ธนสวรรณ ถาบุตร (2561) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง กระบวนการ จัดการเรียนรู้ที่ให้ความสำคัญกับผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่ม แสวงหา วิเคราะห์ จัดการ ความรู้และลงมีปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตัวเอง ตามความต้องการและความสนใจ และสามารถนำความรู้ไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ ทิศนา แขมมณี (2560) กลา่ ววา่ การจดั การเรียนการสอนโดยใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ ศูนยก์ ลาง เป็นการจัดการ เรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นตัวตั้ง โดยคำนึงถึงความเหมาะสมกับผู้เรียนและประโยชน์สูงสุดที่ผู้เรียนควร ได้รับ และมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาทสำคัญในการเรียนรู้ ได้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเรียนรู้อย่างตื่นตัวและได้ใช้กระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ อันจะนำผู้เรียนไปสู่การเกิดการเรียนรู้ที่ แทจ้ ริง บุญเลยี้ ง ทุมทอง (2556) กล่าวว่า การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ หมายถึง การจัด กิจกรรมทใี่ หโ้ อกาสผเู้ รียนมีส่วนร่วมกจิ กรรมมากที่สดุ ด้วยความม่งุ หวังทีจ่ ะทำให้ผ้เู รยี นได้พัฒนากระบวนการ เรียนคิดสร้างสรรค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยมีปฏิสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมกับผู้สอนและผู้เรียนด้วยกัน เพื่อ พัฒนากาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ในบริบทที่มีอยู่และเกิดขึ้นตามสภาพจริง และพัฒนาศักยภาพใน

16

การเรียนรทู้ ่จี ะคิดวเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์ วางแผน และตดั สนิ ใจแก้ปัญหาได้ดว้ ยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิตทจ่ี ะทำใหค้ ุณภาพของชีวติ ดีขนึ้

ยุทธนา เกื้อกลู (2560) กลา่ ววา่ การจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ หมายถงึ การจัดการเรียนรู้ ที่เปิดโอกาสให้ผูเ้ รียนมสี ่วนร่วมในการเรียนรูม้ ากท่ีสุด ซึ่งเป็นการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา ตลอดจนการคิดวิเคราะห์ วางแผน และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเองเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียน ใหด้ ีขน้ึ โดยครูมีบทบาทหลักสำคญั ในการอำนวยความสะดวกและช้ีแนะผ้เู รียนตามความเหมาะสม

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ คำนึงถึงผู้เรียนสำคัญที่สุด มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ คิดค้น และสร้างองค์ความรู้ในสิง่ ที่ตนเองชอบและถนัด สอดคล้องกับวิถีชวี ติ ของตนเอง ด้วยความรับผิดชอบ และมีความสขุ กับการเรยี นร้นู น้ั โดยมีครูคอยอำนวยความสะดวกให้คำแนะนำและเอาใจใส่อย่างใกลช้ ดิ

2. แนวคดิ การจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมีแนวคิดจากปรัชญา Constructivism ที่ เช่ือวา่ การเรียนรเู้ ป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในผู้เรยี น ผ้เู รียนเปน็ ผ้สู รา้ งความรู้จากการสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่ พบเห็นกับความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม เป็นปรัชญาที่มีข้อสันนิษฐานว่าความรู้ไม่สามารถแยกออกจากความ อยากรู้ ความรู้ได้มาจากการสร้าง เพื่ออธิบายแนวคิด Constructivism เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ ผ่าน กระบวนการคิดด้วยตนเอง โดยผู้สอนไม่สามารถช่วยผู้เรียนปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาได้ โดยจัด สภาพการณ์ให้ผู้เรียนเกิดความขัดแย้งทางปัญญา (Cognitive Structure) ของผู้เรียนได้ แต่ผู้สอนสามารถ ช่วยผู้เรียนปรบั เปลี่ยนโครงสรา้ งทางปัญญาได้ โดยจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนเกิดความขัดแย้งทางปญั ญา และ เกิดภาวะไม่สมดุลขึ้น (Unequilibrium) ซึ่งเป็นสภาวะที่ประสบการณ์ใหม่ไม่สอดคล้องกับประสบการณ์เดิม ผู้เรียนต้องพยายามปรับขอ้ มูลใหม่กับประสบการณ์ที่มีอยู่เดิม แล้วสร้างเป็นความรู้ใหม่ (ไสว ฟักขาว. 2542) ดังนั้น การใช้แนวคิด Constructivism ในการจัดการเรยี นการสอนผู้สอนต้องพยายามเชื่อมโยงเนือ้ หาความรู้ ให้เข้ากับประสบการณ์เดิมของผู้เรียนและเป้าหมายของผู้เรียน จึงอาจกล่าวไดว้ ่า การสอนตามแนวคิดนี้ เป็น การสอนท่ใี ห้ผู้เรียนสามารถสรา้ งสรรค์ความรดู้ ้วยตนเอง โดยการจัดการศึกษาที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ไม่ว่าจะเป็น บรรยากาศในการเรียนรู้ สภาพแวดลอ้ มทเี่ อ้ืออำนวย ผูเ้ รยี นมโี อกาสเลือกและวางแผนในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ที่ก่อให้เกิดความพึงพอใจในการเรียน โดยที่การจัดการเรยี นรู้ทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญเกิดขึ้นจากพื้นฐานความ เชื่อที่ว่า การจัดการศึกษามีเป้าหมายสำคัญที่สุด คือ การจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สูงสุดตามกำลังหรือ ศักยภาพของแตล่ ะคน (ดษุ ฎี มชั ฌมิ าภโิ ร. 2553) ความจริงแล้ว ประเทศไทยได้มีแนวคิดการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาตั้งแต่ใน สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 แล้ว เพียงแต่อาจจะยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวคิด teacher- centered ซึ่งแนวคิดนี้ได้รวมลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเข้าไว้แลว้ หาก ครูเข้าใจหลักและกระบวนการสอนที่มุ่งให้เกิดผลกับผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนเน้น ผู้เรยี นเปน็ สำคญั จึงเปน็ ส่งิ ทไ่ี ม่เบ็ดเสรจ็ ในตวั เอง และไมเ่ ปน็ หนงึ่ เดียวท่ีจะใช้ได้ในทกุ อย่าง การจัดการศึกษา

17

จะต้องมีความยืดหยุ่นและชัดเจนขึ้น เมื่อนำแนวคิดต่าง ๆ มาปรับใช้ในกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการจดั การเรยี นการสอน (ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2554)

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นหัวใจของการปฏิรูประบบและ กระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนเรียนเพื่อรู้ ทำได้ และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เพื่อศักยภาพและคุณภาพ ของชีวิตและสังคม การปฏิรูประบบและกระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญและมีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อ การศึกษา ครผู ้สู อนตอ้ งตระหนกั วา่ ตัวเองเป็นหวั ใจของการปฏริ ูปและชว่ ยกนั พัฒนาใหเ้ กิดการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้ได้ โดยให้มีการพัฒนาแบบค่อยเป็นค่อยไป จนสามารถทำให้เพิ่มพูน มากขึ้นตามลำดับ (บุญเลี้ยง ทุมทอง. 2556) ในขณะเดียวกัน สุคนธ์ สินธพานนท์ และคณะ (2545) ได้กล่าว ว่า กระบวนการเรียนรู้ตามความหมายที่คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้ได้สรุปว่า กระบวนการเรียนรู้ หมายถงึ แนวทางทจี่ ะไดม้ าซึง่ ความรู้จากการคิด วเิ คราะห์วางแผน ปฏบิ ัติจริง ปรบั ปรงุ ให้เหมาะสม สรุปและ สร้างความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเรียนรู้มีหลายลักษณะ บุคคลอาจจะมีกระบวนการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน การเรียนเน้ือหาสาระต่างกันก็ใช้กระบวนการเรียนรูท้ ีแ่ ตกต่างกัน การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็น สำคัญ จึงมีองค์ประกอบที่สำคัญคือ 1) ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน 2) มุ่งประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน 3) ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ 4) ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และ

  1. ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ได้ในชีวิตจริง นอกจากนี้ ทิศนา แขมมณี (2560) ได้กล่าวว่า แนวคิดการ จัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้น เริ่มมาตั้งแต่มีการใช้คาว่า “instruction” หรือ “การ เรียนการสอน” แทนคำว่า “teaching” หรือ “การสอน” โดยมีแนวคิดว่า ในการสอนครูต้องคำนึงถึงการ เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญและช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ มิใช่เพียงการถ่ายทอดความรู้ เทา่ น้ัน เช่น การใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้โดยการกระทำ (learning by doing) แตเ่ นื่องจากการเรยี นการสอนโดยยึด ครูเป็นศูนย์กลาง เป็นวิธีที่สะดวกและง่ายกว่า รวมทั้งครูมีความเคยชินกับการปฏิบัติตนแบบเดิมประกอบกบั ไมไ่ ด้รบั การสนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ปฏิบัติตามแนวคิดใหม่อย่างเพียงพอ การสอนโดยครูเปน็ ศูนย์กลางจึงยังคงยึด ครองอำนาจอยอู่ ยา่ งเหนียวแน่นมาจนปัจจบุ ัน

