ก จกรรมกล มส มพ นธ ฝ กทำงานเป นท ม

บริษัท สยามสปอร์ต ซินติเคท จำกัด (มหาชน) เลขที่ 66/26 - 29 ซอยรามอินทรา 40 ถนนรามอินทรา แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ 10230

โทร : 02-5088-000 อีเมล์ : [email protected] เว็บไซต์ : www.siamsport.co.th

วันที่ 3 มกราคม 2567 ดร.พิเชฐร์ วันทอง รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. เป็นประธานเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการดำเนินการตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ก.ค.ศ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุมจรูญ มิลินทร์ สำนักงาน ก.ค.ศ. โดยได้มอบนโยบายการดำเนินการและชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการฯ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัดต่าง ๆ เพื ...

เผยแพร่: 24 ธ.ค. 2557 18:23 โดย: MGR Online

อาจารย์ประจำคณะศึกษาฯ ม.บูรพา ยื่นจดหมายเปิดผนึกถึง “ณรงค์” วอนมีคำสั่งยุติบทบาทของ “สมพล” ในฐานะรักษาการแทนอธิการบดี ชี้ทำงาน 6 เดือนแต่การทำงานไม่ชัดเจน พร้อมเรียกร้องให้สภามหา’ลัย สรรหาตัวจริงจากรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาฯ ได้นำเสนอ รวมทั้งขอให้ สกอ.ส่งคนกลางเข้าทำหน้าที่ดูแลการสรรหา ขณะที่ สจล.เตรียมสรรหาอธิการบดีคนใหม่ เปิดรับสมัคร 5-30 ม.ค.58 นี้และเสนอชื่อให้สภาสถาบันฯ พิจารณา 25 มี.ค. 58 วันนี้ (24 ธ.ค.) ที่ กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผศ.เชิดชัย ชาญสมุทร อาจารย์ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (มบ.) พร้อมด้วยคณาจารย์ และบุคลากร มบ. ประมาณ 10 คน เข้ายื่นหนังสือ พร้อมจดหมายเปิดผนึกของบุคลากร มบ. ฉบับที่ 1 ต่อ พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รมว.ศึกษาธิการ โดยมีผู้แทนมารับเพื่อขอให้ รมว.ศึกษาธิการ มีคำสั่งยุติบทบาทการทำหน้าที่ของ ศ.นพ.สมพล พงศไทย รักษาการแทนอธิการบดี มบ. ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย ภายในปี 2557 และขอให้ รมว.ศึกษาธิการ ดำเนินการให้สภามหาวิทยาลัยคัดเลือกผู้สมควรดำรงตำแหน่งอธิการบดีจากรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาอธิการบดี ที่เสนอสภาฯ ไว้แล้ว เพื่อให้ได้อธิการบดีตัวจริงโดยเร็ว รวมทั้งขอให้ตั้งคณะกรรมการเข้าไปกำกับดูแลเรื่องการบริหารงาน มบ. และการสรรหาอธิการบดีที่ค้างอยู่จนกว่าจะเสร็จสิ้น นอกจากนี้ขอให้สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ส่งบุคคลที่เป็นคนกลาง ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการสรรหาอธิการบดีมารักษาการแทนอธิการบดี มบ. โดยด่วน ก่อนที่มหาวิทยาลัยจะได้รับความเสียหายมากไปกว่านี้ “ขณะนี้ ศ.นพ.สมพล ดำรงตำแหน่งรักษาการแทนอธิการบดีมานานกว่า 6 เดือนแล้ว ซึ่งในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งนั้นมีการบริหารงานที่ไม่ชัดเจน ไม่เอาจริงเอาจัง คลุมเครือ และสร้างความแตกแยกให้เกิดขึ้นของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ขณะเดียวกันเมื่อมีการทุจริตคอรัปชั่นในมหาวิทยาลัย และคณะวิชาก็ไม่มีการดำเนินการเอาผิด อีกทั้งมีการแก้ระเบียบข้อบังคับต่างๆ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่พวกของตนเอง สิ่งเหล่านี้ได้ทำให้มหาวิทยาลัยเสื่อมเสียชื่อเสียง เกิดภาวะชงักงันในการบริหารจัดการ ขาดโอกาสในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง บุคลากรขาดขวัญและกำลังใจในการทำงาน บางคนต้องทำงานด้วยความหวาดระแวง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพการเรียนการสอนของอาจารย์และนิสิต อีกทั้งทำให้นิสิต ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปขาดความไว้เนื้อเชื่อใจ และขาดศรัทธาต่อมหาวิทยาลัยด้วย” ผศ.เชิดชัย กล่าว

ขณะที่ ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ ประธานกรรมการสรรหาอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดเผยว่า จากกรณี ศ.ดร.ถวิล พึ่งมา อดีตอธิการบดี สจล. ได้ถูกสภาสถาบัน สจล. ปลดจากตำแหน่ง และแต่งตั้งให้ รศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ รองอธิการบดี รักษาการแทนอธิการบดี และให้มีการสรรหาอธิการบดีคนใหม่แทนโดยเร็วนั้น คณะกรรมการสรรหาอธิการบดี สจล. ได้จัดการประชุมเพื่อกำหนดกรอบเวลาในการดำเนินการสรรหาอธิการบดีคนใหม่ โดยกำหนดให้ผู้ที่ประสงค์จะสมัครเป็นอธิการบดีส่งใบสมัคร เอกสารหลักฐาน ตั้งแต่วันที่ 5-30 ม.ค.58 , วันที่ 9 ก.พ.58 คณะกรรมการสรรหาฯ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้สมัครเข้ารับการสรรหา พร้อมเอกสารแสดงวิสัยทัศน์ที่สนองต่อวิสัยทัศน์ของสถาบันเรื่อง “การเป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 ใน 10 ของภูมิภาคอาเซียน ในปี ค.ศ.2020” และประกาศรายชื่อผู้เข้ารับการสรรหาที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด, วันที่ 27 ก.พ.58 ผู้สมัครรับการสรรหา เข้ารับการสัมภาษณ์และแสดงวิสัยทัศน์ต่อคณะกรรมการสรรหาฯ ,วันที่ 2 มี.ค.58 คณะกรรมการสรรหาฯ ประชุมเพื่อเสนอชื่อบุคคลต่อสภาสถาบันฯ, วันที่ 25 มี.ค.58 ประชุมสภาสถาบัน สจล. เพื่อให้ผู้ได้รับการเสนอชื่อแถลงวิสัยทัศน์

51

ขนั้ สอน 6. นกั ศกึ ษารบั เอกสารประกอบการสอน 6. ครแู จก เอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง 7. นักศึกษาน่ังฟังครูอธิบายด้วยความ เอก็ ซ์แพนชัน่ วาล์วใหน้ กั ศึกษา ตง้ั ใจ ขัน้ สอน 8. นักศึกษานั่งฟังครูอธบิ ายด้วยความ 7. ครูอธิบายเก่ียวกบั หน้าที่ของ ต้ังใจ เอก็ ซ์แพนชัน่ วาล์วโดยใชส้ ื่อแผ่นใสประกอบ 8. ครอู ธิบายเก่ียวกับสว่ นประกอบของ

เอ็กซ์แพนชน่ั วาล์วโดยใชส้ ื่อที่เปน็ เอก็ ซแ์ พนช่นั วาล์วแบบผา่

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ ) 5. ส่อื การเรียนการสอน

5.1 ส่ือสิง่ พิมพ์ ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต์. นนทบุรี : บริษัทศูนย์หนงั สือเมืองไทย จำกัด, 2562. 5.2 สอื่ โสตทัศน์

5.2.1 เคร่ืองฉายข้ามศีรษะ 5.2.2 แผ่นใส เร่ือง เอก็ แพนชัน่ วาล์ว

5.3 สื่อของจริง 5.3.1 ชุดทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ 5.3.2 เคร่อื งมือประจำตัว 5.3.3 เอก็ ซ์แพนชัน่ วาล์วแบบผ่าและแบบไม่ผ่า 5.3.4 ชุดอิวาพอเรเตอรแ์ บบผา่

52

6. การวัดผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏบิ ัตงิ าน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายหนว่ ย 11

วิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั วิชา 2101-2103 หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย อวิ าพอเรเตอร์ สอนครงั้ ที่ 10 จำนวน 4 คาบ

1. สาระสำคัญ

อิวาพอเรเตอร์ หรือตแู้ อร์ เปน็ อุปกรณท์ ี่ทำหน้าที่ ใหส้ ารความเย็นเปลีย่ นสถานะจาก ของเหลวเป็นไอหรือแก๊ส และดูดรับปริมาณความร้อนภายในห้องโดยสารเพ่ือใช้ในการเปล่ียน สถานะของสารความเย็นท่ีอยู่ภายในอวิ าพอเรเตอร์

2. สาระการเรียนรู้

2.1 อวิ าพอเรเตอร์ 2.1.1 หนา้ ที่ของอวิ าพอเรเตอร์

53

2.1.2 ส่วนประกอบของอิวาพอเรเตอร์ 2.1.3 ชนดิ ของอิวาพอเรเตอร์ 2.1.4 การทำงานของอิวาพอเรเตอร์ 2.2 มอเตอร์โบลเวอร์ 2.2.1 หนา้ ท่ขี องมอเตอรโ์ บลเวอร์ 2.2.2 ส่วนประกอบของมอเตอร์โบลเวอร์ 2.2.3 ชนิดของมอเตอรโ์ บลเวอร์ 2.3 บทสรุป

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จุดประสงค์ท่ัวไป : เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั อิวาพอเรเตอร์ ซึ่ง เป็นอุปกรณห์ ลักของระบบปรบั อากาศรถยนต์

3.2 จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม : เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นมีความสามารถ ดังนี้ 3.2.1 อธบิ ายหน้าทีข่ องอิวาพอเรเตอรไ์ ด้ 3.2.2 บอกสว่ นประกอบของอวิ าพอเรเตอรไ์ ด้ 3.2.3 บอกชนดิ ของอิวาพอเรเตอร์ได้ 3.2.4 อธิบายหลกั การทำงานของอวิ าพอเรเตอร์ได้ 3.2.5 อธิบายหน้าท่ีของมอเตอร์โบลเวอรไ์ ด้ 3.2.6 บอกสว่ นประกอบของมอเตอร์โบลเวอร์ได้ 3.2.7 บอกชนิดของมอเตอรโ์ บลเวอร์ได้ 3.2.8 บอกชนิดของมอเตอรโ์ บลเวอรท์ ใี่ ช้อวิ าพอเรเตอร์แตล่ ะชนิดได้ 3.2.9 ถอด และประกอบอิวาพอเรเตอรต์ ามข้นั ตอนได้ 3.2.10 ตรวจสอบการรวั่ ของอิวาพอเรเตอร์ได้ 3.2.11 ตรวจสอบมอเตอรโ์ บลเวอร์ได้ 3.2.12 มีกิจนิสัยทีด่ ใี นการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏบิ ัติงานดว้ ยความประณตี

รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงต่อเวลา และรักษาสภาพแวดลอ้ ม

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้ันตอนการเรยี นของนักศึกษา 1. นกั ศกึ ษาขานชอื่ เม่อื ครเู รียกช่ือ ขั้นตอนการสอนของครู (ช่ัวโมงที่ 1) ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน

1. ครตู รวจสอบการมาเรยี นของนักศึกษา

54

โดยการเช็คชื่อ 2. นกั ศกึ ษานัง่ ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ 2. ครูชแ้ี จงรายละเอียดหัวข้อเร่อื งทีจ่ ะเรยี น ต้ังใจ

ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และจุดประสงค์ 3. นกั ศกึ ษานัง่ ฟังครูอธบิ ายด้วยความ การเรียนรใู้ ห้นกั ศกึ ษาทราบ ตงั้ ใจ 3. ครชู ้ีแจงเกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผล ใหน้ ักศึกษาทราบ 4. นักศกึ ษานงั่ ฟังครูอธิบายด้วยความ 4. ครูทบทวนความรเู้ ดิมทเ่ี รยี นมาแล้ว ตั้งใจ 5. ครูสนทนาและซักถามนักศกึ ษาอปุ กรณ์ ใดในระบบปรับอากาศท่ีทำหน้าท่ีดูดรับ 5. นกั ศึกษาตอบคำถาม ปริมาณความร้อน

ข้นั สอน 6. นกั ศึกษารบั เอกสารประกอบการสอน 6. ครแู จก เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง 7. นักศกึ ษานงั่ ฟังครูอธิบายดว้ ยความ อวิ าพอเรเตอร์ ใหน้ ักศกึ ษา ต้งั ใจ 7. ครูอธิบายเกี่ยวกบั หน้าท่ีของ 8. นกั ศกึ ษาน่งั ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ อิวาพอเรเตอร์โดยใช้ส่ือแผน่ ใสประกอบ ต้ังใจ 8. ครูอธิบายเกย่ี วกบั สว่ นประกอบของ 9. นักศึกษานั่งฟงั ครูอธบิ ายด้วย อวิ าพอเรเตอร์โดยใช้สอ่ื ของจรงิ ท่ีเปน็ ความตั้งใจ อวิ าพอเรเตอร์ประกอบ 14. ครูอธบิ ายเกย่ี วกับชนิดของอิวาพอ- 10. นกั ศกึ ษานง่ั ฟังครอู ธบิ ายดว้ ย เรเตอร์ โดยใช้ส่ือแผน่ ใสประกอบ ความตั้งใจ 15. ครูอธบิ ายเกี่ยวกับทำงานของ

