การ เพ ม ค ณค า อ ญมณ การเจ ยระไน

การเจียระไนเพชร ถูกริเริ่มโดยชาวเยอรมัน ในปี ค.ศ. 1375 ในแง่ของคำ เจียระไนนี้ให้ความหมายได้สองแบบคือ ทางหนึ่งหมายถึงรูปร่างของอัญมณีที่ถูกเจียระไนขึ้น เช่น รูปทรงกลม รูปทรงไข่ เป็นต้น ส่วนอีกทางหนึ่งหมายถึงรูปร่างของการเจียระไนเหลี่ยมมุม ซึ่งราคาก็จะแปรตามคุณภาพของการเจียระไนนี้เอง ร้านเจียระไนเพชรเจ้าใหญ่เจ้าแรกตั้งขึ้นใน คริสต์ศตวรรษที่ 14 มีชื่อว่า Point Cut พวกเขานี่เองที่เป็นคนคิดค้นการเจียระไน ตามรูปผลึกของเพชร ซึ่งทำให้สูญเสียเนื้อเพชรน้อยที่สุด (เรียกว่าการเจียระไนแบบ บริเลี่ยน)

การเจียระไน[แก้]

การเจียระไน เพชร หรือ พลอยมี 4 รูปแบบหลัก ดังนี้คือ

  1. Brilliant -Cuts
  2. Step-Cuts
  3. Mixed-Cuts
  4. Fancy-Cuts

ขั้นตอนการเจียระไน[แก้]

โดยทั่วไปแล้ว การเจียระไนเพชรแบบ บริเลี่ยน (Brilliant Cut) ถือเป็นที่นิยม และเป็นรูปแบบสากลในตลาดการค้าขาย อัญมณี ส่วนหนึ่งเนื่องจากเป็นการเจียระไนที่สูญเสียเนื้อเพชรน้อยที่สุด และทำให้เพชรมีไฟสวยที่สุด

แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนหลัก คือ

  • เตรียมเพชรดิบ รูปทรง Octahedron (เป็นรูปทรงที่พบปกติอยู่แล้ว) ที่คัดแยกขนาด ,น้ำหนัก (กะรัต) ,สี และ คุณภาพเรียบร้อยแล้ว
    การ เพ ม ค ณค า อ ญมณ การเจ ยระไน
    ผลึกทรงOctahedral
  • ตัดเพชรออกเป็น 2 ส่วน แม้ว่าเพชรจะเป็นวัตถุที่แข็งที่สุด (แข็ง 10 ตามโมห์สเกล) แต่เราก็สามารถใช้ เพชรตัดเพชร ในทิศทางที่โครงสร้างภายในของเพชรอ่อนที่สุดได้ เราจะตัดให้ได้เพชรออกมาสองชิ้น ที่มีขนาดต่างกัน เครื่องมือ และ อุปกรณ์ในการตัดเพชร คือ ใบเลื่อย (อย่างบาง), ผงเพชร และ น้ำมันอินสีด การทำงานคือ ใส่ผงเพชรไปที่ใบเลื่อยแล้วตามด้วย น้ำมันอินสีดอีกชั้น เมื่อ ใบเลื่อยทำงาน หมุนตัดเข้าไปในเนื้อเพชร ผงเพชรจากการที่เพชรถูกตัดจะไปติดอยู่กับน้ำมันอินสีด ทำให้ปริมาณผงเพชรเดิมมีมากขึ้นเรื่อยๆ เป็นเช่นนี้ไปจนกระทั่ง เพชรถูกแยกออกเป็น 2 ส่วน
  • เกลา หรือ ขึ้นทรงให้ได้เพชร (ดังภาพ) โดยใช้เครื่องกลึง หรือ ขึ้นรูปร่างคร่าวๆตามการออกแบบที่วางไว้ การเกลาคือการตัดส่วนที่แหลมออกไป ให้ได้เพชรที่มีความกลมมนตามแบบที่สุด
  • การเจียระไน หรือ การขึ้นเหลี่ยม เป็นขั้นตอนที่ต้องอาศัยความชำนาญและ ความละเอียดที่สุด การขึ้นเหลี่ยมมุมให้กับเพชรนั้น อาศัยอุปกรณ์เครื่องมือเช่นเดียวกับ การตัดเพชร แต่จะมีอุปกรณ์เสริมซึ่งเรียกว่า ตุ๊กตา เป็นเครื่องที่ช่วยให้สามารถเจียระไนได้เหลี่ยมมุมที่มี สมมาตรแม่นยำ

การเจียระไน แบบ บริเลี่ยน ขั้นแรก เริ่มเจียระไนที่ด้านบนสุด ให้เรียบและสม่ำเสมอกันก่อน (เรียกว่า Table) หลังจากนั้นจึงค่อยเริ่มเจียระไน ส่วนก้นเพชร (เรียก Pavilion) แล้วจึงค่อยเจียระไนส่วนบนอีกที (เรียกว่า Crown) ซึ่งการเจียระไนส่วนบนนี้จะส่งผลให้ เหลี่ยมมุมของด้านก้นเพิ่มขึ้นด้วย จุดสุดท้ายที่เกิดขึ้นในการเจียระไนเพชรคือ หน้าตัด เล็กๆใกล้ๆยอดแหลมตรงก้นเพชร (เรียกว่า Culet)

การเจียระไนเพชร แบบ บริเลี่ยน ที่สมบูรณ์แบบนั้นจะต้องนับหน้าตัดได้ 54 หน้า โดยนับรวมทั้ง Culet และ Table ด้วย และ ได้เหลี่ยมมุมตามแบบมาตรฐานสากล ซึ่งจะทำให้เพชรมีไฟสวยที่สุด ขั้นตอนนี้จึงเป็นขั้นตอนที่ละเอียดอ่อน และ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความช่ำชอง มีประสบการณ์หลายปีจึงจะมีคุณสมบัติในการทำงานนี้ เนื่องจาก ความผิดพลาดจากการเจียระไน ในเพชรหนึ่งก้อน อาจก่อให้เกิดความเสียหายมูลค่าหลายล้าน

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเรทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.

คำนมัสการ

  • อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบครั้งที่หนึ่ง)
  • สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบครั้งที่สอง)
  • สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ. (กราบครั้งที่สาม)

ปุพพะภาคะนะมะการะ

กล่าวนำ: หันทะทานิ มะยังตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อะภิคายิตุง, ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส.

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (3 ครั้ง)

พุทธานุสสะติ

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

พุทธาภิคีติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.

พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง.

พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบ กล่าวว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.

  • หมายเหตุ
  • ให้สวดหยุดเป็นตอนๆ ตามสัญลักษณ์ “ , ” หรือ “ . ”
  • พุทธัสสาหัสมิ อ่านว่า พุด – ทัด – สา – หัด – สะ – มิ (ออกเสียง อะ ครึ่งเสียง)
  • ท่านหญิงกล่าคำในวงเล็บ เช่น “ทาสี” (ท่านชายกล่าว “ทาโส”)
  • วัฑเฒยยัง อ่านว่า วัด – ไท – ยัง (เ – ย อ่านว่า ไ – ย ทุกแห่ง)

ธัมมานุสสะติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ

  • หมายเหตุ
  • วิญูหีติ อ่านว่า วิน – ยู – ฮี – ติ

ธัมมาภิคีติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.

สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง.

ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบ กล่าวว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.

  • หมายเหตุ
  • วัฑเฒยยัง อ่านว่า วัด – ไท – ยัง

สังฆานุสสะติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

  • หมายเหตุ
  • อาหุเนยโย อ่านว่า อา – หุ – ไน – โย

สังฆาภิคีติ

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.

สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต, โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง.

สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง.

สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร, สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม.

สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, วันทันโตหัง (วันทันตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง.

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน.

สังฆัง เม วันทะมาเนนะ(วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, สัพเพปิ อันตะรายา เม, มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.

(หมอบกราบ กล่าวว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา, สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง, กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.

(นั่งพับเพียบ)

อุททิสสะนะคาถา

กล่าวนำ: หันทะ มะยัง อุททิสสะนะคาถาโย ภะณามะ เส.

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา, อาจะริยูปะการา จะ มาตา ปิตา จะ ญาตะกา ปิยา มะมัง, สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ, พรัหมะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา, ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ, สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม, สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โวมะตัง ฯ, อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ, ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปาทานะเฉทะนัง, เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง, นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว, อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วีริยัมหินา, มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วีริเยสุ เม, พุทโธ ทีปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม, นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง, เตโสตตะมานุภาเวนะ, มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