จากท่ีกลา่ วมา สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นสำคญั เปน็ กระบวนการเรียนรู้ทีม่ งุ่ เน้น ในการส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ผู้เรียนช่วยเหลอื ตนเองมากทีส่ ุด เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้และประสบการณ์ ส่วน ผสู้ อนมหี นา้ ทใ่ี นการกำกับ ดูแล ส่งเสรมิ และควบคุมกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียน นอกจากน้ีผู้สอนเป็นผู้ท่ีมี บทบาทสำคัญในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและบรรลุตามเจตนารมณ์ของ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ผู้สอนจะต้องออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนและ สอดคล้องกับสภาพจริงมีวิธีการสอนที่หลากหลาย และนำมาออกแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและ นอกห้องเรียนและสามารถนำความรู้มาปฏิบัติได้จริง เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จากการเรียนรู้และ พัฒนาผ้เู รียนให้เปน็ คนเก่ง ดี และมสี ุข

18

3. หลกั การจดั การเรยี นรู้ทีเ่ น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั การจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผู้เรยี นเป็นตวั ตั้ง โดยคำนึงถึงความเหมาะสมกับผู้เรียนและประโยชน์สูงสุดที่ผู้เรียนควรได้รับ และมีการจัดกิจกรรมการ เรียนรทู้ เี่ ปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นมบี ทบาทสำคญั ในการเรยี นรู้ ได้มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่ืนตัวและได้ ใช้กระบวนการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ อนั จะนำผู้เรียนไปสู่การเกิดการเรยี นรูท้ แ่ี ทจ้ รงิ ดังนัน้ การมสี ่วนรว่ มอย่างตนื่ ตวั ท่ี จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่แท้จริงได้ดี ควรเป็นการตื่นตัวที่เป็นไปอย่างรอบด้านทั้งทางด้านกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ เพราะพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน มีความสัมพันธ์ต่อกันและกัน และส่งผลต่อการ เรียนรู้ของผู้เรยี น ดงั รายละเอยี ด ต่อไปนี้ (ทศิ นา แขมมณี. 2560)

1. การมีส่วนร่วมอย่างตื่นตัวทางกาย (active participation: physical) คอื การให้ผู้เรยี นมสี ว่ น ร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ที่ชว่ ยใหผ้ ู้เรียนได้เคล่ือนไหวร่างกายทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่หลากหลาย เหมาะสมกับ วยั วุฒิภาวะของผู้เรยี น เพ่ือชว่ ยให้รา่ งกายและประสาทการรับรตู้ น่ื ตวั พร้อมท่จี ะรบั รแู้ ละเรียนรูไ้ ด้ดี

2. การมีส่วนร่วมอย่างตื่นตัวทางปัญญา (active participation: intellectual) คือ การให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีการเคลื่อนไหวทางสติปัญญาหรือสมอง ได้คิด ได้ กระทำโดยใช้ความคดิ เป็นการใช้สตปิ ญั ญาของตนสรา้ งความหมายความเขา้ ใจในสิง่ ทเ่ี รยี นรู้

3. การมสี ่วนรว่ มอยา่ งต่ืนตัวทางอารมณ์ (active participation: emotional) คอื การใหผ้ ู้เรียน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีการเคลื่อนไหวทางอารมณ์หรือความรู้สึก เกิดความรู้สึก ต่าง ๆ อันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดีในเรื่องที่เรียนรู้ อารมณ์และความรู้สึกของบุคคลจะช่วยให้การ เรยี นรมู้ ีความหมายต่อตนเองและต่อการปฏิบตั มิ ากขึ้น

4. การมีส่วนร่วมอย่างต่ืนตัวทางสังคม (active participation: social) คือ การให้ผู้เรียนมีส่วน รว่ มในกิจกรรมการเรยี นรู้ทชี่ ่วยใหผ้ ้เู รียนมกี ารเคล่อื นไหวทางสงั คมหรอื มกี ารปฏิสัมพนั ธท์ างสงั คมกับผอู้ ื่นและ สงิ่ แวดล้อมรอบตวั เนื่องจากการเรยี นรู้เป็นกระบวนการทางสังคม การได้แลกเปลี่ยนเรยี นรูจ้ ากกันและกัน จะ ช่วยขยายขอบเขตของการเรียนรู้ของบุคคลให้กว้างขึ้น และการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการที่สนุก มีชีวิตชีวา มากขนึ้ หากผ้เู รยี นไดม้ ีโอกาสปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผ้อู น่ื

จากพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน พอจะสรุปได้ว่า หลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ต้องจัดการ เรียนรู้ท่ีตอบสนองความตอ้ งการของผูเ้ รียนทัง้ 4 ด้าน จะขาดด้านใดดา้ นหน่ึงไม่ได้ เพราะจะทำให้พัฒนาการ ของผู้เรียนไม่สมบูรณ์ ครูผู้สอนจึงต้องจัดการเรียนการสอนไปสู่การเรียนรู้อย่างตื่นตัว เพื่อนำไปสู่การเกดิ การ เรียนรู้อย่างแท้จริง โดยมีการดำเนินการ 2 ประการที่สำคัญคือ 1) ครูต้องคิดจัดเตรียมกิจกรรมและ ประสบการณ์ที่จะเอื้อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอย่างตื่นตัวและได้ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพื่อนำไป สู่การ เกิดการเรยี นรู้อย่างแทจ้ รงิ ตามจุดประสงค์ท่ีต้ังไว้ และ 2) ในขณะดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอน ครูควรลด บทบาทของตนเองลงและเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้อำนวยความสะดวก ช่วยให้ ผ้เู รยี นดำเนินกิจกรรมการเรยี นรู้ได้อยา่ งราบรื่นและมปี ระสิทธภิ าพ

19

4. บทบาทของผ้บู ริหารในการจดั การเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ดุษฎี มชั ฌิมาภิโร (2553) กล่าววา่ ผ้บู รหิ ารมีบทบาทสำคญั ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เนื่องจากครูเป็นบุคลากรหลักและมีบทบาทสำคัญที่สุดในการจัดการ เรียนการสอน ดังนนั้ ผ้บู ริหารโรงเรยี นมีบทบาทสำคญั ในการบริหารครู ดงั นี้

1. บทบาทในการสนับสนุนสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมถึงการสนับสนุนสิ่งที่เอื้อ ต่อบรรยากาศการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ 1) การพัฒนาหลักสูตร 2) การจัดหาแหล่งการ เรียนรู้ 3) การวิจัยในชน้ั เรยี น 4) การจดั หาสื่อ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือเคร่อื งใช้ 5) การจัดสรรงบประมาณ สนบั สนุน 6) การเผยแพร่ผลงาน และ 7) การใหข้ วญั และกำลังใจ

2. บทบาทในการสนับสนุนการนิเทศการจัดการเรียนการสอน ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาสามารถ จัดกิจกรรมนิเทศเพื่อพัฒนาครูให้ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนี้ 1) การ ปรึกษาหารือและสร้างความตระหนักในการนิเทศการจัดการเรียนการสอน 2) การวางแผนการนิเทศการ จัดการเรียนการสอน 3) การดำเนินการนิเทศการจัดการเรียนการสอน และ 4) การประเมินผลการนิเทศการ จดั การเรยี นการสอน

3. บทบาทในการกำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ซงึ่ ผบู้ ริหารโรงเรยี นสามารถดำเนินการได้ ดังนี้

  1. การสรา้ งความตระหนกั ในความสำคญั ของการกำกบั ติดตาม และประเมนิ ผล 2) การวางแผนกำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผล 3) การดำเนินการกำกับ ติดตาม และประเมนิ ผล และ 4) การสรุปผลการดำเนนิ การ

สรุปได้ว่า การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูต้องเข้าใจว่า ผู้เรยี นทกุ คนมีพ้นื ฐานความรู้ท่ีแตกต่างกนั แต่ทกุ คนสามารถเรียนรู้ได้เท่าเทียมกัน และการเรียนรู้เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา และทุกสถานการณ์ ดังนั้น ครูผู้สอน ซึ่งเป็นผูท้ ี่มีบทบาทหลกั สำคัญในการจัดการเรยี นการสอน ต้อง พยายามออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่มีความหลากหลาย เหมาะกับความต้องการของผู้เรียนในแต่ละวัย เพ่ือ ผ้เู รียนสามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

การจดั การเรียนร้สู ำหรับครใู นศตวรรษที่ 21

1. แนวคิดการจัดการเรยี นรสู้ ำหรบั ครูในศตวรรษที่ 21 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560) ได้ระบุในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 เกี่ยวกับเป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีคุณลักษณะและทักษะ การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) ประกอบด้วย ทักษะและคุณลกั ษณะตอ่ ไปนี้ 3Rs ได้แก่ การอ่านออก (Reading) การเขียนได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetics) 8Cs ได้แก่ ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทกั ษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความ เข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การ ทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร

20

สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และ ทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) ส่งลให้ครูในศตวรรษท่ี 21 จำเป็นต้องมีกลยุทธ์ในการตอบโต้ ตอบสนอง (Response) มีส่วน รว่ ม (Chlorate) เพอื่ ชีแ้ นะสนับสนนุ (Facilitate) ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเขา้ ใจเชิงลึก (Deep Understanding) ใน สาระความรตู้ ่าง ๆ จนร้จู กั พัฒนาและประยุกต์ใช้ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ (วชั รา เล่าเรียน ดี. 2556) ดังน้ี

1. การเรียนรู้จากปัญหา (Problem Based Learning) 2. การทดลองทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) 3. การสัมมนาแบบโสเครติส (Socratic Strategy) ซึ่งเป็นการตั้งคำถามให้คิดหาคำตอบ (Questions and Answer) 4. โครงการและการสือ่ สารการทำงานเปน็ ทมี (Project Team) 5. กลยุทธ์ในการแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ (Creative Problem Solving : CPS) 6. เครื่องมือการเรียนรู้เชิงพัฒนาการที่ช่วยให้นักเรียนรู้จักเชื่อมโยง เช่น การใช้เส้น ลูกศร กราฟกิ การใช้แผนที่ แผนผงั ต่าง ๆ เปน็ ต้น 7. การใชส้ มุดจดปฏิสัมพนั ธ์ (Interactive Note Book) 8. การถามคำถามสำคัญ โดยถามอย่างต่อเนื่อง คำตอบให้คิดเพื่อให้เวลาตอบที่เพียงพอ (Wait Time) 9. การมอบหมายงานที่ใช้ความคดิ ท้าทายปัญหา โดยการใหเ้ ชอื่ มโยงขอ้ มลู ต่าง ๆ แนวคิดต่าง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน ใหส้ รุปสง่ิ ท่เี รียนรู้ เขียนบทวเิ คราะห์ท่นี า่ เช่ือถือมตี รรกะ 10. การให้สนับสนนุ ความคิดของตนเองด้วยขอ้ โต้แยง้ ทมี่ ีเหตผุ ลเพยี งพอ 11. จดั กจิ กรรมภาระงานทีน่ ักเรียนได้ถ่ายโอนสิ่งทร่ี ู้ไปส่สู ถานการณ์ใหม่ (Extend Knowledge and Skills) 12. บรรยากาศในการเรียนตอ้ งการใหน้ ักเรียนกล้าลองส่ิงใหม่ๆ ทางปญั ญา สร้างความหมายกับ การเรียนรู้ให้ถือวา่ ความผิดพลาดเป็นโอกาสในการเรียนร้มู ากกวา่ 13. สนับสนุนให้นักเรียนตั้งคำถาม แสดงความเห็น ถกเถียงกับเรื่องหลักการตามความเข้าใจ แลกเปล่ียนความเข้าใจและสอดคล้องแห่งความคดิ ความเห็นของตนอย่างต่อเนื่อง ที่สำคัญตอ้ งเป็นแบบอย่าง ในการปฏบิ ตั ิ

21

2. การจดั การเรียนรู้สำหรับครใู นศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้ สอดคลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงและตอบสนองการเรียนรู้ของผเู้ รยี นท่เี ปลีย่ นไปในศตวรรษท่ี 21 การพฒั นาการ เรียนรู้ ทักษะการคิดและความคิดสร้างสรรค์นักเรียนต้องมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนอย่างกระตือรือร้น (Active Learning) ในการพัฒนาความคิดความเข้าใจ สาระความรู้สำคัญ การจัดการเรียนรู้ที่สำคัญและการ ประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 อยา่ งมคี ณุ ภาพ ได้แก่

1. การจดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน (Project-Based Learning : PBL) สำนักบรหิ ารงานมธั ยมศึกษาตอนปลาย (2558) ได้อธิบายถงึ การจดั การเรยี นรทู้ ี่เน้นให้ผ้เู รียน

เกิดทักษะแหง่ อนาคตใหม่ เป็นการเรียนรแู้ บบ Project-Based Learning : PBL ประกอบดว้ ย 1. พื้นฐานการเรียนรู้สาระวิชาหลัก ทักษะการอ่าน (Reading) ทักษะการเขียน

(Writing) และทักษะการคำนวณ (Arithmetic) ถือเป็นทักษะพื้นฐานที่มีความจำเป็นที่จะทำให้รู้และเข้าใจใน สาระเนื้อหาของ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่แสดงความเป็นสาระวิชาหลกั ของทักษะเพื่อดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ ภาษาแม่และภาษาโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และรัฐ ความเป็นพลเมืองดี ซึ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดทำสาระเนื้อหาได้ครบคุมทั้ง 8 กลุ่มสาระ การเรยี นร้แู ลว้

2. ความรู้เชิงบูรณาการสำหรับศตวรรษที่ 21 ถึงแม้นักเรียนจะสอบวัดความรู้ ความสามารถได้ตามเกณฑ์การจบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานว่าด้วยระเบียบการวัดผลประเมินผลตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้แล้วก็ตาม คงไม่เพียงพอในโลกยุคศตวรรษที่ 21 จึงต้องมีการสอดแทรก ความรูเ้ ชิงบรู ณาการเข้าไปในสาระเนื้อหา ของ 8 กล่มุ สาระการเรียนรูเ้ พ่ือใช้เป็นพ้ืนฐานความรู้ทักษะเพื่อการ ดำรงชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 ดังนี้

2.1 ความรู้เก่ียวกับโลก (Global Awareness) เป็นการสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจและ กำหนดประเด็นสำคัญต่อการสร้างความเป็นสังคมโลก การขับเคลื่อนเชิงนวัตกรรม ศาสนาและวิถีชีวิตที่อยู่ ร่วมกันได้อย่างเหมาะสมในบริบททางสังคมที่ต่างกันรอบด้านและสร้างความเข้าใจความเป็นมนุษย์ด้วยกันใน ดา้ นเชื้อชาติและวัฒนธรรม การใชว้ ัฒนธรรมทางภาษาทต่ี ่างกนั ได้อยา่ งลงตวั

2.2 ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) เป็นการสร้างความรู้และวิธีการที่เหมาะสมสำหรับ การสรา้ งตวั เลือกเชิงเศรษฐศาสตรห์ รือเศรษฐกจิ มคี วามเข้าใจบทบาทในเชงิ เศรษฐศาสตร์ที่มีต่อสังคม และใช้ ทักษะการเปน็ ผูป้ ระกอบการในการยกระดับและเพม่ิ ประสิทธผิ ลด้านอาชีพ

2.3 ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civil Literacy) เป็นการสร้างประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมทางสังคมผ่านวิธีสร้างองค์ความรู้และความเข้าใจในกระบวนการทางการเมืองการปกครองท่ี

22

ถูกต้อง และนาวิถีแห่งความเปน็ ประชาธิปไตยไปสูส่ ังคมในระดบั ต่าง ๆ ทเี่ ขา้ ใจต่อวธิ กี ารปฏิบัติทางสังคมแห่ง ความเป็นพลเมืองทงั้ ระดบั ท้องถ่ินและสากล

2.4 ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจข้อมูล สารสนเทศ ภาวะสขุ อนามัยและนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เข้าใจวธิ ีการแก้ไขและเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ที่มีต่อภาวะสุขอนามัย ห่างไกลจากภาวะความเสี่ยงจากโรคภัยไข้เจ็บใช้ ประโยชน์ข้อมูลสารสนเทศในการ เสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสุขภาพอนามัยได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล เฝ้าระวังด้านสุขภาพอนามัยส่วน บุคคลและครอบครัวให้เกิดความเข้มแข็ง รู้และเข้าใจในประเด็นสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาวะที่ดี ระดับชาติและสากล

2.5 ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) เป็นการสร้างภูมิรู้ และ ความเข้าใจ การมสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษ์และปูองกนั สภาพแวดล้อม มภี ูมิรแู้ ละเข้าใจผลกระทบจากธรรมชาติ ท่ีสง่ ผลต่อสงั คม สามารถวิเคราะหป์ ระเด็นสำคัญด้านสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และกำหนดวิธีการป้องกัน แก้ไขและอนุรักษ์ รักษาสภาพแวดล้อมสร้างสังคมโดยรอบให้เกิดความร่วมมือในการอนุรักษ์และพัฒนา ทรัพยากรสงิ่ แวดลอ้ มทกั ษะเพ่ือดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21

3. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม โลกยุคศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว พลิกผันรุนแรง และคาดไม่ถึงต่อการดำรงชีวิต ดังนั้น คนในยุคศตวรรษที่ 21 จึงต้องมีทักษะสูงในการเรียนรู้ และปรับตัว การสร้างทักษะการเรยี นรู้และนวตั กรรมจะใช้กระบวนการ Project-Based Learning : PBL โดย เริ่มจากการน ำบริบทสภาพแวดล้อมเป็นตัวการสร้างแรงกดดันให้นักเรียนตั้งค ำถามอยากรู้ให้มากตาม ประสบการณ์ พื้นฐานความรู้ที่สั่งสมมาและตั้งสมมติฐานคำตอบตามพื้นฐานความรู้และประสบการณ์ของ ตนเองที่ไม่มีคาว่าถูกผิด นำไปสู่การแลกเปลี่ยนประเด็นความคิดเห็นกับกลุ่มเพื่อน เพื่อสรุปหาสมมติฐาน คำตอบทมี่ ีความน่าจะเป็นมากที่สุดโดยมีการพิสูจน์ยืนยนั สมมตฐิ านคำตอบจากการไปสบื ค้น รวบรวม ความรู้ จากแหล่งอา้ งอิงทีเ่ ช่ือถือได้มาสนบั สนุนหรือโต้แย้งได้เปน็ คำตอบท่ีเรียกวา่ องคค์ วามรู้ เรยี กว่า การเรียนแก่น วิชา ซึ่งไมใ่ ช่เปน็ การจดจำแบบผวิ เผนิ แตก่ ารรูแ้ ก่นวิชาหรือทฤษฎีความรู้จะสามารถเอาไปเชื่อมโยงกับวิชาอ่ืน ๆ เกิดแรงบันดาลใจอยากพัฒนางาน สร้างผลงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่เรียกว่า ความคิดเชิง สร้างสรรค์ นำทฤษฎีความรู้มาสร้างกระบวนการและวิธีการผลิต สร้างผลงานใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อบุคคล และสงั คมที่ เรียกวา่ พัฒนานวัตกรรม

3.1 การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ( Critical Thinking and Problem Solving) เปน็ การสร้างทกั ษะการคิดในแบบตา่ ง ๆ ดังนี้

  1. แบบเป็นเหตุเป็นผลทั้งแบบอุปนัย (Inductive) และแบบอนุมาน (Deductive)

23

  1. แบบใช้การคิดกระบวนการระบบ (Systems Thinking) โดยวเิ คราะห์ปัจจัย ย่อยมีปฏสิ มั พนั ธก์ นั อยา่ งไร จนเกดิ ผลในภาพรวม
  1. แบบใช้วิจารณญาณและการตัดสินใจทีส่ ามารถวเิ คราะห์และประเมินขอ้ มูล หลักฐาน การโต้แย้ง การกล่าวอ้างอิง และความน่าเชื่อถือ วิเคราะห์เปรียบเทียบและประเมินความเห็น ประเด็นหลักๆ สังเคราะห์และเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศกับข้อโต้แย้ง แปลความหมายของสารสนเทศและ สรปุ บนฐานของการวเิ คราะห์ และตคี วาม ทบทวนอย่างจรงิ จังในด้านความรแู้ ละกระบวนการ
  1. แบบแก้ปัญหา ในรูปแบบการฝึกแก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคย หลากหลายแนวทาง ที่ยอมรับกันทั่วไป และแนวทางที่แตกตา่ งจากการยอมรับ รูปแบบการตั้งคำถามสำคัญที่ช่วยทำความกระจ่าง ในมมุ มองต่าง ๆ เพ่อื นำไปสทู่ างออกท่ีดกี วา่

3.2 การสื่อสารและความร่วมมือ (Communications and Collaboration) ความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิตอล และเทคโนโลยีการสื่อสาร ( Digital and Communications Technology) ทำให้โลกศตวรรษที่ 21 ต้องการทักษะของการสื่อสารและความร่วมมือที่กว้างขวางและลึกซงึ้ ดงั น้ี

  1. ทักษะในการสื่อสารอย่างชัดเจน ตั้งแต่การเรียบเรียงความคิดและมุมมอง (Idea) สื่อสารเข้าใจง่ายในหลายแบบ ทั้งการพูด เขียน และกิริยาท่าทาง การฟังอย่างมีประสิทธิภาพนำไป ถ่ายทอดสื่อสาร ความหมายและความรู้ แสดงคุณค่า ทัศนคติ และความตั้งใจ การสื่อสารเพื่อการบรรลุ เป้าหมายการทำงาน การสอ่ื สารด้วยภาษาหลากหลายและสภาพแวดล้อมท่ีหลากหลายอยา่ งไดผ้ ล
  1. ทักษะความร่วมมือกับผู้อื่น การทำงานให้ได้ผลราบรื่น ควรเคารพและให้ เกียรติผู้ร่วมงาน มีความยืดหยุ่นและช่วยเหลือประนีประนอมเพื่อการบรรลุเป้ าหมายร่วมกัน มีความ รบั ผิดชอบร่วมกับผู้รว่ มงานและเห็นคุณคา่ ของบทบาทของผูร้ ว่ มงาน

3.3 ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะ ทางด้านนี้เป็นเรื่องของจินตนาการมาสร้างขั้นตอนกระบวนการ โดยอ้างอิงจากทฤษฎีความรู้เพื่อนำไปสู่การ ค้นพบใหม่ เกิดเป็นนวัตกรรมที่ใช้ตอบสนองความต้องการในการดำรงชีวิตที่ลงตัว และนาไปสู่การเป็นผู้ผลิต และผู้ประกอบการตอ่ ไป ทักษะดา้ นน้ี ได้แก่

  1. คิดอย่างสร้างสรรค์ ใช้เทคนิคสร้างมุมมองอย่างหลากหลาย มีการสร้าง มุมมองที่แปลกใหม่อาจเป็นการปรับปรุงพัฒนาเพียงเล็กน้อย หรือทำใหม่ที่ต่างจากเดิมโดยสิ้นเชิง เปิดกว้าง ทางความคิดเห็นที่ร่วมกันสร้างความเข้าใจ ปรับปรุง วิเคราะห์ และประเมินมุมมอง เพื่อพัฒนาความเข้าใจ เก่ยี วกับความคิดอย่างสร้างสรรค์
  1. การทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ ในการพัฒนาลงมือปฏิบัติและ สื่อสารมุมมองใหม่กับผู้อื่นอยู่เสมอ มีการเปิดใจและตอบสนองมุมมองใหม่ๆ รับฟังข้อคิดเห็นและร่วม

24

ประเมินผลงาน เพื่อนำไปปรับปรุงพัฒนา มีการทำงานด้วยแนวคิดหรือวิธีการใหม่ๆ และเข้าใจข้อจำกัดของ โลกในการยอมรบั มมุ มองใหม่ และใหม้ องความลม้ เหลวเปน็ โอกาสการเรียนรู้

  1. การประยุกต์ส่นู วตั กรรมทีม่ ีการลงมือปฏิบัติตามความคิดสร้างสรรค์ให้ได้ผล สำเร็จที่เป็นรูปธรรม

4. ทกั ษะชวี ิตและงานอาชพี การเรยี นร้ทู ีจ่ ะปรับตัวได้อย่างดีในสภาวะการเปลี่ยนแปลง หรอื มภี ัยคุกคามได้อยา่ งชาญฉลาด ถือเปน็ เรือ่ งสำคัญในการดำรงชวี ติ ท่ีมีทักษะชีวิตในโลกศตวรรษท่ี 21 และ การคิดสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อตอบสนองการดำรงชีวิต เฉพาะบริบทสภาพแวดล้อมที่ต่างกันนำไปสู่การ เผยแพร่เทคนิควิธีการใช้และพัฒนาทักษะ เกิดเป็นกลยุทธ์การขาย เกิดผู้ประกอบการในงานอาชีพต่าง ๆ ซึ่ง เปน็ ทักษะงานอาชีพทต่ี ้องมีการส่งเสริมใหเ้ ท่าทนั ในยุกการเปลยี่ นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิตและ ทักษะงานอาชีพจงึ ควรมีการพฒั นาส่งิ ต่อไปน้ี

4.1 ความยืดหยุน่ และความสามารถในการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) เป็นทักษะเพื่อการเรียนรู้การทำงานและการเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องทำเพื่อการบรรลุเป้าหมาย แบบมีหลักการ ภายใต้การเปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และไมค่ าดคดิ ท้ังมีขอ้ จำกดั ดา้ นทรัพยากร เวลา และการ มีคู่แข่งโดยใช้วิกฤตให้เป็นโอกาสในด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงเป็นการปรับตัวให้เข้ากับบทบาทที่ แตกต่างไป งานที่มีกำหนดการทีเ่ ปล่ียนไปในด้านความยืดหยุน่ เปน็ การนำเอาผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นมาใช้ประโยชน์ อย่างได้ผลมีการจัดการเชิงบวกต่อคำชม คำตำหนิ และความผิดพลาดสามารถนำความเห็นและความเชื่อที่ แตกต่าง หลากหลายทั้งของคณะทำงาน หรือข้ามวัฒนธรรมคณะทำงานมาทำความเข้าใจ ต่อรอง สร้างดุลย ภาพและทำให้งานลุลว่ ง ดงั นนั้ ความยืดหยุน่ จงึ ทำเพอ่ื การบรรลุผลงานไมใ่ ชเ่ พื่อให้ทกุ คนสบายใจ