อิวาพอเรเตอร์โดยใชส้ ื่อแผน่ ใส ประกอบ

16. ครูอธิบายเกย่ี วกับหนา้ ท่ีของมอเตอร์ 11. นักศกึ ษานง่ั ฟังครอู ธบิ ายดว้ ย โบลเวอร์โดยใช้สื่อแผน่ ใสประกอบ ความตั้งใจ

17. ครูอธบิ ายเกย่ี วกับส่วนประกอบของ 12. นกั ศกึ ษานั่งฟงั ครูอธบิ ายด้วย มอเตอร์โบลเวอร์โดยใช้สือ่ ของจรงิ ความตง้ั ใจ

18. ครูอธบิ ายเก่ยี วกับชนดิ ของมอเตอร์ 13. นักศกึ ษาน่งั ฟังครูอธบิ ายด้วย โบลเวอร์โดยใชส้ ื่อของจริงประกอบ ความตง้ั ใจ

55

ขน้ั สรุปผล 14. นกั ศกึ ษาช่วยกันสรุปเนอ้ื หา 19. ครแู ละนกั ศึกษาชว่ ยกันสรปุ เนอื้ หา เกี่ยวกบั 15. นักศึกษาทำแบบฝึกหัดประจำหนว่ ย 14.1 หนา้ ท่ีของอิวาพอเรเตอร์ 17. นักศึกษาเฉลยแบบฝกึ หัด 14.2 ส่วนประกอบของอิวาพอเรเตอร์ 14.3 ชนิดของอิวาพอเรเตอร์ 14.4 การทำงานของอิวาพอเรเตอร์ 14.5 หนา้ ท่ขี องมอเตอร์โบลเวอร์ 14.6 สว่ นประกอบของมอเตอร์โบล เวอร์ 14.7 ชนิดของมอเตอร์โบลเวอร์ 20. ครูใหน้ ักศึกษาทำแบบฝึกหัดเร่ือง อิวาพอเรเตอร์ 21. ครแู ละนกั ศึกษารว่ มกันเฉลยคำตอบ

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ต่อ) ข้นั ตอนการเรียนของนักศกึ ษา

ข้นั ตอนการสอนของครู 1. นกั ศกึ ษานง่ั ฟังครูอธบิ ายดว้ ยความ (ช่ัวโมงที่ 2-7) ตั้งใจ และตอบคำถาม ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น 2. นักศึกษาช่วยจดั เตรียมเครอ่ื งมือวัสดุ 1. ครูทบทวนความรูเ้ ดิมท่เี รียนในชัว่ โมงท่ี และอปุ กรณ์ 1 เรื่อง อวิ าพอเรเตอร์โดยใช้คำถามกระตุ้น

2. ครูจัดเตรียมเครอื่ งมือ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้สำหรับฝกึ ปฏิบตั ิงาน และ สาธติ

ขนั้ สอน

56

3. ครูแจก ใบงาน เรอ่ื ง การถอด ประกอบ 3. นักศึกษารับใบงาน และตรวจสอบชดุ อวิ าพอเรเตอร์ ให้ นกั ศึกษา 4. นักศกึ ษาน่ังฟงั ครูอธบิ ายด้วย ความตง้ั ใจ 4. ครูแนะนำการใช้ใบงานและข้อควรระวัง ต่าง ๆในการปฏิบตั งิ าน 5. นกั ศกึ ษาสังเกตการสาธติ การถอด ประกอบและตรวจสอบอวิ าพอเรเตอร์ 5. ครสู าธติ การถอด ประกอบและ ตรวจสอบอิวาพอเรเตอร์ ให้นักศึกษาดู 6. นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ 7. นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน 6. ครูแบ่งนักศึกษาเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 8. นกั ศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิงานตามใบงาน 7. ครูใหน้ กั ศึกษาปฏิบตั ิตามใบงาน 8. ครคู วบคุมดแู ลและตอบข้อซักถามของ

นักศกึ ษาระหว่างที่นักศึกษาปฎิบตั งิ าน

ข้นั สรปุ ผล 9. นกั ศึกษาชว่ ยกันสรุปเนือ้ หา 9. ครูและนกั ศกึ ษาชว่ ยกนั สรปุ เนอื้ หา 10. นักศึกษาสอบปฏบิ ัติ

อกี คร้ังหนงึ่ 10. ครูใหน้ ักศึกษาทดสอบการถอด

ประกอบและ ตรวจสอบอวิ าพอเร เตอร์

5. สอื่ การเรยี นการสอน

5.1 ส่ือสิ่งพิมพ์ ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต.์ นนทบรุ ี : บริษัทศนู ยห์ นังสือเมืองไทย จำกัด, 2562. 5.2 สอ่ื โสตทัศน์

5.2.1 เครอ่ื งฉายข้ามศีรษะ 5.2.2 แผ่นใส เร่ือง อิวาพอเรเตอร์ 5.3 ส่อื ของจรงิ 5.3.1 ชดุ ทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ 5.3.2 เครื่องมือประจำตัว 5.3.3 ชดุ อิวาพอเรเตอร์แบบผา่

57

5.3.4 แปรงขนอ่อน 5.3.5 ผงซักฟอก 5.3.6 ป๊ัมลมพร้อมหัวเป่าลม 5.3.7 สารความเยน็

6. การวัดผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏิบตั ิงาน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี 6.3 ทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายหนว่ ย 12

วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหสั วชิ า 20101-2105 หนว่ ยที่ ชอ่ื หนว่ ย ระบบไฟฟา้ ควบคมุ เครือ่ งปรับอากาศรถยนต์ สอนครั้งท่ี 11-12 จำนวน 14 คาบ

1. สาระสำคัญ

ระบบไฟฟ้าควบคุมเครื่องปรับอากาศรถยนต์ จะทำหน้าท่ีในการควบคุมการทำงาน ของคอมเพรสเซอร์โดยทำการตัดต่อการทำงานของคลัตช์แม่เหล็กอีกทั้งยังทำหน้าที่ในการ ควบคุมความเร็วของมอเตอร์โบลเวอร์ตามความต้องการของผู้ใช้เคร่ืองปรับอากาศ ตลอดจนเป็น การควบคมุ อุณหภมู ิภายในห้องโดยสารให้อยู่ในระดบั ทีต่ ้องการไดอ้ กี ด้วย

58

2. สาระการเรียนรู้

2.1 หนา้ ทขี่ องระบบไฟฟ้าควบคุมเครอ่ื งปรบั อากาศรถยนต์ 2.2 อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ควบคุมเคร่ืองปรบั อากาศรถยนต์

2.2.1 อุปกรณ์ควบคมุ การทำงานขั้นพ้นื ฐาน 2.2.2 อุปกรณ์ควบคมุ เครื่องปรบั อากาศแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 2.2.3 อปุ กรณ์ป้องกันความเสียหาย 2.2.4 อปุ กรณ์เพิ่มรอบเดินเบา 2.3 วงจรไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศรถยนต์ 2.3.1 วงจรไฟฟา้ เครื่องปรับอากาศรถยนตแ์ บบไมใ่ ชร้ ีเลย์ 2.3.2 วงจรไฟฟา้ เครือ่ งปรับอากาศรถยนต์แบบใช้รีเลย์ 2.4 บทสรปุ

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป : เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ระบบไฟฟ้า ควบคมุ เครือ่ งปรบั อากาศรถยนต์

3.2 จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม : เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามสามารถ ดงั น้ี 3.2.1 อธิบายหนา้ ทขี่ องระบบไฟฟา้ ควบคุมเคร่อื งปรับอากาศรถยนต์ได้ 3.2.2 อธบิ ายหน้าทีข่ องอุปกรณ์ควบคมุ แต่ละประเภทได้ 3.2.3 บอกชนดิ ของอุปกรณค์ วบคุมแตล่ ะประเภทได้ 3.2.4 อธิบายหลักการทำงานของอปุ กรณเ์ พิม่ รอบเดินเบาได้ 3.2.5 อธิบายการเขียนวงจรไฟฟา้ เคร่อื งปรับอากาศรถยนต์ได้ 3.2.6 บอกชื่อสัญลกั ษณข์ องอุปกรณใ์ นวงจรไฟฟ้าเครือ่ งปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 3.2.7 บอกชื่ออุปกรณท์ ใ่ี ชค้ วบคมุ ความเรว็ ของมอเตอรโ์ บลเวอร์ในวงจรไฟฟ้า

เครือ่ งปรับอากาศรถยนต์ได้

59

3.2.8 ตรวจสอบรีเลย์ของระบบปรับอากาศรถยนต์ได้ 3.2.9 ตรวจสอบสวติ ช์ควบคมุ มอเตอร์โบลเวอรห์ รือสวิตช์พัดลมของระบบปรบั อากาศรถยนต์ได้ 3.2.10 ตรวจสอบเทอร์โมสตัตได้ 3.2.11 ตรวจสอบเทอร์มสิ เตอร์ได้ 3.2.12 ตอ่ วงจรไฟฟ้าเครอื่ งปรับอากาศรถยนต์แบบไม่ใช้รีเลย์ตามข้นั ตอนได้ 3.2.13 ต่อวงจรไฟฟ้าเครอ่ื งปรบั อากาศรถยนต์แบบใช้รเี ลย์ตามข้นั ตอนได้ 3.2.14 มกี จิ นสิ ยั ที่ดใี นการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏิบัติงานด้วยความประณีต รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงตอ่ เวลา และรกั ษาสภาพแวดล้อม

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน ขนั้ ตอนการเรียนของนักศึกษา

ขั้นตอนการสอนของครู

60

(ช่ัวโมงที่ 1) สอนครง้ั ที่ 1 1. นกั ศึกษาขานชือ่ เม่ือครเู รยี กช่ือ ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น 2. นักศึกษานง่ั ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ 1. ครูตรวจสอบการมาเรียนของนักศกึ ษา ตั้งใจ โดยการเชก็ ชอ่ื 3. นกั ศึกษานั่งฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ 2. ครูชี้แจงรายละเอยี ดหัวข้อเรือ่ งทีจ่ ะเรียน ตงั้ ใจ ตลอดจนสาระการเรียนรู้ และจดุ ประสงค์ การเรยี นร้ใู ห้นักศกึ ษาทราบ 4. นักศกึ ษาน่งั ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ ตั้งใจ 3. ครูชี้แจงเกณฑก์ ารวัดผลและประเมินผล ใหน้ กั ศกึ ษาทราบ 5. นักศึกษาตอบคำถาม

4. ครูทบทวนความรู้เดิมทีเ่ รยี นมาแล้ว 5. ครสู นทนาและซักถามนักศกึ ษาเก่ยี วกับ

ว่าการเปิด-ปดิ เครื่องปรับอากาศรถยนต์ ทำได้อย่างไร

ขัน้ สอน 6. นกั ศกึ ษารบั เอกสารประกอบการสอน 6. ครแู จก เอกสารประกอบการสอน เร่อื ง ระบบไฟฟ้าควบคุมเคร่อื งปรับอากาศ 7. นกั ศกึ ษานง่ั ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ รถยนต์ใหน้ กั ศึกษา ตัง้ ใจ 7. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั หนา้ ท่ีของระบบไฟฟา้ ควบคุมเครอ่ื งปรับอากาศรถยนต์โดยใช้ 8. นักศึกษาน่งั ฟังครูอธิบายด้วยความ แผน่ ใสประกอบ ตงั้ ใจ 8. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกับอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ใน การควบคุมเครือ่ งปรับอากาศรถยนต์โดย ใช้แผน่ ใสประกอบ

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ ) ขัน้ ตอนการเรียนของนักศกึ ษา

ขั้นตอนการสอนของครู

61

9. ครอู ธบิ ายเก่ียวกับอปุ กรณ์ควบคุม 9. นกั ศึกษานั่งฟังครอู ธบิ ายด้วยความ การทำงานขั้นพน้ื ฐาน เชน่ สวติ ช์ ตงั้ ใจ ควบคุมมอเตอร์โบลเวอร์, เทอรโ์ มสตตั แบบต่าง ๆ ฯลฯ โดยใช้ส่ือของจริง 10. นักศึกษาน่ังฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ ต้ังใจ 10. ครอู ธิบายเก่ียวกบั หนา้ ท่ีของรีเลย์ โครงสรา้ งและหลักการทำงานโดยใชส้ ่ือ 11. นกั ศึกษานงั่ ฟังครอู ธบิ ายด้วยความ ของจริง และแผ่นใส ตง้ั ใจ

11. ครอู ธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ควบคุม 12. นกั ศกึ ษานงั่ ฟงั ครอู ธบิ ายด้วยความ เครือ่ งปรับอากาศแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตงั้ ใจ โดยใชส้ ่อื แผน่ ใส 13. นักศกึ ษานงั่ ฟงั ครอู ธบิ ายด้วยความ 12. ครูอธิบายเก่ียวกบั อุปกรณ์ป้องกัน ตงั้ ใจ ความเสียหาย เชน่ สวติ ช์ควบคมุ ความดัน ฯลฯ โดยใช้สือ่ ของจรงิ 14. นักศกึ ษาช่วยกนั สรุปเนือ้ หา

13. ครอู ธิบายเก่ยี วกบั อุปกรณ์เพ่ิมรอบ 15. นักศึกษาทำแบบฝกึ หดั ประจำหนว่ ย เดนิ เบาโดยใชส้ อ่ื แผน่ ใสและของจริง ข้นั ตอนการเรยี นของนักศกึ ษา ข้นั สรปุ ผล 16. นกั ศกึ ษาเฉลยแบบฝึกหัด 14. ครแู ละนักศึกษาชว่ ยกนั สรุปเนื้อหา

เก่ียวกับ 14.1 หนา้ ที่ของระบบไฟฟา้ ควบคมุ 14.2 อปุ กรณค์ วบคุมการทำงานขัน้ พน้ื ฐาน และรีเลย์ 14.3 อุปกรณค์ วบคุมเคร่อื งปรับอากาศ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 14.4 อปุ กรณป์ ้องกนั ความเสยี หาย 14.5 อปุ กรณ์เพิ่มรอบเดินเบา 15. ครูใหน้ ักศกึ ษาทำแบบฝึกหดั ประจำหนว่ ย

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ )

ขั้นตอนการสอนของครู 16. ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั เฉลยคำตอบ (ชัว่ โมงที่ 2-7) สอนครั้งท่ี 1

62

ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. นักศึกษานง่ั ฟังครูอธบิ ายด้วยความ 1. ครทู บทวนความรู้เดมิ ทเี่ รียนในชวั่ โมงที่ ตัง้ ใจ และตอบคำถาม 1 เร่อื ง ระบบไฟฟา้ ควบคุมครอื่ ง ปรับอากาศรถยนต์ โดยใช้คำถามกระตุน้ 2. นกั ศกึ ษาช่วยจัดเตรยี มเครอ่ื งมือ วัสดุ 2. ครูจัดเตรยี มเคร่ืองมอื วัสดแุ ละอปุ กรณ์ และอุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้สำหรับฝึกปฏบิ ัตงิ าน และ สาธติ 3. นักศกึ ษารับใบงาน

ขั้นสอน 4. นักศกึ ษานงั่ ฟังครูอธิบายดว้ ยความ 3. ครแู จก ใบงาน เรื่อง การตรวจสอบรเี ลย์, ต้ังใจ

การตรวจสอบสวิตช์ควบคุมมอเตอร์ 5. นักศกึ ษาสงั เกตการสาธิตการ โบลเวอร์,การตรวจสอบเทอร์โมสตัต ตรวจสอบรีเลย,์ การตรวจสอบ การตรวจสอบเทอร์มิสเตอร์ ใหน้ กั ศึกษา สวิตช์มอเตอรโ์ บลเวอร์,การตรวจสอบ 4. ครูแนะนำการใช้ใบงานและข้อควรระวัง เทอรโ์ มสตตั และการตรวจสอบ ต่าง ๆ ในการปฏบิ ตั ิงาน เทอรม์ สิ เตอร์ 5. ครูสาธิตการตรวจสอบรเี ลย์ การตรวจสอบ สวิตช์ควบคมุ มอเตอร์โบลเวอร์ 6. นักศกึ ษาแบง่ กลุ่มตามความสมัครใจ การตรวจสอบเทอรโ์ มสตัต 7. นักศกึ ษาฝึกปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน การตรวจสอบเทอร์มิสเตอร์ ให้นกั ศึกษาดู 8. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบัติงานตามใบงาน 9. นกั ศึกษาช่วยกันสรุปเนื้อหา 6. ครแู บ่งนกั ศึกษาเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 7. ครใู หน้ กั ศึกษาปฏบิ ัติตามใบงาน ข้นั ตอนการเรยี นของนกั ศึกษา 8. ครคู วบคมุ ดแู ลและตอบข้อซักถามของ 10. นกั ศึกษาสอบปฏิบตั ิ นกั ศกึ ษาระหว่างทีน่ กั ศึกษาปฎิบตั งิ าน 9. ครแู ละนักศกึ ษาช่วยกันสรุปเน้ือหาอกี

ครั้งหนึง่

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ต่อ)

ข้ันตอนการสอนของครู ขั้นสรปุ ผล

10. ครใู ห้นกั ศกึ ษาทดสอบการตรวจสอบ รเี ลย์ การตรวจสอบสวิตช์มอเตอร์ โบลเวอร์ การตรวจสอบเทอรโ์ มสตัต

63

และการตรวจสอบเทอร์มสิ เตอร์

(ชั่วโมงที่ 1) สอนคร้งั ท่ี 2 1. นักศึกษาขานชื่อเม่ือครูเรียกชอื่ ข้ันนำเข้าสูบ่ ทเรยี น 2. นกั ศกึ ษานง่ั ฟังครูอธบิ ายดว้ ยความ 1. ครตู รวจสอบการมาเรยี นของนกั ศึกษา ตั้งใจ โดยการเช็กชอื่ 3. นกั ศึกษานง่ั ฟังครูอธิบายดว้ ยความ 2. ครชู แ้ี จงรายละเอียดหัวข้อเรือ่ งท่จี ะเรยี น ตง้ั ใจ ตลอดจนสาระการเรียนรู้ และ 4. นกั ศกึ ษานัง่ ฟงั ครูอธบิ ายดว้ ยความ จดุ ประสงค์ ตง้ั ใจ การเรยี นรใู้ หน้ กั ศึกษาทราบ 5. นกั ศึกษาตอบคำถาม 3. ครชู ้ีแจงเกณฑก์ ารวัดผลและประเมนิ ผล ใหน้ กั ศกึ ษาทราบ

4. ครูทบทวนความร้เู ดิมท่ีเรยี นมาแลว้ 5. ครูสนทนาและซักถามนักศกึ ษาเกี่ยวกับ

วงจรไฟฟ้าเครอื่ งปรับอากาศรถยนต์

ขั้นสอน 6. นักศึกษานำเอกสารประกอบการสอน 6. ครูใหน้ กั ศึกษานำเอกสารประกอบการ มาศึกษา สอนที่แจกในคร้ังท่ี 1 มาศกึ ษา เรื่อง วงจรไฟฟา้ เครือ่ งปรับอากาศรถยนต์ 7. นักศึกษานั่งฟงั ครูอธิบายด้วยความ 7. ครูอธบิ ายเกี่ยวกบั วงจรไฟฟา้ เคร่ือง ตั้งใจ ปรบั อากาศรถยนต์แบบไม่ใช้รีเลยโ์ ดยใช้ แผ่นใสประกอบ

ข้ันตอนการสอนของครู ขนั้ ตอนการเรียนของนกั ศึกษา

64

8. ครูอธิบายเกีย่ วกบั หลักการทำงานของ 8. นกั ศกึ ษานั่งฟังครูอธบิ ายดว้ ยความตง้ั ใจ วงจรไฟฟ้าเคร่อื งปรับอากาศรถยนต์แบบ 9. นกั ศึกษานัง่ ฟังครูอธิบายดว้ ยความ ไม่ใชร้ เี ลย์โดยใช้แผน่ ใสประกอบ ตั้งใจ 10. นกั ศกึ ษาน่งั ฟงั ครอู ธบิ ายด้วย 9. ครอู ธิบายเกี่ยวกับวงจรไฟฟา้ เคร่อื งปรบั อากาศรถยนต์แบบใช้รีเลยโ์ ดย ความต้งั ใจ ใชแ้ ผ่นใสประกอบ 11. นักศกึ ษาช่วยกนั สรุปเนือ้ หา 10. ครูอธบิ ายเกี่ยวกับหลักการทำงานของ วงจรไฟฟา้ เคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ 12. นักศึกษาทำแบบฝกึ หัดประจำหน่วย แบบใชร้ เี ลย์โดยใช้แผ่นใสประกอบ 13. นักศึกษาเฉลยแบบฝกึ หัด

ข้ันสรปุ ผล 1. นกั ศึกษานง่ั ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ 11. ครแู ละนักศกึ ษาชว่ ยกันสรปุ เนอื้ หา ต้ังใจ และตอบคำถาม

เกี่ยวกับ 2. นักศกึ ษาช่วยจดั เตรยี มเครือ่ งมือ วัสดุ 11.1 วงจรไฟฟา้ เครอ่ื งปรบั อากาศ และอุปกรณ์

รถยนต์แบบไมใ่ ชร้ เี ลย์ ข้ันตอนการเรียนของนกั ศึกษา 11.2 การตอ่ วงจรไฟฟ้า เคร่ืองปรับอากาศ

รถยนต์แบบใช้รเี ลย์ 12. ครูใหน้ ักศึกษาทำแบบฝึกหัดประจำหน่วย

ประมาณ 10 นาที 13. ครแู ละนกั ศึกษาร่วมกนั เฉลยคำตอบ (ชั่วโมงที่ 2-7) สอนคร้งั ที่ 2 ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมท่เี รียนในชั่วโมงท่ี

1 เร่ืองวงจรไฟฟ้าเครื่องปรบั อากาศรถยนต์ โดยใช้คำถามกระตนุ้ 2. ครูจัดเตรียมเคร่ืองมอื วัสดุและอุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ทใี่ ช้สำหรับฝึกปฏิบัติงาน และ สาธติ

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ )

ขั้นตอนการสอนของครู ขน้ั สอน

65

3. ครแู จก ใบงาน เร่อื ง การตอ่ วงจรไฟฟา้ 3. นักศกึ ษารบั ใบงาน เครือ่ งปรบั อากาศรถยนตแ์ บบไม่ใช้รีเลย์ และแบบใช้รเี ลย์ ให้นักศกึ ษา 4. นักศกึ ษานั่งฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ ตัง้ ใจ 4. ครูแนะนำการใช้ใบงานและขอ้ ควรระวัง ต่าง ๆในการปฏิบตั งิ าน 5. นกั ศึกษาสงั เกตการสาธิตการตอ่ วงจรไฟฟ้าเคร่ืองปรับอากาศรถยนต์ 5. ครสู าธติ การตอ่ วงจรไฟฟ้า แบบไม่ใช้รีเลย์และแบบใชร้ เี ลย์ เครอ่ื งปรับอากาศรถยนต์แบบไม่ใชร้ ีเลย์ และแบบใช้รีเลย์ ให้นกั ศกึ ษาดู 6. นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ 7. นกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน 6. ครูแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 8. นกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัติงานตามใบงาน 7. ครูใหน้ ักศกึ ษาปฏบิ ัติตามใบงาน 8. ครคู วบคมุ ดูแลและตอบข้อซกั ถามของ

นักศกึ ษาระหว่างทน่ี ักศึกษาปฎบิ ัตงิ าน

ข้นั สรุปผล 9. นกั ศึกษาช่วยกนั สรุปเนอ้ื หา 9. ครแู ละนกั ศกึ ษาช่วยกนั สรุปเน้ือหา 10. นกั ศกึ ษาสอบปฏิบัติ

อีกครัง้ หน่งึ 10. ครูใหน้ กั ศกึ ษาทดสอบการต่อ วงจรไฟฟา้

เคร่ืองปรับอากาศรถยนต์แบบไมใ่ ช้รีเลย์ และแบบใช้รเี ลย์

5. สอ่ื การเรียนการสอน

5.1 ส่ือสงิ่ พิมพ์ ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรงุ รักษารถยนต์. นนทบรุ ี : บริษัทศูนยห์ นงั สือเมืองไทย จำกัด, 2562. 5.2 สื่อโสตทัศน์

66

5.2.1 เครื่องฉายข้ามศรษี ะ 5.2.2 แผ่นใส เรอื่ ง ระบบไฟฟ้าควบคุมเครอ่ื งปรบั อากาศรถยนต์ 5.3 สือ่ ของจริง 5.3.1 ชดุ ทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ 5.3.2 สายต่อวงจร 5.3.3 หม้อแปลงไฟฟา้ ขนาด 12 โวลท์ หรือแบตเตอรี่ 5.3.4 เทอร์โมมิเตอร์ 5.3.5 มลั ติมเิ ตอร์

6. การวดั ผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏิบตั งิ าน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี 6.3 ทดสอบภาคปฏิบัติ

67

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายหน่วย

วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัสวิชา 20101-2105 หน่วยที่ 13 ช่อื หนว่ ย การตดิ ต้งั อปุ กรณ์ระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 13 จำนวน 4 คาบ

1. สาระสำคัญ

ระบบปรับอากาศรถยนต์มีส่วนประกอบอยู่ด้วยกันหลายชิ้น เช่น คอมเพรสเซอร์ อิวาพอเรเตอร์ ฯลฯ การนำอุปกรณ์เหล่านี้มาติดต้ังจะต้องปฏิบัติให้ถูกตามวิธีการ และข้ันตอน ท่ีถูกต้อง เพ่ือท่ีจะช่วยให้ระบบปรับอากาศรถยนต์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจน เพ่ือยืดอายกุ ารใชง้ านของอปุ กรณ์อีกดว้ ย

2. สาระการเรียนรู้

1. การตดิ ตงั้ คอมเพรสเซอร์ 2. การตดิ ตง้ั คอนเดนเซอร์ 3. การตดิ ตัง้ รซี ีฟเวอร์ ดรายเออร์ 4. การติดตั้งชดุ อวิ าพอเรเตอร์ 5. การตดิ ตั้งท่อสารความเย็น 6. บทสรปุ

68

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

3.1 จุดประสงค์ทว่ั ไป : เพื่อให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์ หลกั ต่าง ๆ ของระบบปรับอากาศรถยนต์

3.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : เพ่อื ให้ผเู้ รยี นมีความสามารถ ดังน้ี 3.2.1 อธบิ ายหลักการพิจารณาในการติดต้ังคอมเพรสเซอรไ์ ด้ 3.2.2 อธบิ ายหลกั การพจิ ารณาในการติดต้ังคอนเดนเซอร์ได้ 3.2.3 อธิบายหลกั การพิจารณาในการตดิ ต้ังรีซฟี เวอร์ ดรายเออร์ได้ 3.2.4 อธบิ ายหลกั การพจิ ารณาในการตดิ ต้งั ชุดอิวาพอเรเตอร์ได้ 3.2.5 อธบิ ายหลกั การพิจารณาในการตดิ ตั้งท่อสารความเย็นได้ 3.2.6 ติดต้ังคอมเพรสเซอร์ได้ 3.2.7 ติดต้ังคอนเดนเซอร์ได้ 3.2.8 ติดตั้งชุดอวิ าพอเรเตอร์ได้ 3.2.9 ติดตั้งรซี ีฟเวอร์ ดรายเออรไ์ ด้ 3.2.10 ติดตง้ั ท่อสารความเยน็ ได้ 3.2.11 มีกิจนิสัยทด่ี ใี นการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏิบัติงานด้วยความประณตี

รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงตอ่ เวลา และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม

69

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน ขนั้ ตอนการเรียนของนักศึกษา

ขน้ั ตอนการสอนของครู 1. นักศึกษาขานชอื่ เม่ือครเู รียกช่อื (ช่ัวโมงท่ี 1) ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน 2. นักศกึ ษานง่ั ฟังครูอธบิ ายด้วยความ ตง้ั ใจ 1. ครตู รวจสอบการมาเรยี นของนักศึกษา โดยการเชก็ ช่อื 3. นักศึกษาน่งั ครูอธบิ ายฟงั ด้วยความ ต้ังใจ 2. ครูชแ้ี จงรายละเอยี ดหัวข้อเร่ืองทจี่ ะเรยี น ตลอดจนสาระการเรียนรู้ และจุดประสงค์ 4. นกั ศึกษานั่งครอู ธิบายฟงั ดว้ ยความ การเรียนร้ใู ห้นกั ศกึ ษาทราบ ตัง้ ใจ

3. ครชู ้แี จงเกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผล 5. นักศึกษาตอบคำถาม ใหน้ ักศึกษาทราบ 6. นักศกึ ษารบั เอกสารประกอบการสอน 4. ครูทบทวนความรเู้ ดิมท่เี รยี นมาแล้ว 5. ครูสนทนาและซักถามนักศึกษาว่าจะทำ 7. นกั ศึกษานั่งฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ ตงั้ ใจ อยา่ งไรกับอปุ กรณ์ในระบบปรบั อากาศ เพือ่ ให้เกดิ การทำงานเปน็ วัฎจกั ร 8. นักศึกษานั่งฟงั ครูอธิบายด้วยความ ขนั้ สอน ตัง้ ใจ 6. ครูแจก เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง งานติดตง้ั อปุ กรณ์ระบบปรบั อากาศ 9. นักศกึ ษาน่ังฟงั ครูอธบิ ายด้วย รถยนตใ์ หน้ กั ศึกษา ความตง้ั ใจ 7. ครอู ธบิ ายเก่ียวกับการตดิ ตง้ั คอมเพรสเซอร์โดยใช้แผ่นใสประกอบ 10. นกั ศึกษานั่งฟังครอู ธิบายด้วย 8. ครูอธบิ ายเกย่ี วกับการติดต้งั ความตั้งใจ คอนเดนเซอร์โดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ 9. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั การติดตัง้ ชุด อวิ าพอเรเตอรโ์ ดยใช้แผน่ ใสประกอบ 10. ครูอธิบายเก่ียวกับการตดิ ต้ัง รซี ีฟเวอร์ ดรายเออร์โดยใช้แผ่นใส ประกอบ

70

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ต่อ) ขน้ั ตอนการเรียนของนักศกึ ษา 11. นกั ศึกษานง่ั ฟงั ครูอธบิ ายด้วย ข้ันตอนการสอนของครู 11. ครูอธิบายเก่ียวกับการตดิ ตง้ั ท่อ ความตั้งใจ 12. นกั ศกึ ษาช่วยกันสรปุ เนือ้ หา สารความเยน็ โดยใชแ้ ผ่นใสประกอบ ขน้ั สรุปผล 13. นักศึกษาทำแบบฝกึ หดั ประจำหนว่ ย 14. นักศึกษาเฉลยแบบฝึกหัด 12. ครแู ละนกั ศกึ ษาชว่ ยกนั สรุปเนอื้ หา เกย่ี วกับ 1. นักศึกษาน่ังฟังครูอธบิ ายด้วยความ 12.1 การติดต้ังคอมเพรสเซอร์ ต้งั ใจ และตอบคำถาม 12.2 การตดิ ตง้ั คอนเดนเซอร์ 12.3 การตดิ ตงั้ ชดุ อิวาพอเรเตอร์ 2. นักศกึ ษาช่วยจัดเตรยี มเครอ่ื งมือ วัสดุ 12.4 การติดตงั้ รีซฟี เวอร์ ดรายเออร์ และอุปกรณ์ 12.5 การตดิ ตง้ั ท่อสารความเย็น 3. นกั ศึกษารบั ใบงาน 13. ครใู หน้ ักศึกษาทำแบบฝึกหดั ประจำหนว่ ย 4. นักศกึ ษาน่ังฟงั ครูอธบิ ายดว้ ย 14. ครูและนักศึกษาร่วมกนั เฉลยคำตอบ (ชัว่ โมงที่ 2-7) ความ ตงั้ ใจ ข้นั นำเข้าสู่บทเรียน 1. ครทู บทวนความรู้เดิมทีเ่ รียนในชั่วโมงท่ี 1

เรอื่ ง การติดตง้ั อปุ กรณ์ ระบบปรบั อากาศโดยใช้คำถามกระตุน้ 2. ครูจัดเตรียมเครอ่ื งมอื วัสดุและอุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชส้ ำหรับฝึกปฏบิ ตั ิงาน และ สาธติ ข้นั สอน 3. ครูแจก ใบงานเรื่อง การติดต้ังอุปกรณ์ ระบบปรับอากาศ ให้นักศึกษา 4. ครูแนะนำการใช้ใบงานและข้อควรระวงั ตา่ ง ๆในการปฏิบัติงาน

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ ) ข้นั ตอนการเรยี นของนักศกึ ษา

ขน้ั ตอนการสอนของครู

71

5. ครสู าธิตการตดิ ต้ังอุปกรณ์ต่าง ๆ ของ 5. นกั ศกึ ษาสงั เกตการสาธติ การตดิ ตัง้

ระบบปรบั อากาศใหน้ กั ศึกษาดู อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ของระบบปรบั อากาศ

6. ครแู บง่ นักศึกษาเปน็ กล่มุ ๆ ละ 4-5 คน 6. นักศกึ ษาแบง่ กลุ่มตามความสมคั รใจ

7. ครูใหน้ กั ศึกษาปฏบิ ัติตามใบงาน 7. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน

8. ครูควบคมุ ดแู ลและตอบขอ้ ซักถามของ 8. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบัติงานตามใบงาน

นกั ศึกษาระหว่างท่ีนกั ศกึ ษาฝึกปฎบิ ัตงิ าน

ข้นั สรุปผล

9. ครแู ละนกั ศกึ ษาชว่ ยกันสรุปเนื้อหา 9. นกั ศกึ ษาช่วยกันสรุปเนื้อหา

อีกครัง้ หน่งึ

10. ครูให้นักศึกษาทดสอบปฏิบตั ิการตดิ ตง้ั 10. นักศกึ ษาทดสอบปฏบิ ัติ

อุปกรณร์ ะบบปรับอากาศ

5. สือ่ การเรียนการสอน

5.1 สอ่ื สิง่ พมิ พ์

ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต.์ นนทบรุ ี : บรษิ ัทศูนยห์ นงั สือเมืองไทย จำกดั ,

2562.

5.2 สื่อโสตทศั น์

5.2.1 เครือ่ งฉายขา้ มศีรษะ

5.2.2 แผ่นใส เรอื่ ง การตดิ ตัง้ อปุ กรณ์ระบบปรับอากาศรถยนต์

5.3 ส่ือของจริง

5.3.1 ชุดทดลองระบบปรบั อากาศรถยนต์/ รถยนต์

5.3.2 เครอ่ื งมือประจำตัว

5.3.4 ท่อสารความเย็น

5.3.5 น้ำมันหล่อลนื่ คอมเพรสเซอร์

6. การวัดผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏบิ ัติงาน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี 6.3 ทดสอบภาคปฏบิ ัติ

72

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายหนว่ ย 14

วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหสั วิชา 20101-2105 หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย สารความเยน็ สอนครั้งท่ี 14 จำนวน 4 คาบ

1. สาระสำคญั

สารความเย็นเป็นสารตัวกลางท่ีทำหน้าท่ีในการดูดความร้อนเข้าสู่ตัวเองเม่ือมีการ เปลี่ยนสถานะจากของเหลวไปเป็นแก๊สและถ่ายเทความร้อนออกเพ่ือให้เกิดการควบแน่นเปลี่ยน สถานะจากแกส๊ กลบั มาเป็นของเหลวอีกครัง้ หน่งึ ซงึ่ การถ่ายเทความร้อนจะเกิดข้ึนท่ีคอนเดนเซอร์

2. สาระการเรียนรู้

2.1 ความหมายของสารความเย็น 2.2 คณุ สมบตั ิโดยทั่วไปของสารความเย็น 2.3 ชนิดของสารความเย็นท่ใี ชใ้ นระบบปรบั อากาศรถยนต์

2.3.1 สารความเยน็ R-12 2.3.2 สารความเย็น R-134a 2.4 การเปรยี บเทยี บคุณลักษณะของสารความเย็น R -12 กบั R 134a 2.5 บทสรปุ

73

3. จุดประสงค์การเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป : เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั สารความเยน็ ท่ีใช้ ในระบบปรบั อากาศรถยนต์

3.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : เพื่อให้ผู้เรยี นมคี วามสามารถ ดงั นี้ 3.2.1 อธิบายความหมายของสารความเยน็ ได้ 3.2.2 บอกชนดิ ของสารความเย็นทใ่ี ชใ้ นระบบปรับอากาศรถยนตไ์ ด้ 3.2.3 บอกคุณสมบัตขิ องสารความเย็น R-12 และ R 134aได้ 3.2.4 บอกชื่อทางเคมีของสารความเย็น R-12 และ R 134aได้ 3.2.5 อธบิ ายขอ้ ควรระวงั ในการปฏบิ ัติงานเก่ยี วกับสารความเย็นได้ 3.2.6 อธบิ ายขอ้ ควรปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับการเก็บและเคลอ่ื นย้ายถงั สารความเยน็ ได้ 3.2.7 อธบิ ายขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งสารความเย็น R 134a และ R-12 ได้ 3.2.8. ทำสญุ ญากาศระบบปรับอากาศตามขน้ั ตอนได้ 3.2.9 บรรจุสารความเย็นในสถานะทเ่ี ปน็ แก๊สเข้าในระบบปรับอากาศตาม

ขน้ั ตอนได้ 3.2.10 บรรจุสารความเย็นในสถานะทเ่ี ปน็ ของเหลวเขา้ ในระบบปรับอากาศ

ตามขั้นตอนได้ 3.2.11 บรรจสุ ารความเย็นเพมิ่ เข้าในระบบปรับอากาศตามขั้นตอนได้ 3.2.12 ถ่ายสารความเยน็ ออกจากระบบปรับอากาศตามขั้นตอนได้ 3.2.13 มีกิจนสิ ยั ทดี่ ีในการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏบิ ัตงิ านด้วยความประณีต

รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงตอ่ เวลา และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม

74

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน

ข้ันตอนการสอนของครู ขน้ั ตอนการเรยี นของนักศึกษา

(ช่ัวโมงที่ 1) สอนครง้ั ที่ 1

ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรียน

1. ครูตรวจสอบการมาเรยี นของนักศกึ ษา 1. นักศกึ ษาขานช่ือเมอื่ ครูเรียกช่อื

โดยการเช็กชื่อ

2. ครชู ีแ้ จงรายละเอยี ดหัวข้อเร่อื งทจ่ี ะเรยี น 2. นักศึกษานั่งฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ

ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และจุดประสงค์ ตัง้ ใจ

การเรียนรูใ้ ห้นกั ศกึ ษาทราบ

3. ครชู ี้แจงเกณฑก์ ารวัดผลและประเมินผล 3. นกั ศกึ ษาน่งั ฟงั ครูอธิบายด้วยความ

ใหน้ กั ศกึ ษาทราบ ตั้งใจ

4. ครูทบทวนความร้เู ดิมท่เี รียนมาแล้ว 4. นกั ศกึ ษานั่งฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ

5. ครสู นทนาและซกั ถามนักศกึ ษาวา่ สิ่งใด ตั้งใจ

ในระบบปรับอากาศรถยนต์ท่ีสามารถ 5. นกั ศกึ ษาตอบคำถาม

เปลีย่ นสถานะจากของเหลวไปเป็นแก๊สได้

ขั้นสอน

6. ครแู จก เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง 6. นักศกึ ษารับเอกสารประกอบการสอน

สารความเยน็ ให้นักศกึ ษา

7. ครูอธิบายเกีย่ วกบั ความหมายของ 7. นักศึกษาน่ังฟงั ครูอธิบายด้วยความ

สารความเยน็ โดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ ตั้งใจ

8. ครอู ธบิ ายเก่ียวกบั คณุ สมบัติโดยท่ัวไป 8. นกั ศึกษานั่งฟังครูอธบิ ายด้วยความ

ของสารความเย็นโดยใชแ้ ผ่นใสประกอบ ต้งั ใจ

9. ครอู ธบิ ายเก่ยี วกบั ชนดิ ของสารความเย็น 9. นกั ศกึ ษานั่งฟงั ครอู ธบิ ายด้วย

โดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ ความต้ังใจ

75

10. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั คณุ สมบัตขิ อง 10. นักศกึ ษาน่ังฟังครอู ธิบายด้วย สารความเย็น R-12 และ R 134aโดย ความตงั้ ใจ

ใช้ ข้นั ตอนการเรียนของนักเรียน แผน่ ใสประกอบ 11. นักศึกษาน่ังฟังครอู ธิบายด้วย

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ต่อ) ความตั้งใจ 12. นกั ศึกษาน่งั ฟงั ครูอธิบายด้วย ข้ันตอนการสอนของครู 11. ครูอธิบายเกี่ยวกบั ข้อควรระวังใน ความตงั้ ใจ 13. นักศึกษาช่วยกันสรุปเนอื้ หา การปฏิบัติงานเกีย่ วกบั สารความเย็น แต่ละชนดิ โดยใช้แผน่ ใสประกอบ 14. นกั ศึกษาทำแบบฝึกหัดประจำหนว่ ย 12. ครูอธิบายเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ 15. นักศึกษาเฉลยแบบฝึกหดั คณุ ลักษณะของสารความเย็น R-12 กับ R134a โดยใช้แผ่นใสประกอบ ข้ันสรุปผล 13. ครแู ละนักศึกษาช่วยกนั สรุปเนื้อหา เก่ยี วกบั 13.1 ความหมายของสารความเย็น 13.2 คุณสมบัตโิ ดยท่ัวไปของ

สารความเย็น 13.3 ชนิดของสารความเย็นท่ีใช้ใน

ระบบปรบั อากาศรถยนต์ 13.4 คณุ สมบตั ิของสารความเย็น R-12

และ R 134a 13.5 ขอ้ ควรระวงั ในการปฏิบัติงาน

เกย่ี วกับสารความเย็นแต่ละชนิด 13.6 การเปรยี บเทยี บคุณลกั ษณะของ

สารความเย็น R -12 กบั R134a 14. ครใู ห้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดประจำ

หน่วย 15. ครแู ละนักศกึ ษาร่วมกนั เฉลยคำตอบ

76

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ ) ข้นั ตอนการเรียนของนกั ศึกษา

ขั้นตอนการสอนของครู 1. นกั ศึกษานง่ั ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ (ช่ัวโมงท่ี 2-7) สอนคร้ังท่ี 1 ตัง้ ใจ และตอบคำถาม ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ ทเ่ี รียนในชวั่ โมงที่ 2. นกั ศึกษาช่วยจดั เตรียมเครอ่ื งมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 1 เรอ่ื ง สารความเยน็ โดยใช้คำถามกระตนุ้ 2. ครูจดั เตรียมเครื่องมือ วัสดแุ ละอปุ กรณ์ 3. นกั ศกึ ษารับใบงาน

ตา่ ง ๆ ท่ใี ช้สำหรับฝึกปฏบิ ัติงาน และ 4. นกั ศึกษานง่ั ฟังครูอธิบายด้วย สาธติ ความต้ังใจ ขนั้ สอน 3. ครูแจก ใบงาน เรือ่ ง การทำสญุ ญากาศ, 5. นักศกึ ษาสงั เกตการสาธิตการ การบรรจสุ ารความเย็นในสถานะท่เี ป็น ทำสุญญากาศ,การบรรจสุ ารความเย็น ใน แกส๊ ,การบรรจสุ ารความเยน็ ในสถานะท่ี สถานะทีเ่ ป็นแก๊ส ,การบรรจุ เปน็ ของเหลว ให้นกั ศึกษา สารความเยน็ ในสถานะท่เี ป็นของเหลว 4. ครแู นะนำการใช้ใบงานและข้อควรระวัง ตา่ ง ๆในการปฏิบัตงิ าน 6. นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ 5. ครูสาธติ การทำสุญญากาศ, 7. นักศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิงานตามใบงาน การบรรจสุ ารความเย็นในสถานะท่ีเปน็ 8. นักศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิงานตามใบงาน แก๊ส ,การบรรจุสารความเย็นในสถานะท่ี เปน็ ของเหลวให้นักศกึ ษาดู 9. นกั ศึกษาช่วยกันสรุปเนื้อหา 6. ครูแบง่ นกั ศึกษาเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 7. ครูใหน้ ักศกึ ษาปฏบิ ตั ิตามใบงาน 8. ครูควบคุมดแู ลและตอบข้อซักถามของ นักศึกษาระหวา่ งท่นี ักศึกษาปฎบิ ัติงาน 9. ครแู ละนักศกึ ษาช่วยกนั สรุปเนอื้ หาอีก ครง้ั หนงึ่

77

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ต่อ) ข้ันตอนการเรยี นของนกั ศกึ ษา

ขนั้ ตอนการสอนของครู 10. นกั ศกึ ษาสอบปฏิบตั ิ ข้นั สรุปผล 9. ครใู ห้นกั ศึกษาทดสอบการทำสุญญากาศ, 1. นักศกึ ษาขานชอ่ื เมอื่ ครูเรยี กชื่อ

การบรรจุสารความเยน็ ในสถานะที่เปน็ 2. นกั ศึกษานั่งฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ แกส๊ การบรรจุสารความเย็นในสถานะท่ี ต้งั ใจ เปน็ ของเหลว (ช่วั โมงท่ี 1-7) สอนครัง้ ท่ี 2 3. นักศกึ ษาน่งั ฟงั ครูอธิบายด้วยความ ข้ันนำเขา้ สู่บทเรยี น ตั้งใจ 1. ครูตรวจสอบการมาเรียนของนักศึกษา โดยการเช็กชอ่ื 4. นักศกึ ษาน่ังฟังครูอธบิ ายดว้ ยความ 2. ครชู ้แี จงรายละเอียดหัวข้อเร่ืองท่ีจะเรียน ตง้ั ใจ ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และ จดุ ประสงค์ 5. นกั ศกึ ษาตอบคำถาม การเรียนรใู้ ห้นักศกึ ษาทราบ 3. ครชู ี้แจงเกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผล 6. นกั ศกึ ษาช่วยจดั เตรียมเครือ่ งมือ วัสดุ ใหน้ กั ศึกษาทราบ และอุปกรณ์ 4. ครูทบทวนความรเู้ ดิมทเ่ี รยี นมาแล้ว 5. ครสู นทนาและซกั ถามนักศกึ ษาเก่ียวกับ 7. นกั ศึกษารับใบงาน การบรรจุสารความเยน็ ที่เรยี นคร้งั ที่แล้ว 6. ครูจัดเตรียมเครื่องมอื วัสดุและอุปกรณ์ 8. นักศึกษาน่งั ฟงั ครูอธิบายด้วยความ ตา่ ง ๆ ท่ใี ชส้ ำหรับฝึกปฏบิ ัติงาน และ ตง้ั ใจ สาธิต 7. ครแู จก ใบงาน เรอ่ื ง การบรรจุ สารความเยน็ เพิ่ม (มสี ารความเยน็ อยู่ บางสว่ น) ,การถ่ายสารความเย็นออก 8. ครูแนะนำการใช้ใบงานและขอ้ ควรระวัง ต่าง ๆในการปฏบิ ัติงาน

78

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ตอ่ ) ขน้ั ตอนการเรยี นของนักศกึ ษา

ขนั้ ตอนการสอนของครู 9. นักศึกษาสงั เกตการสาธิตการบรรจุ ขน้ั สอน สารความเย็นเพิ่ม (มีสารความเย็นอยู่ 9. ครูสาธติ การบรรจสุ ารความเย็นเพ่ิม บางสว่ น) การถา่ ยสารความเย็นออก

(มีสารความเยน็ อย่บู างสว่ น) , 10. นักศกึ ษาแบง่ กล่มุ ตามความสมัครใจ การถา่ ยสารความเย็นออกให้นกั ศึกษาดู 11. นกั ศกึ ษาฝึกปฏบิ ัติงานตามใบงาน 10. ครูแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 12. นกั ศึกษาฝกึ ปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 11. ครูใหน้ กั ศึกษาปฏบิ ตั ิตามใบงาน 12. ครคู วบคุมดแู ลและตอบขอ้ ซักถามของ นักศกึ ษาระหวา่ งที่นักศึกษาปฏิบัตงิ าน

ขัน้ สรุปผล

13. ครแู ละนักศึกษาช่วยกนั สรปุ เนอื้ หา 13. นักศึกษาช่วยกนั สรปุ เนื้อหา

อกี ครง้ั หน่งึ

14. ครูใหน้ กั ศึกษาทดสอบการบรรจุ 14. นกั ศึกษาสอบปฏบิ ตั ิ

สารความเยน็ เพ่ิม (มีสารความเย็นอยู่

บางสว่ น) ,การถ่ายสารความเยน็ ออก

5. สือ่ การเรยี นการสอน

5.1 สื่อสิ่งพิมพ์

ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรงุ รักษารถยนต.์ นนทบรุ ี : บริษัทศูนยห์ นังสือเมืองไทย

จำกดั , 2562.

5.2 สอื่ โสตทัศน์

5.2.1 เครอ่ื งฉายขา้ มศีรษะ

5.2.2 แผ่นใส เรื่อง สารความเย็น

5.3 ส่ือของจริง

5.3.1 ชุดทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์/ รถยนต์

5.3.2 มานิโฟลด์เกจ

5.3.3 ปม๊ั สุญญากาศ

5.3.4 สารความเย็น R 134a และ R-12

6. การวัดผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏบิ ตั ิงาน

79

6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี 15 6.3 ทดสอบภาคปฏิบตั ิ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายหน่วย

วชิ า งานปรับอากาศรถยนต์ รหัสวชิ า 20101-2105 หนว่ ยที่ ชอื่ หน่วย การตรวจสอบการร่วั ของระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครัง้ ที่ 15 จำนวน 4 คาบ

1. สาระสำคัญ

เม่ือมีการติดต้ังอุปกรณ์ในระบบปรับอากาศเรียบร้อยแล้ว หรือเม่ือมีการตรวจสอบ พบว่าในระบบมีสารทำความเย็นน้อยกว่าปกติ มีความจำเป็นท่ีจะต้องมีการตรวจหารอยรั่วตาม จุดต่าง ๆ ท่ัวระบบ ทั้งน้ีเพราะถ้ามีรอยรั่วแม้เพียงเล็กน้อย การบรรจุสารทำความเย็นเข้าไปใน ระบบก็ย่อมจะไมไ่ ด้ประโยชนจ์ ากการทำงานอยา่ งเตม็ ท่ี

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 อาการที่บง่ บอกถึงการรวั่ ของระบบปรบั อากาศ 2.2 การตรวจสอบการร่ัวของสารความเยน็

2.2.1 การตรวจสอบการรัว่ โดยใช้แชมพูหรือฟองสบู่ 2.2.2 การตรวจสอบการรว่ั โดยใช้ตะเกียงตรวจรว่ั 2.2.3 การตรวจสอบการรว่ั โดยใช้เครือ่ งตรวจรั่วแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ 2.3 บทสรุป

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 จดุ ประสงค์ทวั่ ไป : เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การตรวจสอบการ รวั่ ของสารความเย็นในระบบปรับอากาศรถยนต์

3.2 จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม : เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความสามารถ ดงั นี้

80

3.2.1 อธบิ ายอาการที่บ่งบอกถึงการร่วั ของระบบปรับอากาศได้ 3.2.2 บอกค่าความดันของสารความเยน็ ที่สามารถตรวจรวั่ ดว้ ยแชมพูหรอื ฟองสบู่ ได้ 3.2.3 บอกสว่ นประกอบของตะเกียงตรวจร่ัวได้ 3.2.4 บอกชนดิ ของแก๊สทีบ่ รรจุในตะเกยี งตรวจร่วั ได้ 3.2.5 บอกปริมาณการรว่ั ของสารความเยน็ ทีส่ มั พันธ์กับสีของเปลวไฟได้ 3.2.6 บอกส่วนประกอบของเครือ่ งตรวจรัว่ แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ได้ 3.2.7 อธิบายสิ่งท่ีเกิดขึ้นจากเคร่อื งตรวจรว่ั แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์เม่อื สารความเยน็ เกิดการรวั่ ได้ 3.2.8 ตรวจหารอยรัว่ โดยใชแ้ ชมพูหรอื ฟองสบตู่ ามขน้ั ตอนได้ 3.2.9 ตรวจหารอยรัว่ โดยใชต้ ะเกียงตรวจร่ัวตามข้นั ตอนได้ 3.2.10 ตรวจหารอยร่ัวโดยใชเ้ ครอ่ื งตรวจร่ัวแบบอิเล็กทรอนกิ สต์ ามข้นั ตอนได้ 3.2.11 มีกิจนสิ ัยทดี่ ีในการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏิบัติงานดว้ ยความประณตี รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงตอ่ เวลา และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน ขนั้ ตอนการเรยี นของนักศึกษา

ขน้ั ตอนการสอนของครู 1. นกั ศกึ ษาขานชอ่ื เมอ่ื ครูเรยี กชื่อ (ช่ัวโมงที่ 1) 2. นกั ศกึ ษานัง่ ฟังครูอธิบายด้วยความ ข้ันนำเข้าสบู่ ทเรยี น ตงั้ ใจ 1. ครูตรวจสอบการมาเรยี นของนกั ศกึ ษา

โดยการเช็กชอื่ 2. ครูชี้แจงรายละเอยี ดหัวข้อเรื่องท่ีจะเรยี น

ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และจุดประสงค์ การเรยี นรู้ให้นักศึกษาทราบ

81

3. ครชู แี้ จงเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล 3. นกั ศึกษานงั่ ฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ ใหน้ กั ศึกษาทราบ ตง้ั ใจ

4. ครูทบทวนความรเู้ ดิมทเี่ รยี นมาแล้ว 4. นักศกึ ษานั่งฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ 5. ครสู นทนาและซักถามนักศึกษาวา่ หาก ต้ังใจ

ความเย็นในห้องโดยสารลดลงแสดงว่า 5. นักศึกษาตอบคำถาม เกดิ อะไรขนึ้ กบั ระบบปรับอากาศ

ขั้นสอน 6. ครแู จก เอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง 6. นักศึกษารับเอกสารประกอบการสอน

งานตรวจสอบการรัว่ ของ ระบบปรบั อากาศรถยนต์ให้นกั ศกึ ษา 7. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั อาการท่บี ง่ บอกถึง 7. นักศกึ ษานงั่ ฟังครูอธิบายดว้ ยความ การรว่ั ของระบบปรับอากาศโดยใชแ้ ผน่ ใส ต้ังใจ ประกอบ 8. ครอู ธิบายเกีย่ วกบั วธิ ีการตรวจสอบการ รัว่ ของสารความเย็นโดยใช้ส่ือแผน่ ใสและ 8. นักศกึ ษาน่งั ฟังครูอธิบายดว้ ยความ ส่ือของจรงิ คือ ตะเกียงตรวจรั่วและ ตงั้ ใจ เคร่อื งตรวจร่ัวแบบอิเล็กทรอนกิ ส์

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ตอ่ ) ข้ันตอนการเรียนของนกั ศึกษา 9. นกั ศกึ ษาช่วยกนั สรุปเนอื้ หา ขั้นตอนการสอนของครู ขั้นสรุปผล 9. ครูและนกั ศกึ ษาช่วยกันสรปุ เนื้อหา

เก่ียวกับ 9.1 อาการท่ีบ่งบอกถึงการรว่ั ของ

ระบบปรับอากาศ 9.2 การตรวจสอบการร่วั ของ

82

สารความเย็น 10. นักศกึ ษาทำแบบฝึกหัด 10. ครใู หน้ ักศึกษาทำแบบฝึกหัดประจำ 11. นักศึกษารว่ มกันเฉลยแบบฝึกหดั

หนว่ ย 1. นักศกึ ษาน่ังฟังครูอธิบายดว้ ยความ 11. ครแู ละนกั ศกึ ษารว่ มกนั เฉลยแบบฝึกหดั ต้ังใจ และตอบคำถาม (ช่ัวโมงท่ี 2-7) ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรยี น 2. นกั ศึกษาชว่ ยจดั เตรียมเครอ่ื งมอื 1. ครทู บทวนความรู้เดมิ ทเ่ี รยี นในชั่วโมงที่ วสั ดุ

1 เร่ืองเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการบริการระบบ และอุปกรณ์ ปรับอากาศโดยใชค้ ำถามกระตนุ้ 2. ครูจดั เตรียมเครือ่ งมือ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 3. นักศึกษารับใบงาน ตา่ ง ๆ ท่ีใช้สำหรับฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน และ สาธติ 4. นักศึกษานั่งฟังครอู ธิบายดว้ ย ขั้นสอน ความต้ังใจ 3. ครูแจก ใบงานเรื่อง การตรวจรอยร่วั โดย ใชฟ้ องแชมพหู รือฟองสบู่,โดยใช้ตะเกยี ง ตรวจรัว่ และโดยใชเ้ คร่ืองตรวจร่วั แบบ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ใหน้ กั ศกึ ษา 4. ครูแนะนำการใชใ้ บงานและข้อควรระวัง ต่าง ๆ ในการปฏิบัตงิ าน

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ ) ขัน้ ตอนการเรยี นของนักศึกษา

ขัน้ ตอนการสอนของครู 5. นักศึกษาสังเกตการสาธติ การ ขั้นสอน ตรวจรอยรั่วโดยใชฟ้ องแชมพูหรือ 5. ครสู าธิตการตรวจรอยรัว่ โดย ฟองสบู่,โดยใชต้ ะเกียงตรวจร่ัวและโดยใช้ เคร่ืองตรวจรว่ั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ใช้ฟองแชมพูหรือฟองสบู,่ โดยใชต้ ะเกยี ง ตรวจรัว่ และโดยใชเ้ ครื่องตรวจร่ัวแบบ 6. นกั ศึกษาแบง่ กลุ่มตามความสมคั รใจ อิเล็กทรอนกิ ส์ให้นักศึกษาดู 6. ครแู บ่งนกั ศกึ ษาเปน็ กล่มุ ๆ ละ 4-5 คน

83

7. ครใู ห้นกั ศึกษาปฏบิ ัตติ ามใบงาน 7. นักศึกษาฝกึ ปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน 8. ครคู วบคุมดแู ลและตอบขอ้ ซกั ถามของ 8. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ัติงานตามใบงาน

นกั ศกึ ษาระหว่างที่นักศึกษาฝกึ ปฎบิ ัตงิ าน

ข้ันสรปุ ผล 9. นักศกึ ษาช่วยกันสรปุ ในเรอ่ื ง 9. ครูและนกั ศกึ ษาช่วยกันสรปุ เนือ้ หาอีกคร้งั การตรวจร่ัวของระบบปรบั อากาศ 10. ครใู ห้นกั ศึกษาทดสอบการตรวจรอยรว่ั รถยนต์ โดยใช้ฟองแชมพูหรือฟองสบ,ู่ โดยใช้ ตะเกียงตรวจรัว่ และโดยใชเ้ ครอ่ื ง 10. นกั ศกึ ษาสอบปฏิบตั ิ ตรวจรว่ั แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

5. ส่อื การเรียนการสอน

5.1 ส่ือส่งิ พิมพ์ ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต์. นนทบุรี : บริษัทศนู ยห์ นงั สือเมืองไทย จำกดั , 2562. 5.2 สอื่ โสตทศั น์

5.2.1 เครื่องฉายข้ามศีรษะ 5.2.2 แผน่ ใส เรื่อง การตรวจสอบการรั่วของระบบปรับอากาศรถยนต์ 5.3 สอ่ื ของจรงิ 5.3.1 ชดุ ทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ 5.3.2 เครื่องมือประจำตัว 5.3.3 แว่นนิรภัย 5.3.4 ไฟฉาย หรอื โคมไฟสนาม 5.3.5 ตะเกียงตรวจร่ัว 5.3.6 เคร่อื งตรวจร่ัวอิเล็กทรอนิกส์ 5.3.7 แชมพูหรือสบู่ 5.3.8 ฟองน้ำ หรือแปรงขนอ่อน

6. การวดั ผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏิบตั ิงาน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี

84

6.3 ทดสอบภาคปฏิบตั ิ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายหน่วย

วิชา งานปรับอากาศรถยนต์ รหัสวชิ า 20101-2105 หนว่ ยท่ี 16 ชือ่ หนว่ ย นำ้ มนั หล่อลน่ื คอมเพรสเซอร์ สอนคร้ังที่ 16 จำนวน 2 คาบ

1. สาระสำคัญ

นำ้ มันหลอ่ ล่ืนคอมเพรสเซอร์ หรือเรียกวา่ นำ้ มันคอมเพรสเซอร์ (Compressor Oil) มี หน้าท่สี ำคัญ คือ ให้การหล่อล่นื ช้นิ ส่วนต่าง ๆของคอมเพรสเซอร์ท่ีมกี ารเคล่ือนที่ เพื่อช่วยลดการ สึกหรอของชิ้นส่วนทำให้คอมเพรสเซอร์ทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้น้ำมันหล่อลื่น คอมเพรสเซอร์ไม่สามารถท่ีจะนำไปใช้ในงานหล่อลื่นประเภทอ่ืน ๆ ได้ เพราะน้ำมันหล่อล่ืน

85

คอมเพรสเซอร์น้ันจะต้องผสมกับสารความเย็นและไหลเวียนในระบบพร้อม ๆ กับสารความเย็น เพื่อไปหล่อลื่นเอ็กซ์แพนชน่ั วาลว์ แล้วไหลกลับมาหล่อลื่นคอมเพรสเซอรอ์ กี คร้ังหนงึ่

2. สาระการเรียนรู้

2.1 หนา้ ท่ีของนำ้ มันหล่อลนื่ คอมเพรสเซอร์ 2.2 การเลอื กใชน้ ้ำมันหล่อลืน่ คอมเพรสเซอร์ 2.3 คุณสมบัตขิ องน้ำมันหล่อลนื่ คอมเพรสเซอร์ 2.4 ความหนืดของน้ำมนั หลอ่ ลนื่ คอมเพรสเซอร์ 2.5 ปรมิ าณของน้ำมันหล่อลนื่ คอมเพรสเซอรใ์ นระบบปรับอากาศ 2.6 การเพ่มิ นำ้ มันหลอ่ ล่นื คอมเพรสเซอร์ 2.7 การใช้และการเก็บรกั ษานำ้ มนั หล่อลืน่ คอมเพรสเซอร์ 2.8 บทสรุป

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป : เพื่อให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั น้ำมนั หลอ่ ลื่น คอมเพรสเซอร์ทใี่ ชใ้ นระบบปรบั อากาศรถยนต์

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม : เพ่ือให้ผู้เรยี นมคี วามสามารถ ดงั นี้ 3.2.1 อธบิ ายหน้าทขี่ องน้ำมนั หล่อลื่นคอมเพรสเซอรไ์ ด้ 3.2.2 บอกชนิดของน้ำมันหลอ่ ลื่นทีใ่ ช้กับคอมเพรสเซอร์แตล่ ะชนิดได้ 3.2.3 บอกคณุ สมบตั ิของน้ำมันหล่อล่ืนคอมเพรสเซอร์ได้ 3.2.4 อธิบายเก่ียวกับความหนดื ของนำ้ มันหลอ่ ล่ืนคอมเพรสเซอร์ได้ 3.2.5 อธิบายถึงผลของปริมาณของน้ำมนั หล่อลื่นคอมเพรสเซอร์ต่อความจุ

ความเย็นได้ 3.2.6 บอกเครอื่ งมือทใี่ ช้วัดคา่ ความหนืดได้ 3.2.7 บอกปรมิ าณของนำ้ มันหล่อลนื่ คอมเพรสเซอรท์ ีเ่ ติมเพิม่ ในระบบปรับ

อากาศได้ 3.2.8 บอกวธิ กี ารเก็บรักษานำ้ มนั หลอ่ ลนื่ คอมเพรสเซอร์ได้ 3.2.9 เติมนำ้ มันหล่อล่นื คอมเพรสเซอร์ โดยใชป้ ๊ัมสุญญากาศตามขั้นตอนได้ 3.2.10 มีกจิ นิสัยทดี่ ีในการทำงาน มคี วามรบั ผดิ ชอบ ปฏิบัติงานด้วยความประณตี

รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงต่อเวลา และรักษาสภาพแวดลอ้ ม

86

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ขน้ั ตอนการเรียนของนักศกึ ษา

ขัน้ ตอนการสอนของครู 1. นกั ศกึ ษาขานชอ่ื เมือ่ ครเู รยี กช่อื (ช่ัวโมงท่ี 1) ข้นั นำเขา้ สู่บทเรียน 2. นักศึกษานัง่ ฟังครูอธบิ ายดว้ ยความ 1. ครตู รวจสอบการมาเรียนของนักศึกษา ตั้งใจ

โดยการเชค็ ช่ือ 3. นักศกึ ษานัง่ ฟังครูอธบิ ายดว้ ยความ 2. ครชู ้ีแจงรายละเอียดหัวข้อเร่อื งทจ่ี ะเรียน ต้งั ใจ

ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และจดุ ประสงค์ 4. นกั ศกึ ษานั่งฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ การเรยี นรใู้ ห้นกั ศึกษาทราบ ตง้ั ใจ 3. ครูชีแ้ จงเกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล ใหน้ กั ศึกษาทราบ 5. นกั ศกึ ษาตอบคำถาม 4. ครูทบทวนความรเู้ ดิมทเี่ รยี นมาแลว้ 5. ครสู นทนาและซกั ถามนักศกึ ษาว่าการ ปอ้ งกันความรอ้ นเนอ่ื งจากการเสียดสกี ัน ของช้ินสว่ นจะทำอย่างไร

ข้ันสอน 6. นกั ศึกษารบั เอกสารประกอบการสอน 6. ครแู จก เอกสารประกอบการสอน เร่ือง 7. นกั ศกึ ษานง่ั ฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ ตั้งใจ นำ้ มนั หลอ่ ลืน่ คอมเพรสเซอรใ์ หน้ ักศึกษา 8. นกั ศึกษานงั่ ฟงั ครูอธบิ ายดว้ ยความ 7. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกับหนา้ ท่ีของ ตง้ั ใจ

นำ้ มนั หลอ่ ลน่ื โดยใช้ส่ือแผ่นใส 9. นักศึกษาน่ังฟงั ครูอธบิ ายด้วย 8. ครอู ธิบายเก่ียวกบั การเลือกใช้ ความตง้ั ใจ

นำ้ มันหลอ่ ลนื่ โดยใช้ส่ือแผ่นใส 10. นักศกึ ษานง่ั ฟังครอู ธบิ ายด้วย 9. ครูอธิบายเกีย่ วกับคุณสมบตั ิของ ความตัง้ ใจ

น้ำมนั หล่อล่นื โดยใช้ส่ือแผ่นใส 10. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั ความหนดื ของ

นำ้ มันหลอ่ ล่นื คอมเพรสเซอรโ์ ดยใช้สอ่ื แผน่ ใส

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ต่อ)

87

ขนั้ ตอนการสอนของครู ขน้ั ตอนการเรียนของนักศึกษา 11. ครูอธิบายเก่ียวกับปริมาณของ 11. นกั ศึกษาน่ังฟังครูอธิบายดว้ ย

นำ้ มนั หล่อลน่ื คอมเพรสเซอร์ใน ความตง้ั ใจ ระบบปรับอากาศโดยใช้สอ่ื แผน่ ใส 12. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั การเพ่มิ 12. นักศึกษานัง่ ฟังครอู ธบิ ายดว้ ย น้ำมนั หล่อลนื่ คอมเพรสเซอร์โดยใช้ส่ือ ความตั้งใจ แผ่นใส 13. ครอู ธิบายเกี่ยวกบั การใชแ้ ละการเก็บ 13. นักศกึ ษานง่ั ฟังครูอธบิ ายดว้ ย รกั ษานำ้ มนั หลอ่ ลืน่ คอมเพรสเซอร์โดย ความต้ังใจ ใชส้ อ่ื แผ่นใส

ขั้นสรปุ ผล 14. นักศกึ ษาช่วยกันสรปุ เน้ือหา 14. ครูและนักศกึ ษาช่วยกันสรปุ เนื้อหา เกี่ยวกบั 15. นักศกึ ษาทำแบบฝกึ หดั 14.1 หน้าท่ีของน้ำมันหล่อล่ืน 16. นกั ศกึ ษาเฉลยแบบฝึกหดั 14.2 การเลือกใชน้ ้ำมันหล่อลืน่ 14.3 คณุ สมบัตขิ องน้ำมันหลอ่ ลื่น 14.4 ความหนืดของนำ้ มนั หล่อลื่น คอมเพรสเซอร์ 14.5 ปรมิ าณของน้ำมนั หล่อล่นื คอมเพรสเซอรใ์ นระบบปรบั อากาศ 14.6 การเพมิ่ น้ำมันหล่อลืน่ คอมเพรสเซอร์ 14.7 การใชแ้ ละการเกบ็ รกั ษา นำ้ มนั หล่อลื่น คอมเพรสเซอร์ 15. ครูใหน้ กั ศกึ ษาทำแบบฝกึ หัดประจำ หนว่ ย 16. ครแู ละนกั ศกึ ษารว่ มกันเฉลยคำตอบ

88

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ตอ่ ) ขนั้ ตอนการเรยี นของนกั ศกึ ษา

ข้ันตอนการสอนของครู 1. นกั ศึกษาน่ังฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ (ชวั่ โมงที่ 2-7) ตัง้ ใจ และตอบคำถาม ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 2. นักศกึ ษาช่วยจดั เตรยี มเครือ่ งมือ วัสดุ 1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมทเ่ี รยี นในช่ัวโมงที่ และอปุ กรณ์ 1 เร่ืองนำ้ มนั หลอ่ ลืน่ คอมเพรสเซอร์โดย ใช้คำถามกระตุ้น 3. นักศึกษารับใบงาน

2. ครูจัดเตรยี มเคร่อื งมือ วัสดแุ ละอุปกรณ์ 4. นกั ศกึ ษานง่ั ฟังครูอธิบายดว้ ย ตา่ ง ๆ ที่ใช้สำหรับฝกึ ปฏิบตั ิงาน และ ความตงั้ ใจ สาธติ 5. นกั ศึกษาสังเกตการสาธิตการเตมิ ข้ันสอน นำ้ มันหล่อลืน่ โดยใชป้ ั๊มสญุ ญากาศ 3. ครแู จก ใบงานเรื่อง การเติมนำ้ มนั หล่อลนื่ 6. นกั ศกึ ษาแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ โดยใช้ปม๊ั สญุ ญากาศ ใหน้ ักศึกษา 7. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ัติงานตามใบงาน 4. ครแู นะนำการใช้ใบงานและขอ้ ควรระวัง 8. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ัติงานตามใบงาน

ต่าง ๆในการปฏิบตั งิ าน 5. ครูสาธติ การเตมิ นำ้ มนั หล่อลน่ื

โดยใชป้ ๊ัมสุญญากาศใหน้ ักศกึ ษาดู 6. ครแู บง่ นักศกึ ษาเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน 7. ครูให้นักศึกษาปฏบิ ัติตามใบงาน 8. ครูควบคุมดูแลและตอบขอ้ ซกั ถามของ

นกั ศกึ ษาระหว่างทน่ี กั ศึกษาฝกึ ปฎิบตั งิ าน

ขน้ั สรปุ ผล 9. นกั ศึกษาช่วยกนั สรปุ ในเร่อื ง งาน 9. ครูและนกั ศึกษาช่วยกันสรปุ เน้อื หาอีก บรกิ ารนำ้ มนั หล่อลืน่ คอมเพรสเซอร์

ครั้ง 10. นักศึกษาสอบปฏบิ ัติ 10. ครูให้นกั ศึกษาทดสอบการเติม

น้ำมนั หลอ่ ลนื่ โดยใชป้ ๊มั สญุ ญากาศ

89

5. สอ่ื การเรยี นการสอน

5.1 สื่อสง่ิ พิมพ์ ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต์. นนทบรุ ี : บริษัทศนู ยห์ นังสือเมืองไทย จำกดั , 2562. 5.2 สอ่ื โสตทศั น์

5.2.1 เครอ่ื งฉายข้ามศรี ษะ 5.2.2 แผ่นใส เรอ่ื ง นำ้ มันหล่อลื่นคอมเพรสเซอร์ 5.3 ส่อื ของจริง 5.3.1 ชุดทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ 5.3.2 ปมั๊ สุญญากาศ 5.3.3 มานิโฟลด์เกจ 5.3.4 ภาชนะบรรจุน้ำมนั หลอ่ ลื่นคอมเพรสเซอร์ 5.3.5 นำ้ มันหลอ่ ล่นื คอมเพรสเซอร์

6. การวัดผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏบิ ตั งิ าน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี 6.3 ทดสอบภาคปฏบิ ัติ

90

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายหนว่ ย

วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหัสวิชา 20101-2105 หนว่ ยท่ี 17 ชื่อหน่วย การบำรงุ รักษาระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครงั้ ที่ 16 จำนวน 2 คาบ

1. สาระสำคญั

เพ่ือยืดอายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ และเพื่อประสิทธภิ าพ สูงสุดของการปรับอากาศ การบำรุงรักษาระบบปรับอากาศถือเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นท่ีจะต้องให้ ความสำคัญในการตรวจสอบดูแลอย่างถูกต้อง และถูกวิธี ซ่ึงในการบำรุงรักษาระบบปรับอากาศ นัน้ มอี ยู่ 2 ลักษณะ คอื การบำรุงรักษาประจำวนั และการบำรุงรักษาตามระยะเวลาท่กี ำหนด

2. สาระการเรียนรู้

2.1 การบำรงุ รักษาประจำวนั 2.2 การบำรุงรักษาตามระยะเวลาท่ีกำหนด 2.3 บทสรปุ

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3.1 จุดประสงคท์ ่วั ไป : เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับการบำรุงรักษา ระบบปรบั อากาศรถยนต์

3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม : เพ่อื ให้ผเู้ รียนมคี วามสามารถ ดงั น้ี 3.2.1 บอกส่ิงทตี่ ้องบำรุงรักษาเป็นประจำวันได้ 3.2.2 บอกสิ่งที่ต้องบำรงุ รักษาตามระยะเวลาท่ีกำหนดได้ 3.2.3 บอกวิธีการแกไ้ ขอาการที่ตรวจพบได้ 3.2.4 ตรวจสอบเพ่ือบำรงุ รักษาระบบปรบั อากาศรถยนตไ์ ด้ 3.2.5 มกี ิจนสิ ัยท่ดี ีในการทำงาน มคี วามรับผดิ ชอบ ปฏิบัตงิ านดว้ ยความประณีต

รอบคอบสะอาดและปลอดภัย ตรงต่อเวลา และรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม

91

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้นั ตอนการเรยี นของนักศึกษา

ข้ันตอนการสอนของครู 1. นกั ศึกษาขานชอื่ เมอื่ ครูเรยี กชือ่ (ชั่วโมงที่ 1) ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรียน 2. นกั ศกึ ษานัง่ ฟงั ครูอธิบายดว้ ยความ ตั้งใจ 1. ครูตรวจสอบการมาเรยี นของนกั ศึกษา โดยการเช็กช่อื 3. นกั ศกึ ษานง่ั ครูอธบิ ายฟงั ดว้ ยความ ต้งั ใจ 2. ครูชแี้ จงรายละเอยี ดหัวข้อเรือ่ งท่จี ะเรยี น ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และจดุ ประสงค์ 4. นกั ศกึ ษานง่ั ครอู ธิบายฟังด้วยความ การเรียนรู้ใหน้ กั ศกึ ษาทราบ ตั้งใจ

3. ครชู แ้ี จงเกณฑก์ ารวัดผลและประเมนิ ผล 5. นักศึกษาตอบคำถาม ให้นักศกึ ษาทราบ

4. ครูทบทวนความร้เู ดิมทเี่ รยี นมาแล้ว 5. ครูสนทนาและซักถามนักศึกษาว่า

เพ่ือยืดอายุการใชง้ านของ ระบบปรบั อากาศควรทำอยา่ งไร

ข้ันสอน 6. นกั ศกึ ษารบั เอกสารประกอบการสอน 6. ครูแจก เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การบำรุงรักษาระบบปรบั อากาศรถยนต์ 7. นักศึกษานั่งฟงั ครูอธบิ ายดว้ ยความ ใหน้ กั ศกึ ษา ตงั้ ใจ 7. ครูอธบิ ายเกี่ยวกบั การบำรงุ รักษา ระบบปรับอากาศรถยนต์ประจำวันโดยใช้ 8. นักศึกษานงั่ ฟงั ครูอธบิ ายด้วยความ แผ่นใสประกอบ ต้งั ใจ 8. ครูอธบิ ายเกย่ี วกบั การบำรงุ รักษา ระบบปรบั อากาศรถยนตต์ ามระยะเวลาท่ี กำหนดโดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ

92

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ต่อ) ขนั้ ตอนการเรยี นของนกั ศึกษา 9. นักศกึ ษาชว่ ยกันสรปุ เนอื้ หา ขนั้ ตอนการสอนของครู ข้นั สรปุ ผล 10. นักศกึ ษาทำแบบฝึกหดั ประจำหน่วย 11. นกั ศกึ ษาเฉลยแบบฝกึ หัด 9. ครแู ละนักศึกษาช่วยกนั สรปุ เนื้อหาเกี่ยวกับ 9.1 การบำรงุ รักษาระบบปรบั อากาศ 1. นกั ศึกษานง่ั ฟงั ครูอธบิ ายดว้ ยความ ประจำวัน ตัง้ ใจ และตอบคำถาม 9.2 การบำรงุ รักษาระบบปรับอากาศ ตามระยะเวลากำหนด 2. นักศึกษาช่วยจัดเตรยี มเคร่อื งมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 10. ครูให้นักศึกษาทำแบบฝึกหดั ประจำหน่วย ประมาณ 20 นาที 3. นักศกึ ษารบั ใบงาน 4. นกั ศกึ ษานงั่ ฟังครูอธบิ ายด้วยความ 11. ครูและนกั ศึกษารว่ มกันเฉลยคำตอบ ตั้งใจ (ชั่วโมงท่ี 2-7) 5. นกั ศกึ ษาสงั เกตการสาธติ การ ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น บำรุงรกั ษาระบบปรบั อากาศโดยการ 1. ครทู บทวนความรเู้ ดมิ ท่เี รียนในชวั่ โมงที่ 1 ตรวจสอบสิง่ ต่าง ๆ เช่น คอนเดนเซอร์ เร่อื ง การบำรงุ รักษาระบบปรับอากาศโดย ขนั้ ตอนการเรยี นของนักศึกษา ใช้คำถามกระตุ้น

2. ครูจัดเตรยี มเครอ่ื งมือ วัสดุและอุปกรณ์ ตา่ ง ๆ ท่ใี ชส้ ำหรับฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน และ สาธิต

ข้นั สอน 3. ครแู จก ใบงานเร่ือง การบำรุงรกั ษา

ระบบปรับอากาศรถยนต์ ให้นักศกึ ษา 4. ครูแนะนำการใช้ใบงานและข้อควรระวัง

ต่าง ๆในการปฏบิ ัตงิ าน 5. ครูสาธิตการบำรุงรักษา

ระบบปรบั อากาศโดยแนะนำ การตรวจสอบส่ิงตา่ ง ๆ ใหน้ ักศกึ ษาดู

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ )

ขั้นตอนการสอนของครู

93

6. ครูแบ่งนักศกึ ษาเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4-5 คน 6. นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มตามความสมคั รใจ 7. ครใู หน้ ักศกึ ษาปฏบิ ตั ติ ามใบงาน 7. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบตั ิงานตามใบงาน 8. ครูควบคมุ ดแู ลและตอบขอ้ ซักถามของ 8. นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน

นักศกึ ษาระหว่างท่ีนกั ศกึ ษาฝึกปฎิบตั งิ าน

ขน้ั สรปุ ผล

9. ครูและนกั ศึกษาชว่ ยกันสรปุ เนื้อหาอกี 9. นักศกึ ษาช่วยกันสรปุ เนอื้ หา

ครงั้ หน่ึง

10. ครใู ห้นกั ศึกษาทดสอบปฏบิ ตั ิ 10. นกั ศึกษาทดสอบปฏิบตั ิ

การบำรงุ รักษาระบบปรับอากาศรถยนต์

5. ส่ือการเรียนการสอน

5.1 สือ่ สง่ิ พมิ พ์

ขนบ เพชรซอ้ น. งานบำรงุ รักษารถยนต์. นนทบุรี : บริษทั ศูนยห์ นังสือเมืองไทย จำกดั ,

2562.

5.2 สื่อโสตทัศน์

5.2.1 เครอ่ื งฉายขา้ มศรี ษะ

5.2.2 แผ่นใส เรื่อง การบำรงุ รกั ษาระบบปรับอากาศรถยนต์

5.3 สอื่ ของจริง

5.3.1 ชดุ ทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ /รถยนต์

5.3.2 เครือ่ งมือประจำตัว

5.3.3 แว่นนริ ภัย

5.3.4 มานิโฟลดเ์ กจ

5.3.5 สารความเย็น R-12

6. การวดั ผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏิบัตงิ าน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี 6.3 ทดสอบภาคปฏิบัติ

94

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายหน่วย 18

วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหัสวชิ า 20101-2105 หน่วยท่ี ชอ่ื หน่วย การแก้ไขปญั หาข้อขัดข้องของระบบปรบั อากาศรถยนต์ สอนครง้ั ที่ 17 จำนวน 2 คาบ

1. สาระสำคัญ

ปัญ ห าข้อขัดข้องท่ีเกิดขึ้น กับระบบปรับอากาศรถย น ต์นั้ น มีอยู่ ด้วยกัน ห ลายส าเห ตุ ซ่ึงผู้ให้บริการต้องมีความรู้ และความเข้าใจเป็นอย่างดี จึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง รวดเรว็ และแมน่ ยำ อันจะทำใหร้ ะบบปรับอากาศรถยนตส์ ามารถกลับมาทำงานไดต้ ามปกติเชน่ เดิม

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 ปัญหาข้อขัดข้องเก่ียวกับคอมเพรสเซอรไ์ ม่ทำงานหรอื ทำงานผดิ ปกติ 2.2 ปัญหาข้อขดั ข้องเกี่ยวกับมอเตอรโ์ บลเวอร์ 2.3 ปญั หาข้อขัดข้องเกยี่ วกับความเยน็ มีน้อยหรือแอรไ์ มเ่ ยน็ 2.4 ปัญหาขอ้ ขัดข้องเกยี่ วกับเสยี งดังผดิ ปกติ 2.5 บทสรปุ

3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป : เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับการแก้ไขปัญหา ขอ้ ขัดข้องของระบบปรับอากาศรถยนต์

3.2 จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม : เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามสามารถ ดังนี้

95

3.2.1 บอกสาเหตุข้อขดั ข้องของระบบปรบั อากาศรถยนต์ได้ 3.2.2 บอกวิธีการแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องของระบบปรบั อากาศรถยนต์ได้ 3.2.3 มีกจิ นสิ ัยทีด่ ใี นการทำงาน มคี วามรบั ผิดชอบ ประณีต รอบคอบ สะอาด ตรงต่อเวลา และรักษาสภาพแวดล้อม

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน ข้ันตอนการเรียนของนกั ศึกษา

ขั้นตอนการสอนของครู 1. นักศกึ ษาขานช่ือเมือ่ ครเู รียกชือ่ (ชั่วโมงที่ 1-2) ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรียน 2. นกั ศกึ ษานั่งฟังครูอธิบายด้วยความ ต้ังใจ 1. ครูตรวจสอบการมาเรียนของนักศึกษา โดยการเชก็ ชื่อ 3. นกั ศกึ ษาน่งั ครูอธบิ ายฟังดว้ ยความ ตั้งใจ 2. ครชู แี้ จงรายละเอยี ดหัวข้อเรอ่ื งทีจ่ ะเรยี น ตลอดจนสาระการเรียนรู้ และจดุ ประสงค์ 4. นกั ศึกษานั่งครอู ธิบายฟังด้วยความ การเรียนรู้ให้นกั ศกึ ษาทราบ ตง้ั ใจ

3. ครูช้ีแจงเกณฑก์ ารวดั ผลและประเมนิ ผล 5. นกั ศึกษาตอบคำถาม ให้นักศกึ ษาทราบ

4. ครูทบทวนความร้เู ดิมทีเ่ รียนมาแล้ว 5. ครสู นทนาและซกั ถามนักศึกษาวา่

ปญั หาอะไรบ้างท่ีทำให้ ระบบปรับอากาศไมเ่ ย็น

ขน้ั สอน 6. นักศึกษารับเอกสารประกอบการสอน 6. ครูแจก เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง 7. นกั ศกึ ษานั่งฟังครูอธบิ ายด้วยความ การแก้ไขปญั หาข้อขดั ข้องของระบบปรับ อากาศรถยนต์ให้นักศึกษา 7. ครอู ธิบายเกย่ี วกบั ปัญหาขอ้ ขดั ขอ้ ง

96

เก่ียวกบั คอมเพรสเซอรไ์ ม่ทำงานหรอื ตง้ั ใจ ทำงานผิดปกติโดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ 8. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั ปัญหาข้อขดั ขอ้ ง 8. นักศกึ ษานงั่ ฟงั ครูอธิบายด้วยความ เกี่ยวกบั มอเตอร์โบลเวอร์ โดยใชแ้ ผน่ ใส ตงั้ ใจ ประกอบ

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ต่อ) ขั้นตอนการเรยี นของนกั ศึกษา 9. นักศึกษานง่ั ฟังครูอธบิ ายด้วยความ ขน้ั ตอนการสอนของครู ตั้งใจ 9. ครูอธิบายเกย่ี วกบั ปัญหาข้อขัดขอ้ ง 10. นกั ศึกษานั่งฟังครูอธิบายดว้ ยความ ตง้ั ใจ เกย่ี วกับความเยน็ มนี ้อยหรือแอรไ์ ม่เยน็ 11. นกั ศกึ ษาช่วยกนั สรุปเนอ้ื หา โดยใชแ้ ผน่ ใสประกอบ 10. ครอู ธบิ ายเก่ียวกับปัญหาข้อขัดขอ้ ง 12. นักศกึ ษาทำแบบฝกึ หดั ประจำหนว่ ย เก่ยี วกบั เสียงดังผดิ ปกติ โดยใชแ้ ผ่นใสประกอบ 13. นักศึกษาเฉลยแบบฝึกหดั ขน้ั สรปุ ผล 11. ครูและนกั ศึกษาช่วยกนั สรุปเน้อื หา เกยี่ วกับ 11.1 ปัญหาข้อขัดขอ้ งเก่ียวกับ คอมเพรสเซอรไ์ ม่ทำงานหรือทำงานผิดปกติ 11.2 ปญั หาข้อขดั ขอ้ งเก่ียวกับมอเตอร์ โบลเวอร์ 11.3 ปญั หาขอ้ ขัดข้องเกย่ี วกับความเย็น มนี อ้ ยหรือแอร์ไมเ่ ย็น 11.4 ปญั หาข้อขดั ข้องเกี่ยวกับเสียงดงั ผิดปกติ 12. ครูให้นักศึกษาทำแบบฝึกหดั ประจำ 13. ครแู ละนักศกึ ษาร่วมกันเฉลยคำตอบ

5. สื่อการเรยี นการสอน

5.1 สือ่ สงิ่ พมิ พ์

97

ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต.์ นนทบุรี : บริษทั ศูนยห์ นงั สอื เมืองไทย จำกดั , 2562.

5.2 สื่อโสตทศั น์ 5.2.1 เคร่อื งฉายข้ามศีรษะ 5.2.2 แผ่นใส เรื่อง การแก้ไขปัญหาข้อขัดขอ้ งของระบบปรบั อากาศรถยนต์

5.3 สอื่ ของจรงิ 5.3.1 ชดุ ทดลองระบบปรับอากาศรถยนต์ /รถยนต์ 5.3.2 เคร่ืองมือประจำตวั 5.3.3 แว่นนิรภัย 5.3.4 มานิโฟลดเ์ กจ 5.3.5 สารความเย็น

6. การวัดผลและประเมนิ ผล 19

6.1 สังเกตการปฏิบตั งิ าน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี

แผนการจัดการเรยี นรรู้ ายหนว่ ย

วิชา งานปรบั อากาศรถยนต์ รหัสวิชา 20101-2105 หนว่ ยที่ ช่อื หน่วย การประมาณราคาค่าบริการระบบปรับอากาศรถยนต์ สอนครัง้ ที่ 17 จำนวน 2 คาบ

1. สาระสำคญั

เม่ือลูกค้านำรถยนต์มาซ่อมหรือบริการไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตามเมื่อช่างพิจารณา แล้วลงความเห็นว่าอุปกรณ์ช้ินน้ีเสีย หลังจากน้ันก็จะได้รับคำถามว่าแล้วราคาค่าบริการประมาณ เท่าไร ดังน้ันช่างหรือผู้ประกอบการจะต้องประมาณราคาค่าบริการที่เหมาะสมไม่แพงหรือถูกเกินไป จนทำให้กิจการต้องประสบปัญหาการขาดทุน ซ่ึงองค์ประกอบของการประมาณราคาค่าบริการจะ พจิ ารณาจาก 2 องคป์ ระกอบ คอื ราคาตน้ ทนุ และกำไร

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 ความหมายของการประมาณราคาคา่ บริการ

98

2.2 องค์ประกอบของการประมาณราคาค่าบริการ 2.3 บทสรุป

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

3.1 จดุ ประสงค์ท่ัวไป : เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการประมาณ ราคาคา่ บรกิ ารระบบปรบั อากาศรถยนต์

3.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม : เพ่ือให้ผู้เรียนมคี วามสามารถ ดังน้ี 3.2.1 บอกความหมายของการประมาณราคาค่าบรกิ ารได้ 3.2.2 อธบิ ายองค์ประกอบของการประมาณราคาคา่ บรกิ ารได้ 3.2.3 คำนวณการประมาณราคาค่าบริการได้ 3.2.4 มกี จิ นิสยั ท่ีดใี นการทำงาน มคี วามรับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ สะอาด

ตรงต่อเวลา และรักษาสภาพแวดล้อม

4. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้ันตอนการเรยี นของนักศึกษา

ข้ันตอนการสอนของครู 1. นักศึกษาขานช่ือเมอ่ื ครูเรียกชอ่ื (ช่ัวโมงที่ 1-2) ขน้ั นำเขา้ ส่บู ทเรยี น 2. นักศกึ ษานงั่ ฟังครูอธบิ ายดว้ ยความ ต้งั ใจ 1. ครูตรวจสอบการมาเรยี นของนกั ศกึ ษา โดยการเช็กชอื่ 3. นักศึกษานั่งครอู ธิบายฟงั ดว้ ยความ ตั้งใจ 2. ครูช้แี จงรายละเอยี ดหัวข้อเรื่องทีจ่ ะเรียน ตลอดจนสาระการเรยี นรู้ และจุดประสงค์ 4. นกั ศกึ ษานัง่ ครอู ธบิ ายฟงั ด้วยความ การเรียนรู้ใหน้ กั ศกึ ษาทราบ ตงั้ ใจ

3. ครูชีแ้ จงเกณฑ์การวัดผลและประเมนิ ผล 5. นกั ศกึ ษาตอบคำถาม ใหน้ ักศึกษาทราบ

4. ครทู บทวนความรเู้ ดิมทเี่ รียนมาแลว้ 5. ครสู นทนาและซกั ถามนักศึกษาว่า

การคดิ ราคาคา่ บริการซอ่ มรถยนต์ว่าทำ อย่างไร ขนั้ สอน

99

6. ครูแจก เอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง 6 นกั ศกึ ษารบั เอกสารประกอบการสอน การประมาณราคาค่าบรกิ ารระบบปรับ อากาศรถยนต์ใหน้ ักศกึ ษา 7 นกั ศกึ ษานง่ั ฟังครูอธิบายดว้ ยความ ตั้งใจ 7. ครูอธิบายเกี่ยวกบั ความหมายของ การประมาณราคาคา่ บริการโดยใช้แผ่นใส 8 นักศึกษานงั่ ฟังครูอธิบายด้วยความ ประกอบ ตัง้ ใจ

8. ครอู ธิบายเกยี่ วกบั องค์ประกอบของการ ประมาณราคาค่าบรกิ ารโดยใชแ้ ผน่ ใส ประกอบ

4. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ตอ่ ) ขัน้ ตอนการเรยี นของนักศึกษา 9 นกั ศกึ ษาช่วยกันสรปุ เนื้อหา ขนั้ ตอนการสอนของครู ขั้นสรปุ ผล 10. นกั ศึกษาทำแบบฝกึ หัดประจำหน่วย

9. ครแู ละนกั ศึกษาช่วยกนั สรปุ เนอื้ หาเกีย่ วกับ 9.1 ความหมายของการประมาณราคา

ค่าบริการ 9.2 องค์ประกอบของการประมาณราคา

คา่ บรกิ าร 10. ครูให้นักศึกษาทำแบบฝึกหดั ประจำหนว่ ย 11. ครูและนักศึกษาร่วมกันเฉลยคำตอบ

11. นักศึกษาเฉลยแบบฝกึ หัด

5. สอ่ื การเรียนการสอน

5.1 สือ่ สงิ่ พิมพ์

100

ขนบ เพชรซ้อน. งานบำรุงรักษารถยนต์. นนทบุรี : บริษทั ศูนย์หนงั สือเมืองไทย จำกัด, 2562.

5.2 สื่อโสตทัศน์ 5.2.1 เครอื่ งฉายขา้ มศรษี ะ 5.2.2 แผน่ ใส เร่ือง การประมาณราคาคา่ บรกิ ารระบบปรับอากาศรถยนต์

5.3 ส่อื ของจรงิ 5.3.1 ชุดทดลองระบบปรบั อากาศรถยนต์ /รถยนต์ 5.3.2 เครอื่ งมือประจำตวั 5.3.3 แวน่ นริ ภัย 5.3.4 มานโิ ฟลด์เกจ 5.3.5 สารความเย็น

6. การวดั ผลและประเมนิ ผล

6.1 สังเกตการปฏบิ ตั งิ าน 6.2 ทดสอบภาคทฤษฎี