4.2 การริเริ่มสร้างสรรค์และกำกับดูแลตนเองได้ (Initiative and Self Direction) เป็นทักษะที่สำคัญในการทำงานและดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 ที่ต้องมีการกำหนดเป้าหมาย โดยมีเกณฑ์ ความสำเร็จที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมมีความสมดุลระหว่างเป้าหมายระยะสั้นที่เป็นเชิงยุทธวิธี และ เป้าหมายระยะยาวที่เป็นเชิงยุทธศาสตร์ มีการคำนวณประสิทธิภาพการใช้เวลากับการจัดการภาระงานต้อง ทำงานสำเร็จได้ดว้ ยตนเองโดยกำหนดตัวงาน ติดตามผลงานและลำดบั ความสำคัญของงานไดเ้ อง นอกจากนั้น การทำงานยังต้องฝึกทักษะการเป็นผเู้ รียนรู้ได้ดว้ ยตนเองในการมองเหน็ โอกาสเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพ่ือขยายความ เช่ียวชาญในงานของตนเองมกี ารรเิ รม่ิ การพฒั นาทกั ษะไปสูร่ ะดับอาชพี แสดงความเอาใจใส่จรงิ จงั ต่อการเรียนรู้ และทบทวนประสบการณ์ในอดีตเพื่อคิดหาทางพฒั นาในอนาคต

4.3 ทักษะสงั คมและสงั คมข้ามวฒั นธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) เป็น ทักษะทำให้คนในศตวรรษที่ 21 สามารถทำงานและดำรงชีวติ อยู่ในสภาพแวดล้อมและผูค้ นที่มีความแตกต่าง หลากหลายได้อย่างไม่แปลกแยกทำให้งานสำเร็จ การพัฒนาทักษะนี้จะทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่าง เกิดผลดีในเรือ่ งกาลเทศะ เกิดการทำงานในทีมทีแ่ ตกต่าง หลากหลายอยา่ งได้ผลดี มีการเคารพความแตกต่าง

25

ทางวัฒนธรรม ตอบสนองความเห็นและคุณค่าที่แตกต่างทางสังคมและวฒั นธรรมสู่การสรา้ งแนวคดิ วิธีทำงาน ใหม่สูค่ ณุ ภาพของผลงาน

4.4 การเป็นผู้สร้างผลงานหรือผลผลิตและความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Productivity and Accountability) เป็นการกำหนดขั้นตอนวิธีการทำงานในการสร้างชิ้นงานผลงานหรือผลิตภัณฑ์อย่างมี หลักการ ตามทฤษฎีความรู้ท่ตี ้องมที กั ษะความชำนาญการ ซึง่ เป็นเร่ืองของการจัดการโครงการ ที่มีการกำหนด เปูาหมายและวิธีการบรรลุเป้าหมายภายใตข้ อ้ จำกดั ทม่ี ีอยู่ โดยการกำหนดลำดับความสำคัญ วางแผน และการ จดั การผลติ ภณั ฑแ์ ละผลงานที่ไดจ้ ากการผลิตต้องมีคณุ ภาพเพ่ือแสดงถงึ ทักษะการทำงานอยา่ งเป็นระบบจากผู้ มีความเชี่ยวชาญการผลิต นำไปใช้ประโยชน์แก่บุคคล ชุมชนได้อย่างไม่มีผลกระทบทางลบ แต่ถ้ามีจะต้อง ออกมายอมรับข้อบกพร่องอย่างไม่ปิดบัง อนั นำไปสู่การปรับแก้ไขหรือยกเลิกเพื่อแสดงจรยิ ธรรมที่เป็นบรรทัด ฐานทางสังคม

4.5 ภาวะผนู้ ำและความรับผิดชอบ (Leadership and Responsibility) ในศตวรรษ ที่ 21 มีความต้องการภาวะผู้นำและความรับผิดชอบแบบกระจายบทบาทจากการรับผิดชอบต่อตนเอง รับผิดชอบการทำงานแบบประสานสอดคล้องเป็นคณะทำงานและรับผิดชอบแบบสร้างเครือข่ายร่วมมือแบบ พันธมิตรการทำงาน เพื่อไปสู่เป้าหมายของผลงานร่วมกัน ซึ่งต้องพัฒนาทักษะมนุษยสัมพันธ์และทักษะการ แก้ปัญหาในการชักนำผู้อื่นให้เห็นเป้าหมายร่วมกันและทำให้ผู้อื่นเกิดพลังในการทำงานให้บรรลุผลสำเร็จ ร่วมกัน เกิดแรงบันดาลใจใหผ้ ู้อื่นใช้ศกั ยภาพหรือความสามารถสูงสดุ โดยการทำตัวอย่างทีไ่ ม่ถือผลประโยชน์ ของตนเองเป็นท่ีตัง้ และไมใ่ ชอ้ ำนาจโดยขาดจรยิ ธรรมและคุณธรรมถือประโยชนส์ ่วนรวมเปน็ ทต่ี ั้ง

5. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี การรับรู้สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแล้วตอบสนอง ส่ิงทร่ี ับร้มู าเป็นกระบวนทัศนใ์ หม่ทันที แสดงถึงการขาดทกั ษะการคิดแบบขาดวจิ ารณญาณผลท่ีเกิดขึ้นก็จะตก อยู่ภายใต้การชวนเชื่อและไม่สามารถกำหนดตนเองได้ การสร้างทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี เพือ่ ให้เกิดความเทา่ ทนั ไม่ตกอยภู่ ายใต้การถูกชักจูงชวนเชอื่

5.1 การร้เู ท่าทันสารสนเทศ (Information Literacy) การรบั ร้คู าบอกเล่าจากเพื่อน ผู้อื่น รวมถึงครูผู้สอนหรือแม้แต่สมมติฐานคำตอบที่หารือกันในกลุ่มอภิปรายเป็นเพียงความคิดเห็นที่รอการ พิสูจน์ยืนยันคำตอบที่เป็นจริงจากสารสนเทศที่ได้สืบค้น รวบรวมจากแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้มาผ่าน กระบวนการคิดแบบขาดวิจารณญาณ สนับสนุนหรือโต้แย้งพิสูจน์ความเป็นจริงสร้างเป็นความรู้ และองค์ ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ ซึ่งต้องใช้ทักษะในการเข้าถึงแหล่งความรู้ได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง มีทักษะการ ประเมินความนา่ เชอื่ ถอื ของข้อมูลสารสนเทศและทักษะในการใช้อย่างสร้างสรรค์

5.2 การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) การรับสารจากสื่อและสื่อสารออกไปในยุค Media คนในศตวรรษที่ 21 จะต้องมีความสามารถใช้เครื่องมือผลติ ส่ือและสื่อสารออกไปหรือแม้แต่รับเข้ามา ในรูปวีดโี อ (Video) ออดิโอ (Audio) พอดคาส์ท (Podcast) เว็บไซด์ (Website) และอื่น ๆ อกี มากมายแต่การ

26

รับรู้จากแหล่งสื่อเหล่านั้น ถ้าขาดการเท่าทัน ขาดการคิดอย่างมีวิจารณญาณก็จะตกอยู่ภายใต้การถูกชักจูง ชวนเชื่อได้เช่นกัน จึงต้องสร้างทักษะการวิเคราะห์สื่อให้เท่าทันวัตถุประสงค์ของตัวสื่อและผลิตสื่อนั้นอย่างไร มกี ารตรวจสอบแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และเทา่ ทันต่อการมีอิทธิพลต่อความเชื่อและพฤติกรรมอย่างไร และมี ข้อขัดแย้งต่อจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือไม่อย่างไร ในการสร้างผลิตภัณฑ์สื่อต้องมีความเท่าเทียม ต่อการใช้เครื่องมือที่พอเพียงพอเหมาะกับวัตถุประสงค์ การใช้งานและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมความ แตกตา่ งหลากหลายดา้ นวฒั นธรรม

5.3 การรทู้ นั เทคโนโลยี (ICT : Information, Communications and Technology Literacy) ในโลกยุคศตวรรษที่ 21 เป็นโลกเทคโนโลยีที่มีการแข่งขันกันผลิตและนำมาสู่การสร้างกลยุทธ์การ ขายสกู่ ล่มุ ผบู้ ริโภคท่ตี ้องการความทนั สมยั อย่ตู ลอดเวลา ซึ่งถา้ ขาดความเทา่ ทันการใช้เทคโนโลยีจะกลายเป็นผู้ ซื้อแตไ่ ม่อยากจะเรียนรู้การเปน็ ผ้ผู ลติ เพ่ือนำไปใช้งานท่ีพอเพยี งเหมาะสมกับงานการถูกชักจูงชวนเชื่อให้เป็น ผู้ซื้อก็จะง่ายขึ้น ผลการสูญเสียงบประมาณและการขาดดุลทางเศรษฐกิจจะตามมาทักษะความเท่าทันด้าน เทคโนโลยี จึงเป็นทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 ทำให้คนรู้จักผลิตใช้และนำไปแลกเปลี่ยนใช้ในเวทีการค้า เกิดการสร้างงานสร้างรายได้ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ให้เกิดการสืบค้นรวบรวมความรู้ พิสูจน์ สมมตฐิ านคำตอบในการใชท้ กั ษะคิดแบบมวี ิจารณญาณมากกวา่ ท่จี ะใชเ้ พื่อการบันเทิง ในแบบสังคมก้มหน้าจึง ควรใช้เทคโนโลยีเพื่อการวิจัย จัดระบบประเมินและสื่อสารสารสนเทศใช้สื่อสารเชื่อมโยงเครือข่าย และ Social Network อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อการเข้าถึงการจัดการ การผสมผสาน ประเมิน และสร้าง สารสนเทศเพื่อทาหน้าที่ในเศรษฐกิจฐานความรู้ ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงการปฏิบัติตามคุณธรรม และกฎหมายที่ เก่ียวข้องกบั การเข้าถึงและใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

6. คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ทักษะพื้นฐานจำเป็นในการอ่านเขียน และคิดคำนวณ เป็นตัวการทีท่ ำให้คนในศตวรรษที่ 21 รู้จักใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเปน็ เครือ่ งมือในการสบื คน้ รวบรวมความรู้ใช้กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณให้เกิดการเท่าทันสื่อสารสนเทศที่จะยืนยันสิ่งที่ตนและ สังคมอยากรู้ได้อย่างชาญฉลาด ไม่ถูกชวนเชื่อ ชักนำอย่างงมงาย เกิดเป็นแรงบันดาลใจ สร้างจินตนาการ อยากพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมขึ้นใช้ในการดำรงชีวิต ในสังคมและนำไปแลกเปลี่ยนกับสังคมอื่น เกิด เป็นรายได้บนเวทีฐานเศรษฐกิจความรู้ที่มีความรับผิดชอบต่อกฎ กติกาในขั้นตอนการผลิตและมีความ รับผิดชอบต่อผลทเ่ี กดิ ข้นึ ถา้ ผลติ ภัณฑ์ ผลผลติ ท่ีมีคุณภาพไมด่ ี

2. การจัดการเรยี นร้เู ชิงรุก (Active Learning Instructional) Tileston (2007) ได้พัฒนารูปแบบวิธีการเรียนรู้เชิงรุก (Strategic Learning Model) และ

ให้ความสนใจกบั การวิจัยดา้ นสมอง การเรยี นรแู้ ละการพัฒนาความจำในระยะยาวได้พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ แบบเชงิ รุก โดยมีกระบวนการของรูปแบบ 5 ขั้นตอน ได้แก่

27

1. ขั้นการเชื่อมต่อ (Plugging In) เป็นการจัดปัจจัยเบื้องต้นก่อนสอนตามรูปแบบ เป็น กระบวนการที่ไห้ความสำคัญกับการจัดสภาพแวดล้อม เพื่อเอื้อต่อการเรียนทั้งทางด้านกายภาพ และในเชิง จิตวิทยาที่ตอบสนองต่อลักษณะของผู้เรียนซึ่งจะท ำให้ผู้เรียนรู้สึกสบายใจที่จะเรียนรู้และพบกับความส ำเร็จ เป็นการเตรียมบรบิ ททีเ่ ก่ียวขอ้ งกอ่ นสอน

2. ขั้นเสริมพลังการเรียนรู้ (Power Up) การเสริมพลังการเรียนรู้ที่ผู้เรียนนำเสนอไว้มี พื้นฐานมาจากระบบการเรียนรู้ของสมอง (Brain-Based Learning) และระบบการรู้คิด (Metacognition System) ของผู้เรียนแต่ละคนซึ่งจำเป็นต้องอาศัยทุกประสาทสัมผัส (Senses) ในการรับรู้ข้อมูลในเบื้องต้น และนำสู่การประมวลผลในสมองต่อไป ในส่วนของครูจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนใช้ระบบดังกล่าวได้ผ่านการมี มุมมอง ดังนี้

2.1 ทำให้ผู้เรียนเชื่อว่าเขามีความสามารถเพียงพอต่อการสร้างความสำเร็จในการ เรียนรู้

2.2 สร้างความร้สู ึกเชิงบวกต่อการเรียน ห้องเรียน ครู เพ่ือนรว่ มชั้น บรรยากาศเช่น จะชว่ ยให้สมองเกดิ แรงขับทที่ รงพลัง

2.3 ทำใหร้ สู้ ึกว่าพวกเขามีเครอื่ งมอื การเรยี นรู้ (Tools) สนับสนนุ ใหเ้ กดิ ความสำเร็จ 2.4 ทำให้มองผลการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นว่ามีความสำคัญ คุ้มค่า คุ้มเวลาและความ พยายามที่ได้ทุม่ เทลงไป 3. ขั้นการสังเคราะห์ข้อมูลสร้างความหมาย (Synthes) เป็นการเรียนรู้ โดยนำข้อมูล จากแหล่งที่หลากหลายในเรื่องเดียวกันมาบูรณาการทำให้เกิดความหมายและเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนให้ สามารถสังเคราะห์ความร้ไู ด้น้ันต้องเกิดจากการผสมผสานวิธี ดงั แนวทางตอ่ ไปน้ี 3.1 มอบหมายงานทีเ่ ปน็ สาระ 3.2 ผเู้ รยี นต้องมีสว่ นเก่ียวช้องในกระบวนการเรียนรู้ 3.3 ใช้เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ซึ่งไม่ใช่เฉพาะโปรแกรม นำเสนอ (PPT) 3.4 สนบั สนุนด้วยผลการวจิ ยั 3.5 ใชท้ รพั ยากรการเรียนร้อู ยา่ งหลากหลาย 3.6 ใช้การบรรยายเท่าที่จาเป็นโดยอยู่ในของเขตความสามารถที่จะได้รับฟังของ ผ้เู รียน อาทิ 5 นาที สำหรบั นกั เรยี นในช้ันเล็ก ๆ 3.7 สร้างห้องเรียนให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ร่วมกัน (Community of Learner Together)

28

4. ข้ันการใชแ้ หล่งความรู้ภายนอกสนับสนนุ (Outsourcing) เป็นขนั้ ตอนท่ีผู้เรยี นควรได้ แสดงความรู้ความเข้าใจ โดยใช้ข้อมูลและวิธีการของเขาเอง ทั้งนี้อาจใช้แหล่งข้อมูลจากภายนอกเ พื่อเป็น ข้อมูลเติมเต็มใหค้ วามรูน้ ้ันมีความหมายยิ่งขึ้น แหล่งข้อมูลจึงมิไดห้ มายถงึ สถานทีเ่ ทา่ นัน้ แต่ยังรวมถึงทุกสิง่ ที่ มองเห็น สมั ผสั เคล่อื นไหว และถอ้ ยคำภาษา เป็นต้น

5. ขั้นไตร่ตรองสะท้อนคิด (Reflecting) เป็นขั้นตอนสุดท้ายของรูปแบบ เป็นขั้นที่ฝึก ผู้เรียนให้คิดเกีย่ วกับการเรียนรู้ เพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของตนเองที่จะเช่ือมโยงความรู้สู่การนำไปใช้ในโลก แหง่ ความเปน็ จริง

3. การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning) Stepien and Gallaght (1993) ได้นำเสนอขั้นตอนการเรียนร้โู ดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ดังนี้ 1. ข้ันท่ี 1 เข้าสูป่ ัญหาและนยิ ามปัญหา (Encountering and Defining the Problem)

ผู้เรียนจะได้รับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาจริง ให้อ่านวิเคราะห์ทำความเข้าใจกับสถานการณ์ที่เป็น ปญั หานนั้ หรอื ให้ดจู ากภาพจากวดี ิทัศนจ์ ากสถานท่ีจริง โดยอาจใหต้ ัง้ คำถาม ถามตัวเองวา่

1.1 รู้อะไรบา้ งเก่ยี วกบั ปญั หาหรอื คำถามนี้ 1.2 จำเปน็ ต้องรูอ้ ะไรบา้ งเพื่อจะไดแ้ กป้ ัญหานีไ้ ด้ 1.3 ต้องใช้ข้อมูลสื่อการเรียนรู้อะไรบ้าง เพื่อจะได้แนวทางการแก้ปัญหาหรือ สมมตฐิ าน 2. ขั้นที่ 2 หาข้อมูลและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง (Data Collection) ประเมินข้อมูล และนำไปใช้เมื่อผู้เรียนได้ปัญหาที่ชัดเจนจากขั้นตอนที่ 1 ผู้เรียนจะต้องศึกษาข้อมูลต่าง ๆ หรือสื่อต่าง ๆ ท่ี ต้องใช้ ซึ่งข้อมูลและสื่อต่าง ๆ ต้องมีการประเมินความถูกต้อง ความเหมาะสมความคุ้มค่าก่อนนำไปใช้ แกป้ ัญหา 3. ขั้นที่ 3 สังเคราะห์ข้อมูลและปฏิบัติ (Synthesis and Performance) เป็นขั้นท่ี ผู้เรียนต้องสรา้ งหรือกำหนดแนวทางการแก้ปัญหา อาจมีการสร้างสื่อประกอบหรือจัดการกับสาระความร้ใู หม่ ซึ่งแตกต่างจากการทำรายงานธรรมดาแต่เป็นการนำเสนอแนวทาง วิธีการแก้ปัญหาที่ชัดเจนและดำเนินการ แกป้ ญั หา สรปุ ผลหรือหลกั การทวั่ ไปทไ่ี ด้จากการแกป้ ัญหาและนำเสนอผลการเรยี นรู้ในชัน้ เรียน Savoil and Hugles (1994) ไดเ้ สนอขัน้ ตอนการจดั การเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็นฐาน ดังนี้ 1. ขน้ั ท่ี 1 ระบปุ ญั หาที่เหมาะสมสำหรับผูเ้ รยี น 2. ขน้ั ที่ 2 เชื่อมโยงปัญหากับบรบิ ทของผู้เรียนเพ่อื ให้โอกาสในการปฏิบัติจริง 3. ขั้นที่ 3 มอบหมายความรับผิดชอบให้ผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์ของตัวเองให้ วางแผนแก้ปัญหา 4. ขั้นที่ 4 กระตุ้นความร่วมมอื โดยการจัดกลมุ่ ให้รว่ มกันเรียนรู้และปฏิบตั ิงาน

29

5. ขั้นที่ 5 ตั้งความคาดหวังหรือกำหนดเป้าหมาย ผู้เรียนจะต้องแสดงหรือนำเสนอผล การเรียนร้ขู องตวั เองโดยแสดงผลงาน ชนิ้ งานหรอื ปฏบิ ัตใิ หด้ ู

4. การจดั การเรียนรดู้ ้วยการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) Bybee and others (2006) ได้ศึกษาวิจัยและเสนอรูปแบบการสืบเสาะหาความรู้ (The

BSCS 5E Instructional) เป็นกระบวนการ 5 ขน้ั ตอนต่อไปนี้ 1. การสร้างความสนใจให้ผู้เรียน (Engage) โดยการตั้งคำถามให้คิด จุดประกาย

ความคดิ ดว้ ยภาพ ดว้ ยข่าวหรือเหตกุ ารณส์ ำคัญ 2. ขน้ั ให้สำรวจและคน้ หา (Explore) ให้ผู้เรียนรว่ มกันค้นหาปญั หาประเดน็ สำคัญ 3. ขั้นอธิบาย (Explain) ส่งเสริมให้ผู้เรียนอธิบายแนวคิด ความคิด และการอ้างอิงเหตุ

ผลต่าง ๆ 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaborate) จัดโอกาสใหน้ ำไปใช้ในสถานการณอ์ ื่น ๆ 5. ขั้นการประเมิน (Evaluate) ให้ผู้เรยี นมีส่วนร่วมประเมินผลการเรียนของตนเองและ

เพอ่ื น 5. การออกแบบการเรยี นรแู้ บบ TPCK (Technological Pedagogical Content Knowledge) Koehler and Mishra (2016) ได้พัฒนาต่อยอด Technological Pedagogical Content

Knowledge (TPCK) ม า จ า ก Pedagogical Content Knowledge ห ร ื อ PCK โ ด ย Shuman โ ด ย ใ ห้ ความสำคญั กบั ความรูใ้ นการสอนท่มี ีรูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา Misha และ Koehler ได้เสนอเพิ่ม เทคโนโลยีเข้าไปเพ่ือใหเ้ หมาะสมต่อการเปลีย่ นแปลงและการเข้ามามบี ทบาทกับเทคโนโลยีในด้านการจดั การ เรียนการสอน PCK จึงพัฒนาเป็น TPCK (Technological Pedagogical Content Knowledge) ต่อมา Thomson และ Misha ได้เสนอให้เรียกว่า TPACK ซึ่งให้สอดคล้องกับความหมายในการบูรณาการความรู้ การใช้เน้อื หา การสอนและเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรโู้ ดยมอี งคป์ ระกอบสำคัญ 3 ดา้ น และมคี วามสัมพันธ์ 7 ประการ ดงั นี้

1. Content Knowledge (CK) คือ สาระ ความรู้ เนื้อหา องค์ประกอบสำคัญทั้งหมดท่ี จะทำให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารทางภาษาได้ทั้งโดยวิธีวจนภาษาและอวัจนภาษา (Verbal and Non-Verbal Language) โดยครูผ้สู อนต้องมีความรู้อยา่ งน้อยตามหลักสูตรที่ระบบการศึกษากำหนดเอาไว้

2. Pedagogical Knowledge (PK) คือ ความรู้ด้านกระบวนทัศน์การสอน หมายถึง ครผู ้สู อนทร่ี ถู้ ึงกลยุทธ์และวธิ ีในการจดั การเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีการฝึกฝนตามแนวทางการเรียนการสอน ภาษาเพื่อให้ผเู้ รียนพฒั นาสมรรถนะทางดา้ นภาษาได้ อย่างเหมาะสม

3. Technological Knowledge (TK) คือ ความรู้ในการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น โปรแกรม Microsoft พื้นฐาน หรือเข้าใจและรู้ถึงการใช้งานของเครื่องมือทางเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น

30

Projector, Visualizer, Interactive Whiteboard โดยครูผู้สอนอาจไม่เชี่ยวชาญในการสอนหรือเรื่องของ เน้ือหาในการสอนมากนกั

4. Pedagogical Content Knowledge (PCK) คือ ความรู้ในกระบวนทัศน์การสอน ภาษา รูปแบบ แนวทางการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาเฉพาะเจาะจงนั้น ๆ โดยสามารถปรับใช้เทคนิคในการ เรยี นการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของเน้ือหานัน้ ๆ เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารทางภาษาได้ ซ่ึงกิจกรรมท่ี เหมาะกับแนวทางการสอน แบบนี้คือ Communicative Teaching Approach เน้นการฟังและอ่านจาก เอกสารจรงิ ฝึกสร้างประโยค และใชก้ จิ กรรม Role Play/Information Gap ใน การฝึกฝน เปน็ ตน้

5. Technological Content Knowledge (TCK) คือ ความรู้ ความเข้าใจการใช้ เทคโนโลยีที่หลากหลายนา่ สนใจและเหมาะสมกับการสอนเนื้อหาทางภาษาเฉพาะเจาะจงนั้น ๆ และสามารถ พิจารณาว่าเทคโนโลยีสารสนเทศใดที่ช่วยให้ ผู้เรียนได้ความรู้ในเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ โดยหมาย รวมถึงความเข้าใจใน การใช้เทคโนโลยีเพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงวัฒนธรรมของภาษาที่ผู้เรียนกำลังศึกษาอยู่ ดว้ ย

6. Technological Pedagogical Knowledge (TPK) คือความรู้ ความเข้าใจว่า การ สอนและการเรียนรู้สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงไปได้ เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ใช้เปลี่ยนแปลงไป รวมถึง ความรู้ เทคนคิ วธิ กี ารในการสอนภาษานัน้ สามารถ เปลี่ยนแปลงไปตามความสามารถ หรอื ขอ้ จำกัดตา่ ง ๆ ของ เทคโนโลยีสารสนเทศทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน ซึง่ อาจเป็นอุปสรรคสำคัญในการสอนถ้าผสู้ อนไม่รู้เนื้อหาภาษา ทจ่ี ะสอนอย่างแท้จริง อาจทำให้สอนผิดหรอื สอนได้ไมต่ ามวตั ถปุ ระสงค์ทีก่ ำหนดไว้

7. Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) คือ การบูรณาการ (Interaction and Incorporation) ความรู้ ความสามารถ ทักษะ การผสมผสานในการใช้สื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีกับวิธีสอน เนื้อหา ในการออกแบบ การเรียนรู้อย่างสอดคล้องและเป็นระบบ ซึ่งประกอบไปด้วย องค์ประกอบสำคัญที่สัมพันธ์กันคือ เนื้อหา (Content : CK), วิธีสอน (Pedagogy : PK) และเทคโนโลยี (Technology : TK) ทีส่ ามารถทำใหผ้ เู้ รยี นมีทกั ษะมคี วามร้คู วามเข้าใจดา้ นภาษา และวัฒนธรรมทีเ่ รียน

31

บรรณานุกรม

กฎกระทรวง. (2550, 16 พฤษภาคม). ราชกจิ จานุเบกษา, เล่ม 124, ตอนที่ 24ก, หนา้ 29 - 36. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2546). พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พุทธศกั ราช 2542 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี 2)

พุทธศกั ราช 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :

ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2553). Road map จดุ เนน้ ส่กู ารพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น. กรุงเทพฯ : ชมุ นุมสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย. กง่ิ แก้ว เฟื่องศิลา. (2558). การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนวัดโพรงมะเดอื่ (ศรวี ิทยากร). วิทยานิพนธ์

ศึกษาศาสตรม์ หาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศิลปากร. จกั รี มนตป์ ระสทิ ธิ์. (2560). ปญั หาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการในโรงเรยี นขยายโอกาส

ทางการศกึ ษา อำเภอขลุง สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาจันทบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบณั ฑิต. ชลบรุ ี : มหาวทิ ยาลยั บูรพา. จณี ญั ญาพัจน์ โคตรหลักคำ. (2558). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 19. วิทยานพิ นธ์ การศึกษามหาบณั ฑติ . มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ดวงเดอื น แก้วฝา่ ย. (2558). ปจั จยั การบริหารงานวิชาการที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนกั งาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ . สกลนคร : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร. ดษุ ฎี มชั ฌิมาภโิ ร. (2553). การพฒั นารูปแบบการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั . ยะลา : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา. ทิศนา แขมมณี. (2556). รปู แบบการเรยี นการสอน: ทางเลอื กท่หี ลากหลาย (พิมพค์ รั้งที่ 8). กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ทศิ นา แขมมณี. (2560). ศาสตรก์ ารสอน องคค์ วามร้เู พอ่ื การจดั กระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ. (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 21). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

32

ธนสวรรณ ถาบตุ ร. (2561). การพฒั นาโปรแกรมพฒั นาครูดา้ นการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั สำหรับ สถานศึกษาสงั กดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นจังหวัดหนองคาย. วิทยานพิ นธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

ธญั ญลกั ษณ์ ผาภูม.ิ (2559). ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งภาวะผู้นำทางวิชาการกับประสิทธผิ ลการบรหิ ารงานวชิ าการ ของสถานศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 1. วทิ ยานิพนธ์ การศกึ ษา มหาบณั ฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บญุ เลีย้ ง ทุมทอง. (2556). ทฤษฎแี ละการพฒั นารปู แบบการจดั การเรียนรู้ (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : เอส พร้ินต้ิง ไทย แฟคตอร่ี.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2555). การบริหารงานวชิ าการ. กรุงเทพฯ : ศนู ย์ส่อื เสริมกรงุ เทพ. พรรษมน พนิ ทุสมิต. (2560). การปฏบิ ัติงานด้านการบรหิ ารวชิ าการของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา

ในจงั หวัดปทมุ ธานี. วิทยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต. ปทุมธานี : มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช มงคลธญั บุรี. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. (2542, 19 สิงหาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา, เลม่ 116, ตอนท่ี 74ก, หนา้ 1 - 23. พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545. (2545, 19 ธนั วาคม). ราชกิจจานเุ บกษา, เล่ม 119, ตอนที่ 123ก, หน้า 16 - 21. พมิ พร พ่ออามาตย์. (2560). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการของโรงเรยี นขยายโอกาสทาง การศกึ ษาในอำเภอสอยดาว สังกัดสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 2. วทิ ยานิพนธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑิต. ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา. พมิ ลพรรณ กลุ าสา. (2558). สภาพ ปญั หาและแนวทางในการบริหารงานวชิ าการในโรงเรียนขนาดเลก็ สังกัด สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาฬสินธุ์ เขต 2. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ . มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ไพฑรู ย์ สินลารตั น์. (2554). การจดั การหลักสตู รและการสอน (พมิ พ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ภญิ โญ สาธร. (2550). หลกั การบรหิ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : วัฒนาพานิช. ภรู ิตา เพือ่ วทิ ยา. (2561). ความสมั พันธ์ของภาวะผนู้ ำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารงานวิชาการของหัวหน้า กลมุ่ สาระการเรียนรโู้ รงเรยี น สังกัดสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 2. วิทยานิพนธ์ การศกึ ษามหาบัณฑติ . พะเยา : มหาวทิ ยาลัยพะเยา.

33

มณีรัตน์ อภวิ ัฒนวรรณ. (2559). การพัฒนาแนวทางการบรหิ ารงานวิชาการ ดา้ นการพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ สำหรับสถานศึกษาสงั กัดองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั มหาสารคาม. วทิ ยานพิ นธ์ การศกึ ษามหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม. (2559). ค่มู ือการเขยี นผลงานทางวชิ าการ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม.

มูนา จารง. (2560). การบริหารงานวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาตามทัศนะครผู ู้สอนในศูนยเ์ ครือข่ายตลง่ิ ชนั สังกดั สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 2. วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ . ยะลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ยทุ ธนา เกอื้ กลู . (2560). การพัฒนารปู แบบการบริหารงานวชิ าการของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จงั หวดั ชายแดนภาคใต้เพ่ือสร้างผู้เรียนสูค่ วามเปน็ มนษุ ย์ท่ีสมบรู ณ์. ดษุ ฎนี พิ นธ์ ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ . ปตั ตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

รงุ่ ชัชดาพร เวหะชาติ. (2555). การบริหารงานวิชาการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (พิมพ์คร้งั ที่ 6). สงขลา : นำศิลป.์ รุ่งชชั ดาพร เวหะชาติ. (2556). การบริหารจัดการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (พิมพ์ครง้ั ท่ี 5). สงขลา : ศูนย์หนังสือ

มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ. วัชรา เลา่ เรียนดี. (2556). ศาสตร์การนิเทศการสอนและการโคช้ : การพฒั นาวิชาชีพ : ทฤษฏี กลยทุ ธ์ สกู่ าร

ปฏบิ ัติ. นครปฐม : มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. วภิ าภรณ์ สร้อยคำ. (2560). การพัฒนารปู แบบการบริหารงานวชิ าการที่มปี ระสิทธผิ ลของโรงเรียนเอกชน สงั กดั

สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาในจงั หวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑติ . สกลนคร : ราชภฏั สกลนคร. วมิ ล เดชะ. (2559). การบรหิ ารงานวิชาการของผูบ้ ริหารโรงเรยี นดีประจำตำบล สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ที่ การศึกษาประถมศกึ ษาสตลู . วทิ ยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรม์ หาบัณฑติ . สงขลา : มหาวิทยาลยั หาดใหญ่. ศิรนิ ภา เมรตั น์ (2561). การศกึ ษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการในโรงเรยี นขนาดเล็ก สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาชมุ พร เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑติ . สรุ าษฎร์ธานี : ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี. สมาน กลมกูล. (2559). ปญั หาและแนวทางแก้ปญั หาการบรหิ ารงานวชิ าการโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกัดสำนกั งาน เขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบรุ ีรมั ย์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ . บุรีรมั ย์ : มหาวิทยาลยั ราชภฏั บรุ รี มั ย์.

34

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน. (2552). คู่มือการปฏิบตั งิ านขา้ ราชการครู. กรงุ เทพฯ : ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรงุ เทพฯ : พริกหวานกราฟฟคิ .

สำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน. (2556). คมู่ ือการบริหารโรงเรียนในโครงการพฒั นาการบรหิ าร รูปแบบนติ บิ ุคคล. กรงุ เทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สคุ นธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2545). การจัดกระบวนการเรียนรู้ : เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ตามหลักสูตร การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจริญทศั น์.

สุธินี แซ่ซนิ . (2561). การศึกษาความสมั พันธ์ระหวา่ งการบริหารงานวิชาการกบั คณุ ภาพของผู้เรียนใน สถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2. วิทยานิพนธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑิต. พะเยา : มหาวทิ ยาลัยพะเยา.

สรุ พงศ์ อง๊ึ โพธ.์ิ (2561). บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในการสง่ เสริมการเรียนรูท้ ่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ของ สถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วทิ ยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต. ราชบุรี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบึง.

ไสว ฟักขาว. (2542). การจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง. กรงุ เทพฯ : เอมพนั ธ์. หทัยชนก ปญั ญา. (2558). ประสิทธผิ ลการบรหิ ารงานวิชาการในโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา สงั กัด

สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 1. วทิ ยานพิ นธ์ ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ . สกลนคร : มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สกลนคร. หนูนิต ซ่อื สัตย์. (2560). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวชิ าการของโรงเรยี นเมืองพทั ยา 5 (บ้านเนนิ พัทธยาเหนือ) จงั หวดั ชลบรุ ี. วิทยานพิ นธ์ การศกึ ษามหาบณั ฑติ . ชลบุรี : มหาวิทยาลยั บูรพา. เอกชยั หมอกไชย. (2558). รูปแบบการบริหารงานวิชาการเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรยี นใน โรงเรยี น สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 32 บุรีรัมย์. วิทยานพิ นธ์ การศกึ ษา มหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. Bybee et.al. (2006). The BSCS 5E Instructional Model. Retrieve 30 March 2020, from http : //www.ashg.org/education/pdf/BSCS_5E_Model.pdf. Fry, H., Ketteridge, S., & Marshall, S. (2009). A handbook for teaching and learning in higher education (3rd ed.). London : Routledge.

35

Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (2008). Educational administration theory, research, and practice (8th ed.). New York : McGraw-Hill.

Koehler, M. J., & Mishra, P. (2016). Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK). Retrieve 30 March 2020, from http : //www.tpack.org/.

Sergiovanni, T. J., Kelleher, P., McCarthy, M. M., & Wirt, F. M. (2004). Educational governance and administration (5th ed.). Boston : Pearson/Allyn and Bacon.

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด