การเด นทางโดยรถประจำทางไปสำน กงานพ ฒนาฝ ม อแรงงาน อ.บางใหญ จ.นนทบ ร

ประเดน็ การพัฒนา 1. พัฒนาจังหวดั สูส่ งั คมน่าอยู่ทมี่ คี วามมน่ั คง ปลอดภยั และทันสมยั เพ่ือเป็น 2. การพัฒนาเศรษฐกจิ มลู ค่าสงู เศรษฐ

จงั หวัด ต้นแบบเมืองแห่งอนาคต กระจายทั่วท้งั จังหวดั

1. พฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน ระบบโลจสิ ติกสใ์ ห้มีมาตรฐาน เช่ือมโยงอยา่ งเปน็ 1. ยกระดบั การขนสง่ สาธารณะ และระ

ระบบและมีอารยสถาปตั ย์ เพอ่ื คนท้งั มวล ระบบสาธารณูปโภค และบรกิ าร ทนั สมัย เชือ่ มโยงกรงุ เทพมหานครและ

สาธารณะใหม้ มี าตรฐานเอ้อื ต่อการอยอู่ าศยั ใน พ้ืนท่ี

2. พัฒนาเมอื งท่มี ีความปลอดภัย สามคั คีปรองดอง และระบบปอ้ งกนั ที่มี 2. วางระบบ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพ

มาตรฐาน ทนั สมัย ใหป้ ระชาชน ผ้ใู ชบ้ รกิ ารมีความเชอ่ื มั่น และได้รบั การดูแล รองรบั ระบบเศรษฐกิจในอนาคต

อยา่ งท่วั ถงึ ทันทว่ งที 3. สรา้ งโอกาสกิจกรรมการท่องเทยี่ วค

3. ยกระดับจงั หวดั สู่เมืองชัน้ นำทีม่ ปี ระชาชนมีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ี สุขภาพดี กรงุ เทพมหานคร และจังหวัดทมี่ ีศกั ยภ

มาตรการ/แนวทาง การศึกษาดี เปน็ ประชากรท่ีมคี วามกา้ วหน้า ความเจรญิ ท้งั ทางจติ ใจ 4. สรา้ งโอกาสทางการคา้ การลงทุน แ และวัตถุ และมวี ถิ ชี ีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สร้างสรรคธ์ รุ กิจมลู คา่ สูง

4. สรา้ งสงั คมท่เี ออื้ ต่อการอยู่อาศยั ของผูส้ ูงอายุ และยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของ 5. ระดมพลังภาคที กุ ภาคสว่ นรว่ มสรา้ ง

ประชาชนกลุ่มเปราะบางใหส้ ามารถช่วยเหลอื ตนเอง และปรบั ตัวทา่ มกลางการ หลังจากวกิ ฤติ COVID -19 ให้กลับมาเ

เปลยี่ นแปลง 6. สร้างและพัฒนาจังหวดั สเู่ มืองผลิตส

5. ยกระดับจังหวัดสเู่ มอื งดิจทิ ัล และเมืองอจั ฉริยะทที่ นั สมยั การแปรรปู สินค้า และเปน็ แหลง่ อาหาร

6. พัฒนาสงั คมนา่ อยู่ด้วยศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม วิถชี ีวิต ประเพณี และค่านยิ ม 7. พฒั นาเศรษฐกิจฐานรากท่ีเขม้ แข็ง แ

อันดีงาม สร้างคณุ ค่าทางสังคม และมลู ค่าทางเศรษฐกิจ ผปู้ ระกอบการวสิ าหกจิ ชมุ ชน และผปู้ ร

7. เพิ่มขดี ความสามารถในการบรหิ ารจัดการการบริการภาครฐั ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ

แผนงานที่ 1 การพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานเพื่อการสร้างเมอื งแห่งการอยอู่ าศัยทมี่ ี แผนงานที่ 1 แผนงานการเสรมิ สรา้ งเศรษ

คณุ ภาพ และสร้างความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ ิน (1) โครงการนำนนทบรุ ีการันตี เชื่อมโย

แผนงาน/โครงการ (1) โครงการพฒั นาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสาธารณปู โภค และบรกิ ารสาธารณะให้มี แผนงานที่ 2 แผนงานการสรา้ งโอกาส แล สำคญั มาตรฐานเออื้ ต่อการอย่อู าศัยในระดบั เมอื งช้ันนำ COVID -19 (2) โครงการพฒั นาเมอื งทีม่ คี วามปลอดภัย (1) โครงการระดมพลงั ภาคพี ลิกฟน้ื คืนเ

แผนงานที่ 2 การสรา้ งเมอื งชั้นนำทมี่ ปี ระชาชนมคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี สุขภาพดี การศกึ ษาดี แผนงานท่ี 3 การเสรมิ สรา้ งเศรษฐกจิ มลู ค

ประชาชนมวี ิถชี ีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (1) โครงการสรา้ งและพฒั นาจงั หวัดสเู่ ม

ตวั ช้วี ดั ความสำเร็จตามเปา้ หมายการพฒั นาจังหวัด (ให้ระบุทงั้ ตัวช้วี ัดและค่าเปา้ หมาย) ค่าดชั นคี วามกา้ วหนา้ ของคนไมต่ ่ำกว่า 0.7967 /อตั ราการขยายตัวของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 7 และ มมี ูลคา่ รวมไมน่ อ้ ยกวา่ 477,601 ลา้ นบาท /ค่าดัชนีชีว้ ดั ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม ได้แก่ (1) คณุ ภาพนำ้ ของแมน่ ้ำเจา้ พระยาท่ีไหลผา่ นพื้นท่ี จงั หวดั นนทบรุ มี ีค่า Water Quality Index : WQI เทา่ กบั 68.5 หรืออยู่ในเกณฑค์ ณุ ภาพนำ้ ของแมน่ ำ้ เจ้าพระยาตอนลา่ งทพี่ อใช้ (2) คุณภาพอากาศในพน้ื ทีจ่ ังหวดั นนทบรุ ี มีคา่ Air Quality Index : AQI ตำ่ กวา่ 50 หรอื อยใู่ นเกณฑค์ ณุ ภาพอากาศดี (3) ระดบั เสยี ง ในพืน้ ท่ีจังหวดั นนทบรุ ี ตำ่ กว่า 70 เดซิเบล หรอื อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน (4) ขยะมลู ฝอยชุมชนไดร้ บั การจดั การอยา่ งถูกตอ้ ง (รอ้ ยละ 100) , ของเสียอนั ตรายชมุ ชนไดร้ บั การจัดการอยา่ งถูกตอ้ ง (ร้อยละ 100) , มลู ฝอยติดเชื้อไดร้ บั การจดั การอย่างถูกตอ้ ง

(รอ้ ยละ 100) (5) จำนวนพน้ื ท่สี เี ขียวในเขตจังหวดั นนทบรุ ีเพมิ่ ขนึ้ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 3 ของพน้ื ทที่ งั้ หมด

ฐกิจฐานรากให้กา้ วหนา้ และเติบโตอย่างตอ่ เน่ือง 3. การสร้างความยงั่ ยนื ของการพฒั นาท่เี ตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม

 

ะบบโลจสิ ตกิ สเ์ ชื่อมโยงอยา่ งเปน็ ระบบและ 1. ปฏิบตั ิการเชงิ รกุ เพื่อการปรบั ระบบการจดั การปญั หามลพษิ สิง่ แวดลอ้ ม (ขยะ น้ำเสีย อากาศ ะจงั หวดั ทม่ี ีศกั ยภาพ และระเบียงเศรษฐกิจใน และเสยี ง) โดยชุมชน ทอ้ งถนิ่ และภาคประกอบการ 2. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การน้ำเพือ่ การเกษตร การท่องเทย่ี ว การอย่อู าศยั และการพฒั นา พัฒนาดา้ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ท่ีมคี วามทันสมยั คณุ ภาพชีวติ 3. ลดผลกระทบจากภยั พบิ ตั ดิ ว้ ยเทคโนโลยี คุณภาพ ทอ่ งเท่ยี วเชงิ สรา้ งสรรค์ เช่ือมโยงกับ 4. พัฒนาจังหวัดให้มคี วามเตบิ โตทางรายได้ และคณุ ภาพชวี ติ บนฐานส่ิงแวดลอ้ มท่ีย่ังยืน ภาพ 5. สรา้ งกระบวนทัศน์ สร้างความเขม้ แขง็ ด้านการจัดการส่ิงแวดลอ้ มเป็นแนวปฏบิ ตั ิทดี่ แี ละธรร และตอ่ ยอดภาคอุตสาหกรรมของจงั หวัดสู่การ มาภบิ าล

งโอกาส และศกั ยภาพในการฟืน้ คนื เศรษฐกิจ เติบโตอย่างม่นั คง สินค้าการเกษตรคณุ ภาพ มูลคา่ สูง เปน็ ศนู ยก์ ลาง รคณุ ภาพของประชาชน แข่งขนั ไดด้ ว้ ยพลงั ขดี ความ สามารถของ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็

 

ษฐกิจฐานรากเขม้ แขง็ แขง่ ขันได้ แผนงานท่ี 1 แผนงานเมอื งสีเขยี ว ยงตลาดโลก ผา่ นแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ลั (1) โครงการพฒั นาระบบการจดั การลดปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม (ขยะ น้ำเสยี อากาศ และเสยี ง) ละศักยภาพในการฟ้ืนคืนเศรษฐกจิ หลังจากวกิ ฤติ แผนงานท่ี 2 แผนงานการจดั การน้ำอัจฉรยิ ะเพ่ือการเกษตร การทอ่ งเทยี่ ว และการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (1) โครงการจดั การนำ้ อจั ฉริยะเพ่ือการเกษตร การท่องเทย่ี ว การอยู่อาศยั และการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ เศรษฐกจิ หลงั จากวิกฤติ COVID -19 (2) โครงการนำ้ สะอาดเพ่ือคณุ ภาพชวี ติ ค่าสูง แขง่ ขนั ได้ (3) โครงการสรา้ งคลังนำ้ ใตด้ ิน เพือ่ เกษตรอตั ลักษณ์นนทบรุ ี มอื งผลิตสนิ คา้ การเกษตรคณุ ภาพ มลู คา่ สงู

(1) โครงการยกระดบั จังหวดั สเู่ มอื งช้นั นำทีม่ ปี ระชาชนมีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี สขุ ภาพดี แผนงานท่ี 4 การท่องเที่ยวมลู ค่าสูง สรา้ ง

การศกึ ษาดี ประชาชนมีวิถีชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (1) โครงการส่งเสรมิ และสรา้ งมลู ค่าเพมิ่

(2) โครงการสรา้ งอุทยานปญั ญาและชวี ติ

(3) โครงการสรา้ งสวนสาธารณะและสนั ทนาการประจำอำเภอ

แผนงานท่ี 3 การสรา้ งเมืองดจิ ิทลั และเมืองอัจฉริยะที่ทนั สมยั

(1) โครงการพฒั นาเมอื งดิจทิ ลั และเมืองอัจฉรยิ ะทท่ี นั สมัย

(2) โครงการเพม่ิ ขีดความสามารถในการบรหิ ารจดั การบริการภาครฐั

แผนงานท่ี 4 การพฒั นาเมืองแหง่ ความทนั สมยั เพือ่ คณุ ภาพชีวติ เศรษฐกิจ และสังคม

แห่งอนาคต (Super Smart Nonthaburi : SSN)

(1) โครงการ Smart Green สรา้ งภมู ิทศั น์เมอื ง การพัฒนานิเวศนป์ า่ รอ้ ยไร่

เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ท่ียั่งยนื ตกแตง่ ดว้ ยไมด้ อกไมป้ ระดบั และต้นไม้ (ปลกู ตน้ ไม้

ลา้ นตน้ ) การใชพ้ ลังงานสะอาด ระบบอัจฉรยิ ะเพ่ือการจดั การมลพิษอากาศ นำ้ เสีย และ

ขยะ การจดั สรา้ งเตากำจัดขยะเทคโนโลยีพลาสมา ประจำชุมชน

งสรรคเ์ มอื งนนทบรุ ีสกู่ ารท่องเทีย่ วนานาชาติ แผนงานที่ 3 แผนงานการจดั การภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ มแหล่งทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั นนทบรุ ี (1) โครงการลดปญั หาการพงั ทลาย กดั เซาะชายฝง่ั และนำ้ เค็มรกุ ลำ้

เป้าหมายการพัฒนา ผังโครงสรา้ งแผนพฒั นา (Vision) “ เมอื ตัวขว้ี ัดความสำเร็จ (Ultimate Goals) 1. จังหวัดนนทบุรเี ปน็ สังคมคุณภาพ เปน็ ท่ีอยอู่ าศัยทมี่ ีคณุ ภาพ และประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี โดยมีค่าดัชนคี วามก้าวหนา้ ของ 2. จงั หวดั นนทบุรเี ปน็ เมอื งเศรฐกจิ มูลคา่ สงู โดยมีอัตราการขยายตวั ของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 7 และมีมูล ประเด็นการพัฒนา 3. จงั หวดั นนทบุรีเป็นเมืองท่ีเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม มีค่าค่าดัชนีชี้วัดด้านส่ิงแวดล้อม ได้แก่ (1) คุณภา (Strategic Issue) ตอนลา่ งที่พอใช้ (2) คุณภาพอากาศในพน้ื ทีจ่ ังหวัดนนทบรุ ี มีค่า Air Quality Index : AQI ตำ่ กว่า 50 หรืออยู่ในเกณฑ์คุณภ เปา้ หมายและ ละ 100) , ของเสียอันตรายชุมชนไดร้ ับการจดั การอย่างถกู ต้อง (รอ้ ยละ 100) , มลู ฝอยติดเชอ้ื ไดร้ ับการจดั การอยา่ งถกู ตอ้ ง (ร ตัวช้ีวดั 1. พฒั นาจังหวดั สู่สังคมน่าอยู่ที่มคี วามมัน่ คง ปลอดภัย และทนั สมัย เพ่ือเป็นต้นแบบเมอื งแห่งอนาคต แนวทางการพัฒนา (Strategy) เปา้ หมาย 1. โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ระบบสาธารณูปโภค พนื้ ท่ีสาธารณะเอือ้ ต่อการพฒั นาเมืองแห่งคุณภาพชีวิตที่ดขี องทุกคน เปน็ สังคมแห่งอนาคตทนี่ า่ อยู่ และมีอารยสถาปัตย์ เพื่อคนทง้ั มวล ตวั ชี้วัด 1.1 อัตราการผูเ้ สยี ชวี ิตอบุ ตั เิ หตทุ างถนนต่อประชากรแสนคน (สนง.ปภ.จ.นบ.)

1.2 ร้อยละความสำเรจ็ ในการแก้ปัญหาจุดเส่ียงอุบัติเหตทุ างถนนจังหวัดนนทบุรี (เม่อื แก้ไขแล้วสามารถลดปญั หาได)้ (ทล.นบ./ทช.นบ. และ อปท.ทกุ แห่ง) 1.3 จำนวนพน้ื ทที่ ่ีได้รับการพัฒนาโครงสร้าง พ้นื ฐาน (อารยสถาปตั ย์) รองรบั กล่มุ ผู้พิการ สงู อายุ และกลุ่มเปราะบาง (แห่ง) (สนง.พมจ.นบ./สนง.ยธ.จ.นบ./ทล.นบ./ทช.นบ. และ อปท.ทุกแห่ง) 1.4 จำนวนพืน้ ทท่ี ไี่ ดร้ ับการพฒั นาตามเปา้ หมายเมอื งทันสมัย Smart Nonthaburi (สนง.ยธ.จ.นบ./ทล.นบ./ ทช.นบ. และ อปท.ทุกแห่ง) 1.5 จำนวนเสน้ ทางท่ไี ด้รบั การปรับปรงุ พฒั นา และสร้างใหมเ่ พ่อื การจัดระเบียบเมืองปรับภูมทิ ศั นเ์ มอื ง และเสรมิ สรา้ งเมอื งแหง่ คุณภาพชวี ิตของเมืองแห่งกาอยูอ่ าศยั (สนง.ยธ.จ. ทล.นบ./ ทช.นบ. และ อปท.ทกุ แห่ง) เปา้ หมาย 2. จงั หวัดนนทบุรมี ีความสงบเรียบรอ้ ย มคี วามปลอดภยั และมรี ะบบการปอ้ งกันภัยทม่ี ีมาตรฐาน ประชาชนไดร้ บั การดูแลอย่างทว่ั ถึง ตัวชี้วัด 2.1 ร้อยละที่ลดลงของคดีด้านกระทำความผิดร่างกายและทรพั ย์สิน (ตำรวจภธู รจังหวัดนนทบรุ ี) 2.2 ร้อยละของเรอื่ งร้องเรียนด้านความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย์สนิ ผา่ นศูนย์ดำรงธรรมจังหวดั นนทบุรไี ด้รบั การแกไ้ ขเปน็ ที่ยตุ ิ (ศดธนบ./สนจ.นบ.) 2.3 ร้อยละของหมูบ่ า้ น/ชุมชนที่ไมพ่ บปัญหายาเสพติดไม่น้อยกว่า(ปค.จ.นบ.) 2.4 จำนวนพน้ื ที่หรอื เส้นทางทีไ่ ด้รบั การพฒั นาตามเปา้ หมาย Smart Security และ Smart CCTV (อปท.ทกุ แห่ง) เป้าหมาย 3 จังหวดั นนทบรุ ีเปน็ เมืองประชาชนคุณภาพดี มีสุขภาพดี มกี ารศกึ ษาดี และมีวิถีชวี ิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นเมืองที่มคี วามเข้มแข็งด้านประเพณี วฒั นธรรม ตวั ช้ีวัด 3.1 ร้อยละคะแนนเฉล่ยี ของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) เพ่ิมข้ึน (ศธ.จ.นบ.) 3.2 จำนวนประชาชนเป้าหมายทไี่ ดร้ บั การพัฒนาเพื่อเป็นประชากรแหง่ อนาคตรองรับเมอื งแห่งคนคณุ ภาพ (สนจ.นบ./มหาวทิ ยาลัย) 3.3 จำนวนเด็กอัจฉรยิ ะนนทบุรี (7Q) ทไี่ ดร้ ับการพัฒนาตามโปรแกรมการสร้างคนแห่งคุณภาพแห่งอนาคต (สนง.พมจ.นบ.ศธ.จ.นบ.) 3.4 อัตราการรอบรดู้ ้านสขุ ภาพของประชาชน(สนง.สส.จ.นบ.) 3.5 จำนวนชมุ ชนวิถีชวี ิตตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (สนจ.พช.จ.นบ.) 3.6 ร้อยละการเพิ่มขน้ึ ของมูลค่าผลติ ภัณฑท์ างวัฒนธรรม (CPOT) (สนง.วธ.จ.นบ.) เป้าหมาย 4 สงั คมสูงวัย และกลมุ่ เปราะบางของจงั หวดั นนทบุรเี ป็นสงั คมคณุ ภาพและชวี ิตดี 4.1 รอ้ ยละของผู้สงู อายทุ ีม่ ีมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่ดี (สนง.พมจ.นบ./สนง.สสจ.นบ. และอปท.ทุกแหง่ ) 4.2 ร้อยละของประชากรกลุ่มเปราะบางทไี่ ดร้ บั การชว่ ยเหลือและพฒั นาคุณภาพชีวิต(สนง.พมจ.นบ./สนง.สสจ.นบ. และอปท.ทุกแห่ง) 4.3 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้สงู อายุท่ีมีต่อการพัฒนาสภาพแวดล้อมเมืองเพื่อผู้สงู อายุ (สนง.พมจ.นบ./สนง.สสจ.นบ. และอปท.ทุกแห่ง) เป้าหมาย 5 จงั หวดั นนทบุรีเป็นเมืองทม่ี คี วามทนั สมัย เปน็ เมืองดิจทิ ัล และประชาชนมคี วามรอบรู้ ทันเทคโนโลยี 5.1 ร้อยละครวั เรือนทมี่ ีระบบอินเตอรเ์ นต็ ความเรว็ สงู (รอ้ ยละ) (สนง.สถิติจังหวัดนนทบรุ /ี อปท.ทุกแห่ง) 5.2 จำนวนพ้ืนทขี่ อง อปท. ทีไ่ ด้รับการพัฒนาใหเ้ ป็น Smart point (จุดบริการไวไฟสาธารณะ จุดชารต์ แบตเตอรี่สมาร์ทโฟน และขอ้ มูลขา่ วสารบนระบบจอดิจทิ ัล) (แห่ง) (อปท.ท เป้าหมาย 6 ระบบบริการสาธารณะของจงั หวดั มีคุณภาพ ประชาชนเขา้ ถึงดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส และมรี ะบบการบรหิ ารจดั การทมี่ ีประสิทธภิ าพ 6.1 ระดบั ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการภาครัฐ (สำนักงานสถิตจิ ังหวัดนนทบรุ ี/สำนกั งานจงั หวดั นนทบรุ ี)

  1. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ใหม้ มี าตรฐาน เช่ือมโยงอย่างเป็นระบบและมีอารยสถาปตั ย์ เพ่อื คนท้ังมวล ระบบสาธารณูปโภค และบริการสาธารณะใหม้ ีมาตร การอยูอ่ าศัยในระดบั เมอื งช้นั นำ เพ่ือคณุ ภาพชีวิตที่ดขี องประชาชนทุกระดับ ทกุ เพศ ทุกวัย และมีความสะดวก ปลอดภยั (SO)
  1. พฒั นาเมอื งทมี่ คี วามปลอดภัย สามคั คปี รองดอง และระบบป้องกันทม่ี มี าตรฐาน ทนั สมัย ให้ประชาชน ผใู้ ช้บรกิ ารมีความเช่ือม่นั และไดร้ บั การดแู ลอยา่ งทว่ั ถึง ทันท่วงที (WO)
  2. ยกระดบั จงั หวัดสู่เมืองช้ันนำท่ีมีประชาชนมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี สขุ ภาพดี การศึกษาดี เป็นประชากรที่มีความก้าวหน้า ความเจรญิ ทั้งทางจิตใจ และวตั ถุ และมีวถิ ีชีวิตตามหลักปรชั ญาขอ พอเพียง (SO)
  3. สร้างสังคมท่ีเอ้ือต่อการอยอู่ าศยั ของผู้สูงอายุ และยกระดับคุณภาพชวี ติ ของประชาชนกลมุ่ เปราะบางให้สามารถช่วยเหลอื ตนเอง และปรบั ตวั ท่ามกลางการเปล่ียนแปลง (ST)
  4. ยกระดบั จังหวัดสูเ่ มอื งดจิ ิทัล และเมอื งอจั ฉริยะทีท่ นั สมยั (SO)
  5. พัฒนาเมอื งนา่ อยู่ด้วยศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วิถชี วี ิต ประเพณี และค่านยิ ม อนั ดีงาม สรา้ งคุณค่าทางสังคม และมูลคา่ ทางเศรษฐกิจ (SO)
  6. เพิม่ ขดี ความสามารถในการบรหิ ารจัดการการบริการภาครฐั มปี ระสิทธิภาพในการขบั เคลอื่ นสู่การเป็นจังหวัดทพ่ี ัฒนาดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

าจังหวัดนนทบุรี 5 ปี (พ.ศ.2566- 2570) ช

องนา่ อยู่ (Livable city) ” ”

งคนไม่ต่ำกวา่ 0.7967 ลค่ารวมไม่น้อยกว่า 477,601 ลา้ นบาท าพน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาท่ีไหลผ่านพ้ืนที่จังหวัดนนทบุรีมีค่า Water Quality Index : WQI เท่ากบั 68.5 หรอื อยู่ในเกณฑ์คุณภาพน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยา ภาพอากาศดี (3) ระดบั เสยี งในพ้ืนที่จังหวัดนนทบุรี ต่ำกว่า 70 เดซิเบล หรืออยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน (4) ขยะมูลฝอยชมุ ชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง (รอ้ ย รอ้ ยละ 100) (5) จำนวนพ้ืนท่ีสเี ขยี วในเขตจงั หวดั นนทบรุ ีเพ่มิ ข้ึนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 3 ของพนื้ ทท่ี ง้ั หมด

2. การพัฒนาเศรษฐกิจมูลค่าสูง เศรษฐกิจฐานรากให้ก้าวหน้า และเติบโตอย่างต่อเนื่อง กระจายท่ัวทั้ง 3. การสร้างความย่งั ยนื ของการพัฒนาทเ่ี ตบิ โตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ จงั หวัด สิง่ แวดลอ้ ม

ล เปา้ หมาย 1 จังหวัดเป็นแหล่งเชอ่ื มโยงเศรษฐกิจของประเทศ และนานาชาติ มีศกั ยภาพในการรองรบั ระบบเศรษฐกจิ ใน เปา้ หมาย 1 เมืองแหง่ การพฒั นาอย่างยั่งยนื ท่สี มดุล เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม อนาคตเพิ่มขน้ึ อย่างต่อเน่ือง ทีมเศรษฐกิจของจังหวัดมคี วามสามารถสูง ผปู้ ระกอบการก้าวหนา้ เขม้ แข็ง แขง่ ขนั ได้ ตัวชี้วัด 1.1 จำนวนไร่ของการเพ่ิมขึ้นของพื้นท่ีสีเขียว ในเขตเมืองและชนบท ตัวชี้วดั 1.1 จำนวนผลติ ภณั ฑ์ OTOP และผลิตภัณฑข์ องจงั หวดั นนทบุรีของการสง่ เสรมิ เขา้ สตู่ ลาดออนไลน์ (สนง.พช.จ.นบ.) (สนง.ทสจ.นบ./ อปท.ทกุ แหง่ ) 1.2 ร้อยละมูลคา่ ที่เพมิ่ ขึ้นของรายไดจ้ ากการทอ่ งเที่ยว (สนง.ทก.จ.นบ.) 1.2 จำนวนต้นไม้ท่ไี ดร้ ับการปลกู เพิ่ม (สนง.ทสจ.นบ./ อปท.ทุกแห่ง) 1.3 รอ้ ยละท่ีเพ่ิมขึ้นของรายไดจ้ ากการคา้ การลงทุน (สนง.พณ.จ.นบ.) เป้าหมาย 2 ส่ิงแวดล้อมของจังหวัดนนทบุรีได้รับการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู พัฒนา และใช้ 1.4 ร้อยละการเพิ่มขน้ึ ของรายได้จากผลผลติ ผลิตภัณฑน์ นทบุรีการันตี (สนง.เกษตรจังหวดั นนทบรุ ี/สนง.ประมง .นบ./ จังหวัดนนทบรุ ี/สนง.ปศุสัตว์จังหวัดนนทบรุ )ี ประโยชนอ์ ยา่ งสมดุลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและและคุณภาพชวี ิต

ตัวช้ีวัด 2.1 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของครัวเรือนท่ีเข้าถึงน้ำประปา (อปท. การประปานคร 1.5 จำนวนเส้นทางทีไ่ ด้รับการปรบั ปรงุ พฒั นาเพอ่ื รองรับการพัฒนาเศรษฐกจิ และเศรษฐกิจแห่งอนาคต (ทช.นบ./ หลวง) ทล.นบ.) 2.3 ค่าคะแนนวัดคณุ ภาพน้ำ (WQI) ในแม่น้ำสายหลัก (สนง.ทสจ.นบ.) เป้าหมาย 2 การฟนื้ คนื เศรษฐกิจหลงั จากวิกฤติ ของจังหวดั ดีข้ึน และกลบั มาเตบิ โตอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ม่นั คง 2.4 ร้อยละจำนวนวันที่ PM 2.5 เกินค่าเกณฑ์มาตรฐานลดลงจากปีฐาน ตัวช้ีวดั 2.1 จำนวนผู้ประกอบ การทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจและได้รบั การฟืน้ คนื อย่างทัว่ ถึงจนมี (สนง.ทสจ.นบ./ อปท.ทุกแห่ง) ศกั ยภาพท่ีดีขึน้ เปา้ หมาย 3 จงั หวดั นนทบุรเี ป็นเมอื งที่มีความย่ังยืนในการพฒั นาทางเศรษฐกจิ (สนง.อก.จ.นบ.) สงั คม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในวถิ สี ังคมเมืองทมี่ ีความก้าวหน้า เปา้ หมาย 3 เศรษฐกิจฐานรากเข้มแข็ง การพัฒนาเศรษฐกิจกระจายตวั อย่างท่วั ถึง ประชาชนมงี านอาชพี และ ตัวช้ีวดั 3.1 มูลค่าเพิ่มข้นึ ของเศรษฐกิจเกษตร GI จากโมเดล BCG นนทบุรี รายไดท้ ่ีมัน่ คง (ร้อยละ)(สนง.เกษตรจังหวดั นนทบรุ ี/สนง.เกษตรและสหกรณ์จังหวัดนนทบรุ ี) ตัวชี้วดั 3.1 ร้อยละมลู ค่าท่ีเพิ่มขึน้ ของผลติ ภัณฑจ์ ังหวัดภาคเกษตร (สนง.เกษตรจังหวัดนนทบรุ ี) เปา้ หมาย 4 จงั หวดั นนทบุรมี ีกระบวนทศั น์ สรา้ งความเข้มแข็งดา้ นการจดั การ 3.2 มูลค่าทเ่ี พ่มิ ขน้ึ ของรายได้จากการจำหนา่ ยสินค้า OTOP (สนง.พช.จ.นบ.) สงิ่ แวดลอ้ มเปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดีและธรรมาภิบาล 3.3 จำนวนผ้ปู ระกอบการ SMEs ทีไ่ ด้รับการพัฒนา (สนง.พช.จ.นบ./สนง.อก.จ.นบ./สนง.เกษตรจังหวัด ตัวช้ีวัด 4.1 จำนวนพืน้ ทเ่ี ป้าหมายการพัฒนาส่งิ แวดลอ้ มทย่ี ่งั ยืน นนทบรุ )ี (สนง.ทสจ.นบ./ อปท.ทกุ แห่ง)

ทุกแห่ง)

รฐานเอือ้ ต่อ 1) ยกระดับการขนส่งสาธารณะ และระบบโลจิสติกส์เช่ือมโยงอย่างเป็นระบบและทันสมัย 1) ปฏิบัติการเชิงรุกเพ่ือการปรับระบบการจัดการปัญหามลพิษ ของเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกรงุ เทพมหานครจงั หวดั ที่มีศกั ยภาพ และระเบยี งเศรษฐกิจในพื้นท่ี (SO) สิ่งแวดล้อม(ขยะ น้ำเสีย อากาศ และเสียง) โดยชุมชน ท้องถ่ิน และภาค ประกอบการ (WO) (WO) 2) วางระบบ ส่งเสริม สนับสนนุ และพัฒนาด้านเทคโนโลยีดจิ ิทลั ท่ีมีความทันสมัย รองรับระบบ เศรษฐกจิ ในอนาคต (WO) 2) พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเพ่ือการเกษตร การ ทอ่ งเท่ยี ว การอยอู่ าศัยและการพฒั นาคุณภาพชีวิต (WO)

  1. สร้างโอกาสกิจกรรมการท่องเท่ียวคุณภาพ ท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ เชื่อมโยงกับ
  2. ลดผลกระทบจากภยั พบิ ัติดว้ ยเทคโนโลยี (WO) กรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกล้เคยี ง (SO) 4) พัฒนาจงั หวัดให้มีความเติบโตทางรายได้ และคุณภาพชีวิตบน
  3. สร้างโอกาสทางการค้า การลงทุน และต่อยอดภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดสู่การสร้างสรรค์ ฐานส่งิ แวดล้อมท่ียง่ั ยนื (WO)
  4. สร้างกระบวนทัศน์ สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดการ ธรุ กจิ มูลค่าสงู (SO)
  5. ระดมพลังภาคีทุกภาคส่วนร่วมสร้างโอกาส และศักยภาพในการฟ้ืนคืนเศรษฐกิจหลังจาก ส่งิ แวดลอ้ มเปน็ แนวปฏบิ ตั ิทด่ี แี ละธรรมภบิ าล (ST)

วกิ ฤติ COVID -19 ใหก้ ลบั มาเตบิ โตอยา่ งม่ันคง (ST)

  1. สร้างและพัฒนาจังหวัดสู่เมืองผลติ สินค้าการเกษตรคณุ ภาพ มลู ค่าสูง เป็นศูนย์กลางการแปร

รปู สนิ ค้า เปน็ แหล่งอาหารคุณภาพของประชาชน (SO)

  1. พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากที่เข้มแข็ง แข่งขันได้ด้วยพลังขีดความสามารถของผู้ประกอบการ

วสิ าหกิจชมุ ชน และผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็ (WO)

เป้าหมายการพฒั นา ผงั โครงสรา้ งแผนพฒั นา (Vision) “ เม ตัวข้วี ัดความสำเร็จ (Ultimate Goals) 4. จังหวัดนนทบรุ เี ปน็ สงั คมคุณภาพ เป็นทอ่ี ยอู่ าศยั ทม่ี ีคณุ ภาพ และประชาชนมคี ณุ ภาพชีวิตท่ดี ี โดยมคี ่าดัชนีความก้าวหนา้ ขอ 5. จงั หวัดนนทบรุ เี ป็นเมืองเศรฐกิจมลู คา่ สูง โดยมีอัตราการขยายตัวของผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวดั ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 7 และมมี ประเดน็ การพฒั นา 6. จังหวัดนนทบุรเี ป็นเมืองที่เติบโตบนคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีค่าค่าดัชนีช้วี ัดด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ (1) คุณภ (Strategic Issue) ตอนล่างทพี่ อใช้ (2) คุณภาพอากาศในพ้ืนที่จังหวดั นนทบรุ ี มีค่า Air Quality Index : AQI ตำ่ กว่า 50 หรอื อยู่ในเกณฑค์ ุณ แผนงาน และ 100) , ของเสยี อันตรายชมุ ชนไดร้ บั การจัดการอยา่ งถกู ตอ้ ง (ร้อยละ 100) , มูลฝอยติดเช้อื ได้รับการจดั การอยา่ งถกู ตอ้ ง (ร้อ โครงการ 1. พฒั นาจงั หวดั สู่สงั คมนา่ อยทู่ ม่ี ีความมั่นคง ปลอดภัย และทันสมยั เพอื่ เปน็ ตน้ แบบเมอื งแห่งอนาคต

แผนงานท่ี 1 การพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพ่อื การสรา้ งเมอื งแห่งการอยู่อาศยั ท่ีมคี ุณภาพ และสรา้ งความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ ิน

  1. โครงการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบสาธารณูปโภค และบรกิ ารสาธารณะให้มมี าตรฐานเออื้ ต่อการอยูอ่ าศัยในระดับเมืองช้นั นำ
  2. โครงการพฒั นาเมอื งทมี่ ีความปลอดภยั

แผนงานที่ 2 การสรา้ งเมืองชนั้ นำท่ีมปี ระชาชนมคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี สุขภาพดี การศกึ ษาดี ประชาชนมีวิถชี ีวติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

  1. โครงการยกระดับจังหวัดส่เู มอื งช้ันนำท่ีมีประชาชนมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี สขุ ภาพดี ประชาชนมวี ถิ ชี วี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  2. โครงการสรา้ งสงั คมทเี่ อือ้ ต่อการอยอู่ าศยั ของผู้สูงอายุ และยกระดับคุณภาพชวี ติ ของประชาชนกลุ่มเปราะบาง
  3. โครงการพัฒนาเมืองนา่ อยูด่ ว้ ยศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม วถิ ชี ีวิต ประเพณี และค่านิยม อนั ดงี าม
  4. โครงการสร้างอุทยานปัญญาและชีวิต
  5. โครงการสรา้ งสวนสาธารณะและสันทนาการประจำอำเภอ

แผนงานที่ 3 การสร้างเมอื งดิจทิ ลั และเมอื งอัจฉริยะที่ทันสมยั

  1. โครงการพฒั นาเมืองดิจิทลั และเมืองอจั ฉรยิ ะทีท่ ันสมยั
  2. โครงการเพ่มิ ขีดความสามารถในการบริหารจดั การการบรกิ ารภาครัฐ

แผนงานท่ี 4 การพฒั นาเมืองแห่งความทันสมัยเพ่ือคุณภาพชวี ิต เศรษฐกิจ และสงั คมแห่งอนาคต (Super Smart Nonthaburi : SSN)

  1. โครงการ Smart Street ถนนอัจฉรยิ ะ ท่มี ีการติดตั้ง wifi สาธารณะ เพือ่ การบรกิ ารประชาชน นักท่องเทย่ี ว นักธุรกิจ ระบบจราจรอจั ฉริยะ และ QR code traffic
  2. โครงการ Smart life เนน้ การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานอารยสถาปัตย์ เพ่อื คนทั้งมวล ปรับปรุงถนน ทางเท้าให้เอ้อื ตอ่ คนพกิ าร ผู้สงู อายุ การเตรยี มพรอ้ มสังคมเพ่ือเข้าสู่สังค

คณุ ภาพ

  1. โครงการ Smart Green สรา้ งภมู ิทศั น์เมือง การพฒั นานเิ วศปา่ ร้อยไร่ เพื่อการพัฒนาการเรียนร้ทู ี่ยง่ั ยืน ตกแต่งด้วยไมด้ อกไมป้ ระดบั และต้นไม้ (ปลูกต้นไมล้ ้านตน้ ) การใ

สะอาด ระบบอัจฉริยะเพ่อื การจดั การมลพษิ อากาศ น้ำเสยี และขยะ การจัดสร้างเตากำจดั ขยะเทคโนโลยพี ลาสมา ประจำชมุ ชน

  1. โครงการ Smart clean จดั ระเบยี บเมอื งในเส้นทางหลัก เสน้ ทางรองให้มีความสวยงามเป็นระเบียบ เรยี บร้อย มีความสะอาด
  2. โครงการ Smart Security นำระบบ CCTV อัจฉรยิ ะมาใช้ในการเฝา้ ระวัง และเสรมิ ประสิทธภิ าพความปลอดภัยทเ่ี ชื่อมโยงท้งั ระบบ
  3. โครงการ Smart Government Hall ศาลากลางอัจฉริยะ ท่นี ำเทคโนโลยดี ิจทิ ัลมาใช้ในการบรกิ ารประชาชน และการสร้างภาพลกั ษณ์
  4. โครงการ Smart People การเตรยี มพร้อมคนนนทบุรใี ห้มีทกั ษะศตวรรษที่ 21 (ทักษะสารสนเทศ ทกั ษะภาษาองั กฤษและทกั ษะภาษาที่ 3 ทักษะการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม

าจงั หวัดนนทบรุ ี 5 ปี (พ.ศ.2566- 2570)

มืองนา่ อยู่ (Livable city) ” ”

องคนไมต่ ำ่ กว่า 0.7967 มลู คา่ รวมไม่นอ้ ยกว่า 477,601 ล้านบาท ภาพน้ำของแม่น้ำเจา้ พระยาที่ไหลผ่านพ้ืนท่ีจังหวัดนนทบุรีมีคา่ Water Quality Index : WQI เท่ากบั 68.5 หรืออยู่ในเกณฑ์คุณภาพน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยา ณภาพอากาศดี (3) ระดับเสียงในพื้นท่จี งั หวดั นนทบุรี ต่ำกว่า 70 เดซิเบล หรืออยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน (4) ขยะมูลฝอยชุมชนไดร้ ับการจดั การอยา่ งถูกต้อง (รอ้ ยละ อยละ 100) (5) จำนวนพนื้ ทสี่ ีเขียวในเขตจงั หวดั นนทบรุ เี พ่ิมข้ึนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 3 ของพ้ืนที่ทงั้ หมด

2. การพัฒนาเศรษฐกิจมูลค่าสูง เศรษฐกิจฐานรากให้ก้าวหน้า และเติบโตอย่างต่อเนื่อง กระจายทั่วทั้ง 3. การสร้างความยั่งยืนของการพัฒนาท่ีเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ จังหวัด สงิ่ แวดล้อม

คมผสู้ งู อายุ แผนงานที่ 1 แผนงานการพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานรองรบั การพฒั นาเศรษฐกจิ แผนงานท่ี 1 แผนงานเมอื งสเี ขียว ใช้พลงั งาน 1) โครงการพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐาน ระบบโลจิสติกสเ์ ช่อื มโยงอย่างเป็นระบบและทนั สมยั 1) โครงการพัฒนาระบบการจัดการลดปัญหามลพิษสง่ิ แวดล้อม (ขยะ น้ำเสีย

  1. โครงการวางระบบ สง่ เสริม สนับสนนุ และพัฒนาดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลท่ีมคี วามทนั สมยั ม) 3) โครงการจัดสร้างป้ายรถเมล์อัจฉริยะในเส้นทางถนนงามวงศ์วาน ถนนกาญจนาภิเษก และ อากาศ และเสียง)

ถนนราชพฤกษ์ 2) โครงการการพัฒนาเมืองสู่ความยั่งยืน และการเป็นเมืองในอนาคต

  1. โครงการสร้างเส้นทางป่ันจักรยาน และทางเดินเท้าปลอดภัย เพื่อคนทั้งมวล (เส้นคู่ขนาน ที่กา้ วหน้า

ถนนราชพฤกษ)์ 3) โครงการปลูกตน้ ไมล้ า้ นต้น และการสรา้ งปา่ ในเมืองนนท์

  1. โครงการสร้างวนิ มอเตอร์ไซคอ์ ัจฉริยะ 4) โครงการพลังงานสะอาดเพอ่ื คุณภาพชวี ติ และการลดต้นทนุ พลงั งาน
  2. โครงการจดุ จอดจักรยานปลอดภยั แผนงานท่ี 2 แผนงานการจัดการน้ำอัจฉริยะเพื่อการเกษตร การท่องเท่ียว และ
  3. โครงการ ตุ๊กตุ๊ก พลงั งานแสงอาทติ ย์ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต

แผนงานท่ี 2 แผนงานการเสรมิ สร้างเศรษฐกจิ ฐานรากเข้มแข็ง แขง่ ขนั ได้ 1) โครงการการจัดการน้ำอัจฉริยะเพื่อการเกษตร การทอ่ งเทย่ี ว การอย่อู าศัย

  1. โครงการนำนนทบุรีการันตี เช่อื มโยงตลาดโลก ผ่านแพลตฟอร์มดจิ ิทลั และการพฒั นาคุณภาพชีวติ
  1. โครงการสรา้ งศนู ย์การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนนนทบรุ ีมง่ั คัง่ 2) โครงการนำ้ สะอาดเพือ่ คุณภาพชวี ิต
  2. โครงการมหกรรมเกษตรมูลคา่ สูงนนทบรุ ีนานาชาติ (Super brand) (ทุเรยี น แพะนม ไมด้ อก 3) โครงการสร้างคลังน้ำใตด้ นิ เพือ่ เกษตรอตั ลักษณ์นนทบุรี ไมป้ ระดบั สัตว์สวยงาม) แผนงานที่ 3 แผนงานการจดั การภัยพบิ ัตทิ างธรรมชาติ
  3. โครงการSmart Start up เพอ่ื การสรา้ งนักธุรกจิ รุน่ ใหม่ (Unicorn nonthaburi) 1) โครงการลดปญั หาการพังทลาย กัดเซาะชายฝง่ั และนำ้ เคม็ รุกล้ำ
  4. โครงการจดั สร้างศูนย์พัฒนาอาชพี และบริการนวดแผนไทย สปา และความงาม ตำรบั นนทบรุ ี
  5. โครงการจัดสรา้ งศูนย์จำหน่ายสนิ คา้ ปลอดภาษี นนทบรุ ี 2) โครงการปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มแบบยัง่ ยนื
  6. โครงการสรา้ งเขอื่ นป้องกันน้ำทว่ มตลอดรมิ ฝ่ังแมน่ ำ้ เจ้าพระยา
  7. โครงการจดั สรา้ งศนู ยบ์ ริบาล และฟ้นื ฟูสุขภาวะผสู้ งู อายุแบบครบวงจร แผนงานที่ 4 แผนงานการสร้างรายได้ และคณุ ภาพชีวิตบนฐานสิ่งแวดล้อม
  8. โครงการจดั สร้างตลาดนนท์ เพ่อื เศรษฐกิจชุมชน ทีย่ ั่งยืน แผนงานท่ี 3 แผนงานการสรา้ งโอกาส และศักยภาพในการฟนื้ คืนเศรษฐกิจหลังจากวิกฤติ COVID -19 1) โครงการสร้างรายได้ และคุณภาพชีวิตบนฐานสงิ่ แวดล้อมท่ียั่งยืน
  9. โครงการระดมพลงั ภาคีพลกิ ฟน้ื คืนเศรษฐกิจหลังจากวกิ ฤติ COVID -19 2) โครงการเศรษฐกจิ ชีวภาพ เศรษฐกจิ หมุนเวียน เศรษฐกจิ สีเขียว แผนงานที่ 4 การเสรมิ สร้างเศรษฐกจิ มูลค่าสูง แข่งขันได้
  10. โครงการสร้างและพฒั นาจงั หวัดสูเ่ มอื งผลติ สนิ คา้ การเกษตรคณุ ภาพ มลู คา่ สูง แผนงานที่ 5 แผนงานคลองสวย นำ้ ใส เพื่อคุณภาพชีวิต และระบบนเิ วศน์ยัง่ ยืน
  11. โครงการสรา้ งศูนย์จดั การและแปรสภาพผกั ตบชวา แผนงานที่ 5 การทอ่ งเทย่ี วมลู ค่าสงู สรา้ งสรรคเ์ มืองนนทบุรีสู่การทอ่ งเทย่ี วนานาชาติ 2) โครงการสร้างกงั หันน้ำชัยพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่อื การบำบัด
  12. โครงการสง่ เสริมและสรา้ งมลู ค่าเพมิ่ แหล่งท่องเท่ียวในจงั หวดั นนทบรุ ี
  13. โครงการพัฒนาเกาะเกรด็ ให้เป็นเกาะแห่งการทอ่ งเที่ยววัฒนธรรมระดับนานาชาติ นำ้ เสยี ในลำคลอง
  14. โครงการสรา้ ง river walk รอบเกาะเกรด็ 3) โครงการโมเดลธรรมชาติบำบัดเพื่อการจัดการน้ำเสีย ด้วยศาสตร์
  15. โครงการสร้าง river walk ริมฝ่ังแม่นำ้ เจ้าพระยา
  16. โครงการสร้างแลนมารค์ เพอื่ เป็นจดุ เชค็ อินทางการทอ่ งเทีย่ ว พระราชา
  1. โครงการเรอื ข้ามฟากพลังงานแสงอาทติ ย์
  2. โครงการสร้างท่าเรืออัจฉรยิ ะ
  3. โครงการจดั งาน เกาะเกร็ด day and night festival (ชว่ งลอยกระทง)
  4. โครงการพัฒนาคมนาคมขนส่ง และโลจิสติกส์ทางน้ำ เพื่อการท่องเที่ยว (แม่น้ำเจ้าพระยา นนทบรุ ี คลองอ้อม)
  5. โครงการพัฒนาโฮมสเตยเ์ กาะเกร็ดมาตรฐานทีพ่ กั ชุมชนนานาชาติ
  1. โครงการเทศกาลเทย่ี วนนทบุรี ประจำเดอื น (nonthaburi festival) (อำเภอละ 2 คร้งั ตอ่ ป)ี

1. ขอ้ มลู เพอื่ การพฒั นาจงั หวัดนนทบุรี

1.1 ความเปน็ มา

รปู ภาพที่ 1 ภาพในอดีตในจงั หวัดนนทบุรี

สภาพทั่วไปของจงั หวัดนนทบุรีเป็นทีร่ าบลุ่มมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีผู้คนมาต้ังถิ่นฐาน เป็นชุมชนหนาแน่นตามริมแม่น้ำเจ้าพระยามาตั้งแต่อดีต เช่น บ้านวัดชลอ บ้านวัดเขม บ้านบางม่วง บา้ นตลาดขวญั บา้ นบางขนุน เป็นตน้

สมัยอยุธยา หลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดนนทบุรีปรากฏที่วัดปรางค์หลวงตั้งอยู่ใน ตำบลบางม่วง อำเภอบางใหญ่ เป็นวัดที่มีพระปรางค์ลักษณะย่อมุมไม้ยี่สิบขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่า สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจ้าอู่ทอง) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นหลักแก่ชุมชนชาว เมืองอู่ทองที่อพยพหนีโรคระบาดมาตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณนี้ก่อนจะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี ชุมชนแห่งนี้ได้ขยายตัวและกระจัดกระจายออกไปตามพื้นที่ต่าง ๆ ในบริเวณนี้ โดยมีชุมชน สำคัญอีกแห่งหนึ่ง คือ บ้านตลาดขวัญ ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ท้องที่จังหวัดนนทบุรีทั้งหมด ในสมยั นย้ี งั คงเป็นส่วนหน่ึงของกรุงศรีอยธุ ยา จนกระทั่งปี พ.ศ. 2091 สมเด็จพระมหาจักรพรรดิโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัด แม่น้ำเจ้าพระยาจากเหนือวัดชลอไปทะลุใกล้วัดมูลเหล็ก (ปัจจุบันคือวัดสุวรรณคีรี เขตบางกอกน้อย) เพื่อใช้เป็นเส้นทางลัดในการเดนิ ทางและเพอ่ื เพ่มิ ปริมาณแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรในพ้นื ท่ี ในปีเดียวกันนั้น พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ กษัตริย์พม่าได้ยกกองทัพเข้าตีกรุงศรีอยุธยา ผลจากสงครามทำให้สมเด็จพระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์บนคอช้าง เมื่อพม่ายกทัพกลับไป และ กรุงศรีอยุธยาได้จัดการพระศพสมเด็จพระสุริโยทัยเรียบร้อยแล้ว สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ จึงทรงปรับปรุงกิจการทหารให้มั่นคงกว่าเดิม พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งเมืองใหม่ขึ้นอีกหลายเมือง รวมทั้งให้ยกฐานะหมู่บ้านตลาดขวัญขึ้นเป็น เมืองนนทบุรี ในปี พ.ศ. 2092 เนื่องจากมีราษฎร จำนวนมากหนีภัยสงครามครั้งนั้นไปอยู่ตามป่าเขาและไม่ยอมกลับพระนคร หากตั้งเมืองใหม่ขึ้น จะเป็นประโยชน์ต่อการเกณฑ์ไพร่พลเมื่อเกิดสงคราม นอกจากนี้ยังสามารถเป็นเมืองท่า และ

1

เมืองหน้าด่านของกรุงศรีอยุธยาได้อีกด้วย ที่ตั้งของเมืองนนทบุรีในครั้งแรกนี้ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออก ของแม่น้ำเจ้าพระยา มีวัดหัวเมืองเป็นเขตเหนือ (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลพระนั่งเกล้า) และ มวี ัดทา้ ยเมอื งเปน็ เขตใต้

ต่อมาในปี พ.ศ. 2179 รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดตัดส่วนโค้งของแม่น้ำเจ้าพระยาตั้งแต่ใต้วัดท้ายเมืองไปทะลุออกหน้า วัดเขมา (เดิมแม่น้ำเจ้าพระยาไหลวกเข้าไปทางบางกรวยและบางใหญ่) ซึ่งทำให้กระแสน้ำเปลี่ยนทางเดิน ไหลเข้าคลองที่ขุดใหม่ กลายเป็นแนวแม่น้ำเจ้าพระยาหน้าศาลากลางจังหวัดหลังเก่าในปัจจุบัน ส่วนแม่น้ำเดิมก็ตื้นเขินลงเป็นคลองอ้อม คลองบางกอกน้อย และคลองบางกรวยตามที่ปรากฏใน ปจั จุบัน

ในปี พ.ศ. 2208 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชมีพระราชดำริว่า แนวแม่น้ำเจ้าพระยาท่ี สั้นลงจะทำให้ข้าศึกเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาได้ง่ายขึ้น จึงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองนนทบุรีจากบ้านตลาด ขวัญไปตั้งบริเวณปากคลองอ้อม บ้านบางศรีเมือง (ที่ตั้งเมืองอยู่บริเวณนี้จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์) และใหส้ ร้างกำแพงเมืองรวมทัง้ ปอ้ มปราการข้ึน 2 ปอ้ ม คือ "ปอ้ มแก้ว" ตัง้ อยู่ท่ี บ้านตลาดแก้ว (สันนิษฐานว่าอยู่ที่วัดปากน้ำในปัจจุบัน) และ "ป้อมทับทิม" ตั้งอยู่บริเวณ วัดเฉลิมพระเกียรติในปัจจุบัน (ปัจจุบันกำแพงและป้อมถูกรื้อไปหมดแล้ว) ในช่วงนี้สภาพเศรษฐกิจ ของเมืองนนทบุรีมคี วามมัน่ คงมาก ทง้ั การค้าขายและการทำสวนผลไม้

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2264 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองลัดเกร็ด ขึ้นตัดความโค้งของแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงที่ไหลวกอ้อมไปทางบางบัวทอง ต่อมากระแสน้ำเปลี่ยน ทิศทางการไหล ชายฝั่งทั้งสองข้างของคลองลัดเกร็ดถูกกัดเซาะให้ห่างออกจากกันมากขึ้น พื้นที่ตรง กลางทม่ี ีน้ำลอ้ มรอบจึงกลายเปน็ เกาะ เรียกว่า "เกาะเกรด็ "

ปี พ.ศ. 2307 ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าเล็กน้อย พระเจ้ามังระ กษัตริย์พม่า โปรด เกล้าฯ ใหม้ ังมหานรธาเปน็ แม่ทพั เข้าตเี ขา้ กรุงศรีอยุธยาจากทางทศิ ใต้ ตหี ัวเมอื งรายทางเรอ่ื ยมาจนถึง เมืองธนบุรี และเมืองนนทบุรี ก็เข้ายึดเมืองทั้งสองได้เช่นกัน พม่าแบ่งกำลังบางส่วนขึ้นมาตั้งค่ายอยู่ บริเวณวัดเขมา ขณะนั้นมีเรือกำปั่นอังกฤษซึ่งมาค้าขายอยู่ที่เมืองธนบุรีได้อาสาช่วยรบโดยยิงปืนเข้า ใส่คา่ ยพม่าในเวลากลางคืน แต่ในทสี่ ุดกส็ กู้ องทัพพม่าไม่ได้ จงึ ล่องเรอื หนีไป

จากนั้นกองทัพพม่าจึงบุกขึ้นไปทางทิศเหนือ เข้าล้อมกรุงศรีอยุธยาไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2309 และเข้ายึดได้ในปี พ.ศ. 2310 ตลอดการสู้รบได้ส่งผลให้บ้านเมือง วัดวาอารามต่าง ๆ ถูกทำลายและทิ้งร้าง ชาวเมืองนนทบุรีต้องอพยพจากถิ่นที่อยู่เดิม ข้ามแม่น้ำไปหลบซ่อนในสวน บางกรวยและบางใหญเ่ พอ่ื หนีภัยสงคราม

สมัยรตั นโกสินทร์ เมื่อบ้านเมืองได้รับการฟื้นฟูกลับสู่สภาพปกติในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ชาวเมืองจึงค่อย ๆ ย้ายกลับสู่ถิ่นฐานเดิม พร้อมทั้งมีผู้คนจากถิ่นอื่นเข้ามาในพื้นที่ด้วย ได้แก่ ชาวมอญที่อพยพเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถิ่นฐานที่ ปากเกร็ด และอีกครั้งหนึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งถ่ิน ฐานอยู่ท่เี มอื งนนทบรุ ี เมอื งปทมุ ธานี และเมอื งนครเขื่อนขันธ์ นอกจากนยี้ งั มชี าวไทยมุสลิมเมืองปัตตานีท่ี ถูกกวาดต้อนเข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และชาวไทยมุสลิม เมืองไทรบุรีที่เข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งสองพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ชาวไทยมุสลิมเหล่านี้ตั้งถ่ินฐานทบี่ ้านท่าอฐิ (ปจั จบุ นั อยใู่ นเขตอำเภอปากเกร็ด) และบา้ นบางบัวทอง

2

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้เปล่ียน สร้อยชื่อเมืองจากเดิมคือ เมืองนนทบุรีศรีมหาสมุทร เป็น เมืองนนทบุรีศรีมหาอุทยาน และต่อมาเปลี่ยนเป็น เมืองนนทบุรีศรีเกษตรารามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นนี้ เมืองนนทบุรีมีฐานะเป็นหัวเมืองชายทะเล สงั กัดกรมทา่

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงปฏิรูปการปกครอง หัวเมือง ต่าง ๆ เป็นการปกครองส่วนภูมิภาค เมืองนนทบุรี จึงจัดอยู่ในมณฑลกรุงเทพ แบ่งเขต การปกครองออกเป็น 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอตลาดขวัญ อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางบัวทอง และ อำเภอปากเกร็ด สว่ นศาลากลางเมืองนนทบรุ ีนน้ั โปรดเกล้าฯ ใหย้ ้ายจากปากคลองอ้อม บา้ นบางศรีเมือง มาตั้งอยู่ที่ปากคลองบางซื่อใกล้วัดท้ายเมือง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจา้ อยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เปล่ียนคำว่าเมืองเป็น "จังหวัด" เมืองนนทบุรจี ึงเปลี่ยนช่ือเรียกเป็น จังหวัด นนทบุรี

นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ย้าย ศาลากลางจังหวัดนนทบุรีมาตั้งที่โรงเรียนราชวิทยาลัย ศาลากลางจังหวัดแห่งนี้ตั้งอยู่ห่างจาก ที่ทำการเมือง และศาลากลางจังหวัดนนทบุรีในอดีตลงมาทางทิศใต้ ปัจจุบันก็คือศาลากลางจังหวัด หลงั เกา่ บริเวณท่าน้ำนนทบรุ นี ั่นเอง

สมยั ปจั จบุ นั ในปี พ.ศ. 2474 ทางราชการได้ตดั ถนนประชาราษฎร์ขนึ้ เปน็ เส้นทางเชื่อมการคมนาคม ระหว่างจังหวัดนนทบุรีกับจังหวัดพระนครสายแรก และต่อมาจึงตัดถนนพิบูลสงครามเลียบ แม่นำ้ เจ้าพระยาข้ึนเปน็ สายท่สี องในทอ้ งท่ตี ำบลสวนใหญ่ เมือ่ ปี พ.ศ. 2486 เกิดสภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ หลังสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ทางราชการจึงยุบ จังหวัดนนทบุรลี งเพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณ โดยโอนอำเภอเมืองนนทบรุ ีและอำเภอปากเกรด็ ไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร และโอนอำเภอบางกรวย อำเภอบางใหญ่ และอำเภอบางบัวทองไปขึ้นกับ จังหวัดธนบุรี จนกระทงั่ นนทบรุ ไี ดร้ ับการยกฐานะขนึ้ เป็นจังหวดั อกี คร้งั ในปี พ.ศ. 2489 อำเภอตา่ ง ๆ จึงกลับมาอยู่ในเขตการปกครองของทางจังหวัดตามเดิมปี พ.ศ.2499 กระทรวงมหาดไทยได้ยก กิ่งอำเภอไทรน้อยซึ่งแยกพื้นที่ปกครองจาก อำเภอบางบัวทอง มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 ให้มีฐานะเป็น อำเภอไทรน้อย จังหวดั นนทบรุ ีจงึ มเี ขตการปกครองรวม 6 อำเภอจนถงึ ปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2535 กระทรวงมหาดไทยย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรี และหน่วยงาน ราชการอื่นๆ ไปตั้งอยู่ที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี ถนนรัตนาธิเบศร์ ตำบลบางกระสอ และใช้เป็น ทท่ี ำการมาจนถึงทุกวนั น้ี

1.2 ข้อมูลพน้ื ฐานทางกายภาพ

  1. ลักษณะทางกายภาพ 1.1) ที่ตั้งและขนาดพื้นท่ี จังหวดั นนทบุรี ตั้งอยู่ภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึง่ ใน

จังหวัดปริมณฑล คือ นนทบุรี นครปฐม สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี ห่างจากกรุงเทพฯ 20 กิโลเมตร มีเน้ือท่ปี ระมาณ 622.303 ตารางกโิ ลเมตร หรือ ประมาณ 388,939.375 ไร่ ต้งั อยบู่ นเสน้ รุ้งที่ 13 องศา 47 ลิปดาถึงเส้นรุ้งที่ 14 องศา 04 ลิปดาเหนือเส้นแวงท่ี 100 องศา 15 ลิปดา ถึง 100 องศา 34 ลิปดาตะวันออก อยู่สูงจากน้ำทะเลปานกลางเฉลี่ย 1.80 เมตร มีอาณาเขตติดต่อ กบั จังหวดั ใกล้เคยี ง ดงั น้ี

3

ทศิ เหนือ ตดิ ตอ่ กับ อำเภอลาดบวั หลวง จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับ อำเภอลาดหลุมแกว้ และ ทศิ ตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอเมืองปทุมธานี ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ จงั หวดั ปทุมธานี เขตบางพลัด เขตตลง่ิ ชนั และ เขตทวีวัฒนา กรุงเทพ มหานคร (ฝั่งธนบรุ )ี เขตดอนเมือง เขตหลกั ส่ี เขตจตุจกั ร และเขตบางซ่อื กรุงเทพมหานคร(ฝง่ั พระนคร) อำเภอพุทธมณฑล และ อำเภอบางเลน จังหวดั นครปฐม

รปู ภาพท่ี 2 แผนที่จงั หวดั นนทบรุ ี

1.2) ภูมิประเทศ จังหวัดนนทบุรีตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยา แบ่งพื้นที่ของจังหวัดออกเป็น 2 ส่วน คือ ฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีคูคลองทั้งตามธรรมชาติและที่ขุดขึ้นใหม่เป็นจำนวนมากเชื่อมโยงติดต่อกัน สามารถใช้สัญจรไปมา ระหว่าง หมู่บ้าน ตำบล อำเภอย่านชุมชนหนาแน่น โดยทั่วไปพื้นที่ส่วนที่ห่างจากแม่น้ำและลำคลอง จะเป็นสวนและไร่นา ซึ่งมักจะเกิดน้ำทว่ มเสมอแต่ในปจั จุบันพนื้ ที่ของจังหวัดในบางอำเภอซ่ึงเคยเป็น สวนผลไม้ต่างๆ และมีเขตติดต่อกับกรุงเทพฯ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเป็นที่อยู่อาศัยของประชาชน ที่อพยพมาจากทุกภาคของประเทศ นอกจากนี้พื้นที่บางส่วนของบางอำเภอยังเป็นที่รองรับ การขยายตัวในด้านอุตสาหกรรมโดยเฉพาะพื้นที่บางส่วนของอำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางบัวทองซึ่งมีการจัดสรรที่ดินและก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมข้ึน อย่างหนาแน่น โดยอาจกล่าวไดว้ ่าพ้ืนท่ีฝัง่ ตะวันออกซึ่งเป็นพ้นื ท่ตี ดิ ต่อกบั กรงุ เทพฯ เปน็ สว่ นหน่ึงของ กรงุ เทพฯ ด้วย

สภาวะอากาศทั่วไป จังหวัดนนทบุรีอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุม 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออก-เฉียงเหนือ ซึ่งพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือปกคลุมในช่วงฤดูหนาว ทำให้บริเวณ จังหวัดนนทบุรีประสบกับสภาวะอากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง กับมรสุมอีกชนิดหนึ่ง คือมรสุม ตะวนั ตกเฉียงใต้ซ่งึ พดั จากทิศตะวันตกเฉยี งใตป้ กคลมุ ในชว่ งฤดูฝนทำให้อากาศชุ่มช้นื และมีฝนตก

ฤดูกาล พิจารณาตามลักษณะลมฟ้าอากาศของประเทศไทย แบ่งฤดูกาลของ จังหวัดนนทบุรี ออกเปน็ 3 ฤดดู งั น้ี

ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ซึ่งเป็นฤดู มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนซึ่งมีคุณสมบัติเย็นและแห้งจะ แผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทยในช่วงนี้แต่เนื่องจากจังหวัดนนทบุรีอยู่ในภาคกลาง อิทธิพลของบริเวณ ความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่แผ่ลงมาปกคลุมในช่วงฤดูหนาวจะช้ากว่าภาคเหนือ และ

4

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้อากาศหนาวเย็นช้ากว่าสองภาคดังกล่าว โดยเริ่มมีอากาศหนาวเย็น

ประมาณกลางเดือนพฤศจิกายนเป็นต้นไป โดยมีอากาศหนาวจัดในเดอื นธันวาคม ฤดูร้อน เริ่มเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลง คือประมาณกลางเดือน

กุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ในระยะนี้จะมีหย่อมความกดอากาศต่ำ เน่ืองจากความร้อน ปกคลุมประเทศไทยตอนบน ประกอบกับลมที่พัดปกคลุมประเทศไทยในช่วงนี้เป็นลมฝ่ายใต้ ทำให้มี

อากาศร้อนอบอา้ วทัว่ ไป โดยมีอากาศร้อนจัดอยใู่ นเดอื นเมษายน

ตารางที่ 1-1 ปริมาณน้ำฝนทีต่ กในจงั หวัดนนทบุรี จำแนกเปน็ รายเดือน พ.ศ. 256 – 2563

เดอื น 2562 (2019) 2563 (2020)

ปรมิ าณฝน จำนวนท่ฝี นตก ปรมิ าณฝนสงู สุด ปรมิ าณฝน จำนวนท่ฝี นตก ปริมาณฝนสงู สุด

มกราคม 2.9 2 1.9 19.6 1 19.6

กมุ ภาพนั ธ์ 1.3 3 0.7 - - -

มีนาคม 1.2 2 0.7 26.8 1 26.8

เมษายน 30.5 6 17.3 81.4 7 31

พฤษภาคม 42 17 7.8 87 10 37

มิถุนายน 119.2 21 32.5 138.4 16 24

กรกฏาคม 63.3 21 7.4 287.6 21 78.6

สิงหาคม 44.9 22 5.3 196.4 18 41.8

กนั ยายน 166.1 21 30.1 190.4 20 28.8

ตลุ าคม 78.9 19 11 244.7 17 65.2

พฤศจกิ ายน 14.1 3 12.7 23 2 15.8

ธนั วาคม - - - -- -

ค่าเฉล่ยี ทัง้ ปี 51.3 12.5 32.5 129.5 11.3 33.5

หมายเหตุ : สถานีตรวจอากาศสนามบินดอนเมอื ง กรมอตุ ุนิยมวิทยา ณ วันที่ 30 มถิ ุนายน 2564

ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งเป็นช่วงที่มรสุม

ตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ร่องความกดอากาศต่ำที่พาดผ่านบริเวณภาคใต้ของ ประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมาพาดผ่าน บริเวณภาคกลาง และภาคเหนือเป็นลำดับในระยะนี้ทำให้มี

ฝนตกชุกขึ้นตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปโดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีฝนตกชุกที่สุด ในรอบปีและเป็นชว่ งท่ีมีความชน้ื สงู

ตารางที่ 1-2 อุณหภูมิ และความกดอากาศ ณ สถานตี รวจอากาศ เปน็ รายเดอื น พ.ศ. 2562- 2563

เดอื น เฉลย่ี อุณหภมู ิ ( 0ซ ) (Mean Temperature (0 C ))

ทง้ั ปี 2559 2561 2562 2563 มกราคม กุมภาพนั ธ์ 29.3 28.8 29.4 29.2 มนี าคม 27.3 27.6 27.6 28.9 เมษายน 27.7 28.4 29.7 29.0 พฤษภาคม 30.2 30 30.4 30.7 32.1 30.6 31.9 30.9 32 29.5 31.1 31.4

5

เดือน เฉล่ยี อุณหภมู ิ ( 0ซ ) (Mean Temperature (0 C )) 2559 2561 2562 2563

มถิ นุ ายน 29.4 29.6 29.9 29.7

กรกฎาคม 29.1 28.9 29.7 29.6

สิงหาคม 30 29.3 29.1 29.3

กนั ยายน 28.6 29.2 28.6 29.0

ตลุ าคม 28.5 28.2 29.4 27.1

พฤศจิกายน 28.8 27.9 28.5 28.2

ธันวาคม 27.5 26.3 27.0 26.9

ค่าเฉลีย่ อุณหภูมิ 29.3 28.8 29.4 29.2

ที่มา: สถานตี รวจอากาศสนามบนิ ดอนเมือง กรมอตุ ุนยิ มวิทยา ณ วันท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564

อณุ หภมู ิ จังหวัดนนทบรุ ี มีอณุ หภมู เิ ฉลีย่ ตลอดปี 28 - 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ

สูงสุดเฉลี่ย 32 - 34 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 24 - 26 องศาเซลเซียส เดือนที่มี

อากาศร้อนอบอ้าวที่สุดในรอบปีคือเดือนเมษายน จังหวัดนนทบุรีมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่

ราบลุ่มน้ำทำให้ปริมาณฝนต่างกันไม่มาก ปริมาณฝนรวมตลอดปีของพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง

1,200 -1,400 มิลลิเมตร เว้นแต่บริเวณบางพื้นที่ของอำเภอบางกรวยที่มีปริมาณฝนรวมตลอดปี

มากกว่า 1,400 มิลลิเมตร โดยฝนที่เกิดขึ้นเป็นฝนในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงฤดูฝน

เปน็ สว่ นใหญ่ และบางปใี นช่วงฤดฝู นน้ีอาจมีพายุดีเปรสช่ันเคล่ือนผ่านเขา้ มาในบริเวณจังหวัดนนทบุรี

หรือใกล้เคียง ทำให้ฝนตกเพิ่มขึ้นอีก เดือนที่มีฝนตกมากที่สุดคือเดือนกันยายน มีปริมาณฝนเฉลี่ย

ประมาณ 280 มิลลิเมตร พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อนที่เคยเคลื่อนผ่านเข้ามาในบริเวณ

จงั หวดั นนทบุรสี ว่ นใหญเ่ ป็นพายดุ ีเปรสช่ันกำลังอ่อนท่ีไม่มีความรุนแรงมากนัก ซึ่งอาจจะทำให้ฝนตก

หนักและลมกระโชกแรงเป็นครั้งคราว บางครั้งอาจเกิดน้ำท่วมได้โดยฉับพลัน พายุดีเปรสชั่นที่เคย

เคลื่อนผ่านเข้ามาในจังหวัดนนทบุรีส่วนมากเป็นพายุที่มีถิ่นกำเนิดจากทะเลจีนใต้ จากสถิติในคาบ

70 ปตี งั้ แต่ พ.ศ.2494 – 2563 พบว่ามีพายหุ มนุ เขตรอ้ นเคลื่อนผา่ นจงั หวัดนนทบรุ ที ง้ั หมด 3 ลกู โดย

มีกำลังแรงขณะเคลื่อนผ่านเป็นพายุดีเปรสชั่นทั้งหมด โดยเคลื่อนเข้ามาในเดือนพฤษภาคม 1 ลูก

(2504) และเดือนตุลาคม 2 ลูก (2517, 2531) ที่ตั้งสถานีอุตุนิยมวิทยาในจังหวัดนนทบุรีเนื่องจาก

จงั หวดั นนทบุรีไมม่ ีสถานอี ตุ นุ ยิ มวทิ ยา จึงใชข้ ้อมลู ของสถานอี ตุ นุ ิยมวิทยากรุงเทพฯ ดอนเมือง ซึ่งเปน็

สถานใี กลเ้ คียงเปน็ ขอ้ มลู อ้างอิงในการสรปุ ลักษณะภมู อิ ากาศ

1.3) การปกครอง จังหวัดนนทบุรีแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น 6 อำเภอ

52 ตำบล 328 หมู่บ้าน 317 ชุมชน ประกอบด้วย อำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอปากเกร็ด

อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ่ อำเภอบางกรวย และอำเภอไทรน้อย มี 46 องค์กรปกครอง-

ส่วนทอ้ งถนิ่ ประกอบดว้ ย

องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั 1 แหง่

เทศบาลนคร 2 แหง่ เทศบาลเมือง 10 แห่ง เทศบาลตำบล 10 แหง่ องค์การบริหารส่วนตำบล 23 แห่ง

6

ตารางท่ี 1-3 แสดงขนาดพื้นทจี่ ำนวนตำบล หมู่บา้ น อบต. เทศบาล ชุมชน จำแนกรายอำเภอ จงั หวัดนนทบุรี

อำเภอ เขตปกครอง ขนาดพ้ืนท่ี

ตำบล หมบู่ ้าน เทศบาลนคร เทศบาลเมอื ง เทศบาลตำบล อบต. (ตร.กม.)

เมอื งนนทบุรี 10 26 1 5 - 1 77.018

ปากเกร็ด 12 51 1 - 1 6 89.023

บางบวั ทอง 8 73 - 4 - 4 116.439

บางกรวย 9 41 - 1 3 3 57.408

บางใหญ่ 6 69 - 5 2 96.398

ไทรนอ้ ย 7 68 - - 1 7 186.017

รวมทง้ั สนิ้ 52 328 2 10 10 23 622.303

ที่มา : ที่ทำการปกครองจังหวัดนนทบุรี/สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี ข้อมูล ณ เดือน กรกฎาคม 2563

  1. ประชากร สังคมวัฒนธรรม 2.1) ประชากร

จากสถิติของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 จังหวัดนนทบุรี มีประชากรรวมทั้งสิ้น 1,276,745 คน เป็นชาย 594,308 คน

(ร้อยละ 46.55) และหญิง 682,437 คน (ร้อยละ 53.45) ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในอำเภอ เมืองนนทบุรี จำนวน 365,288 คน รองลงมา อำเภอบางบัวทอง จำนวน 285,698 คน และ

อำเภอปากเกรด็ ตามลำดับ

ตารางท่ี 1-4 แสดงประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามเพศ เป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2563

อำเภอ และเขตการปกครอง ชาย ( Male) 2560 (2017) รวม (Total) หญงิ (Female)

รวมท้งั สนิ้ 594,308 682,437 1,276,745

รวม 170,642 194,646 365,288

อ.เมืองนนทบรุ ี 26,695 30,820 57,515

ทน.นครนนทบุรี 117,718 133,308 251,026

ทม.เมอื งบางศรเี มอื ง 15,279 17,726 33,005

ทม.ไทรมา้ 10,950 12,792 23,742

รวม 66,559 78,027 144,586

อ.บางกรวย 15,472 18,175 33,647

ทม.บางกรวย 20,473 24,054 44,527

ทต.ศาลากลาง 9,276 10,781 20,057

ทต.ปลายบาง 21,338 25,017 46,355

รวม 74,301 85,969 160,270

อ.บางใหญ่ 47,495 55,017 102,512

ทต.เสาธงหิน 17,988 21,586 39,574

ทต.บางใหญ่ 5,824 6,259 12,083

7

อำเภอ และเขตการปกครอง ชาย ( Male) 2560 (2017) รวม (Total) หญิง (Female)

ทต.บางมว่ ง 2,994 3,107 6,101

รวม 132,807 152,891 285,698

อ.บางบวั ทอง 87,017 99,366 186,383

ทม.บางบวั ทอง 23,663 27,778 51,441

ทม.พมิ ลราช 22,127 25,747 47,874

รวม 33,834 36,972 70,806

อ.ไทรนอ้ ย 32,561 35,734 68,295

ทต.ไทรนอ้ ย 1,273 1,238 2,511

รวม 116,165 133,932 250,097

อ.ปากเกรด็ 23,495 26,245 49,740

ทน.ปากเกร็ด 87,602 101,856 189,458

ทต.บางพลบั 5,068 5,831 10,899

ทีม่ า : สำนกั งานสถิติจังหวดั นนทบุรี/ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วนั ที่ 30 มถิ ุนายน 2564

ตารางที่ 1-5 แสดงอัตราเพิ่ม และความหนาแน่นของประชากร เป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2560 - 2563

ประชากร อัตราเพมิ่ ของประชากร Population Population growth rate (%)

อำเภอ 2560

2560 2561 2562 2563 2561 2562 2563

-2017 -2018 -2019 -2010 -2017 -2018 -2019 -2010

รวมยอด 1,229,735 1,246,295 1,265,387 1,276,745 17,811 1.45 16,560 1.33 19,092 1.51 11,358 0.89 -1,901 -0.52 อำเภอเมืองนนทบุรี 364,543 365,710 367,189 365,288 1,431 0.39 1,167 0.32 1,479 0.40 3,437 2.38 3,409 2.13 อำเภอบางกรวย 132,881 136,668 141,149 144,586 3,442 2.59 3,787 2.77 4,481 3.17 3,932 1.38

อำเภอบางใหญ่ 147,351 152,086 156,861 160,270 4,257 2.89 4,735 3.11 4,775 3.04

อำเภอบางบัวทอง 273,232 277,162 281,766 285,698 4,711 1.72 3,930 1.42 4,604 1.63

อำเภอไทรน้อย 65,516 67,285 69,007 70,806 1,651 2.52 1,769 2.63 1,722 2.50 1,799 2.54

อำเภอปากเกร็ด 246,212 247,384 249,415 250,097 2,319 0.94 1,172 0.47 2,031 0.81 682 0.27

ทมี่ า : สำนกั งานสถติ ิจงั หวัดนนทบุรี/ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564

8

2.2) ศาสนาและวฒั นธรรม (1) ศาสนา

ประชาชนชาวจังหวัดนนทบุรีส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ คริสต์ และอิสลาม สำหรับศาสนสถานในพื้นที่จังหวัดนั้น ประกอบด้วย วัด 196 แห่ง โบสถ์ 38 แห่ง และ

มัสยิด 19 แหง่

ตารางท่ี 1-6 จำนวนประชากรจำแนกตามศาสนา ปี 2562 จงั หวดั นนทบุรี

ศาสนา ชาย เพศ % รวม รอ้ ยละ % หญิง (คน) (%)

พทุ ธ 138,710 43.28 161,432 50.37 300,142 93.65 0.28 คริสต์ 351 0.11 547 0.17 898 6.04 0.01 อสิ ลาม 9,321 2.91 10,052 3.14 19,373 0.00 ซิกส์ 12 0.00 7 0.00 19 0.02 100.00 ฮนิ ดู 6 0.00 9 0.00 15

อนื่ ๆ 18 0.01 3.7 0.01 55

รวม 148,418 46.31 172,084 53.69 320,502

ทีม่ า : จปฐ.สำนกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัดนนทบรุ ี, ณ วนั ท่ี 30 มิถนุ ายน 2564

ตารางที่ 1-7 วดั สำนกั สงฆ์ โบสถ์คริสต์ มสั ยดิ พระภิกษุ และสามเณร เป็นรายอำเภอ พ.ศ. 2563

อำเภอ วัด สำนกั สงฆ์ โบสถ์ครสิ ต์/1 มสั ยดิ /1 พระภกิ ษุ สามเณร

Temple House of priest Church Mosque Buddhist monk Novice

รวมยอด 196 6 38 19 2,995 189 18 4 919 68 อำเภอเมืองนนทบุรี 51 1 2 - 595 28 2 - 239 8 อำเภอบางกรวย 49 - 7 11 442 37 2 2 199 5 อำเภอบางใหญ่ 26 1 7 2 587 40

อำเภอบางบวั ทอง 14 3

อำเภอไทรนอ้ ย 16 1

อำเภอปากเกรด็ 40 -

ที่มา : สำนักงานสถติ จิ งั หวดั นนทบุรี 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564

(2) วฒั นธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณีและการละเล่นพ้ืนเมือง ประชากรดั้งเดิมของจังหวัดนนทบุรีประกอบไปด้วยชนชาวไทยที่สืบ

เชอื้ สายมาจากหลายเชื้อชาติมที ั้งไทยจีนมอญและแขกชนชาติดั้งเดิมและเป็นชนชาติคนส่วนใหญ่ของ จังหวัดนนทบุรีนั้นเป็นชนชาติไทยซึ่งมีอยู่ทั่วไปทุกอำเภอรองลงไปเป็นเชื้อสายจีนซึ่งสันนิษฐานว่า เข้ามาอยู่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีนอกจากนี้ยังมีชนชาติที่อพยพเข้ ามาภายหลังอีกสอง เชอ้ื ชาตคิ อื ชาวไทยเชื้อสายมอญและชาวไทยเชื้อสายมลายซู ึ่งชาวไทยทัง้ สองเช้ือชาติน้ีอพยพมาอยู่ใน จังหวัดนนทบุรีตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรีตลอดจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ดังปรากฏหลักฐานในอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทยดังนั้น จังหวัดนนทบุรจี ึงมีขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมและการละเล่นพืน้ เมอื งท่สี ำคญั นิยมปฏิบตั ิสบื ทอดกนั มาแต่โบราณถงึ ปจั จุบนั คือ

9

รปู ภาพที่ 3 แสดงภาพประเพณีรำมอญและภาพประเพณสี งกรานต์

• งานประเพณีตักบาตรพระร้อยแปดจะจัดในวันแรม 8 ค่ำเดือน 12 ของทุกปี ของอำเภอบางกรวยจะมีการแห่พระพุทธรูปที่มีชื่อเสียงจากหลายวัดไปตามลำน้ำรุ่งขึ้นเป็นงานพิธี ทำบญุ ตักบาตรรว่ มกัน

• งานสงกรานต์ของทางการของเทศบาลและของชาวมอญจัดในช่วงวันท่ี 13–15 เมษายน (หรือตามแต่โอกาสสมควรในช่วงสงกรานต์) มีประกวดนางสงกรานต์หนูน้อย สงกรานต์ขบวนแห่หางหงส์ธงตะขาบน้ำหวานและแห่ปลา (ปล่อยปลาปล่อยนก) และการละเล่น ของชาวมอญ

• งานประเพณีรำมอญเป็นนาฏศิลป์ที่เก่าแก่อย่างยิ่งของมอญโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีอำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ และ อำเภอสามโคก จังหวดั ปทมุ ธานยี ังมผี ูท้ ี่รำมอญสืบทอดมาตลอด

• งานวันผลไม้จัดประมาณเดือนมิถุนายนณบริเวณศาลากลางเก่าติดริม แม่น้ำเจ้าพระยาเนื่องจากจังหวัดนนทบุรีเป็นดินแดนปลูกผลไม้รสดีและเพื่อส่งเสริมการเพาะปลูก ของเกษตรกร

รูปภาพที่ 4 วถิ ชี ีวิตคนจังหวัดนนทบุรี

10

  1. โครงสร้างพื้นฐาน และการเข้าถงึ บริการ 3.1) ไฟฟ้า การไฟฟ้ากระจายไปทุกทั่วหมู่บ้านในจังหวัดนนทบุรี ซึ่งในปี 2563 มีการจำหน่าย

กระแสไฟฟ้าจำนวน 5,562.80 ล้านกิโลวัตต์/ชั่วโมง โดยมีจำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า 659,981 ราย โดย การไฟฟ้านครหลวงเป็นผู้ใหบ้ รกิ าร

ตารางที่ 1-8 แสดงผู้ใช้ไฟฟ้า และการจำหน่ายกระแสไฟฟ้า จำแนกตามประเภทผู้ใช้ ปีงบประมาณ

2561 - 2563

จำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า การจำหนา่ ยกระแสไฟฟ้า (ลา้ นกโิ ลวัตต/์ ชัว่ โมง) Electricity Sales (Gwh.) (ราย) รวม ที่อย่อู าศัย สถานธุรกจิ และ สถานทร่ี าชการ อน่ื ๆ1/ ปี Number of Total Residential อตุ สาหกรรม และสาธารณะ Others consumers Business and Government office (Person) industry and public utility

2561 607,970 5,056.38 1,944.11 2,975.72 87.06 49.48

2562 626,102 5,530.55 2,207.80 3,182.40 88.53 51.81

2563 659,981 5,562.80 2,481.98 2,943.55 89.97 47.28

ทีม่ า : การไฟฟา้ นครหลวงของเขตนนทบรุ ี เขตบางใหญ่ และเขตบางบัวทอง ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2564

3.2) การประปา การจัดให้บริการน้ำประปาในเขตจังหวัดนนทบุรีอยู่ในความรับผิดชอบของ

การประปานครหลวง 3 สาขา คือสำนักงานประปาสาขานนทบุรี สำนักประปาสาขาบางบัวทอง สำนัก ประปาสาขามหาสวสั ด์ิ

สำหรับในปี 2563 มผี ูใ้ ชน้ ้ำ 2,479,547 ราย พนื้ ท่ีใหบ้ ริการ 2,483.24 ตารางกิโลเมตร และปรมิ าณการผลิตจา่ ยน้ำ 2,121.12 ล้านลูกบาศก์เมตร

ตารางที่ 1-9 แสดงสถิติผู้ใช้น้ำ ปริมาณการผลิต และการจำหน่าย ของการประปานครหลวงใน

พ้นื ท่ีจังหวดั นนทบุรปี ีงบประมาณ 2563

ปี พ้ืนที่ ผูใ้ ชน้ ้ำ ติดต้ัง ผลิตนำ้ จ่าย นำ้ จำหน่าย (ล้าน ลบ.ม.) ความยาวทอ่ ใหบ้ รกิ าร (ราย) ประปาใหม่ (ลา้ น ลบ.ม.) นำ้ ขาย น้ำอ่นื ๆ รวม (กม.) (ตร.กม.) (ราย)

2561 2,449.27 2,375,490 65,653 1,997.07 1,371.11 30.27 1,401.38 37,700.054

2562 2,470.93 2,423,540 67,745 2,075.18 1,428.90 38.51 1,467.41 38,440.919

2563 2,483.24 2,479,547 67,916 2,121.12 1,412.04 46.25 1,458.29 39,241.843

ที่มา : สำนักงานประปาสาขานนทบุรี (จ่ายให้พื้นที่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา) สำนักงานประปาสาขา

บางบัวทอง และ สำนักงานประปาสาขามหาสวัสด์ิ (จ่ายให้พื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา) ณ วันท่ี

30 กนั ยายน 2564

11

3.3) การไปรษณีย์ ปจั จบุ นั จงั หวัดนนทบุรีมีที่ทำการไปรษณยี ์ที่ให้บริการไปรษณีย์ และ Logistics ท้ังสิ้น

33 ที่ทำการ กระจายอยู่ทุกอำเภอในอำเภอเมืองนนทบุรีมีมากที่สุด จำนวน 12 ท่ีทำการ รองลงมา คือ อำเภอปากเกร็ด จำนวน 7 ทท่ี ำการ และอำเภอบางบวั ทอง จำนวน 5 ทท่ี ำการ และจุดให้บริการ ทีน่ ้อยทสี่ ดุ คือ อำเภอบางกรวย จำนวน 2 ทท่ี ำการ ดังในตาราง 1-4

ตารางที่ 1-10 แสดงสถิติรับฝากบริการไปรษณียภัณฑ์ จำแนกเป็นรายอำเภอ ปีงบประมาณ

2562-2563

จำนวนท่ที ำ 2562 (2019) 2563 (2020)

อำเภอ การ ไปรษณยี ภณั ฑ์ พัสดุ บริการพเิ ศษ ไปรษณียภัณฑ์ พัสดุ บรกิ ารพเิ ศษ ไปรษณีย์ ธรรมดา ไปรษณีย์ ธรรมดา ไปรษณีย์ (แห่ง) ไปรษณีย์ ไปรษณีย์ภัณฑ์ ไปรษณีย์ ไปรษณีย์ภัณฑ์ ด่วนพเิ ศษ ลงทะเบียน ดว่ นพเิ ศษ ลงทะเบียน

รวมยอด 33 8,152,184 306,137 6,268,521 3,630,019 6,963,897 316,413 8,063,846 2,918,112

เมืองนนทบุรี 12 3,174,357 78,204 1,968,686 1,244,773 2,956,296 131,903 2,524,470 1,022,546

บางกรวย 2 1,408,253 26,762 466,694 268,558 840,327 21,977 623,961 211,696

บางใหญ่ 4 1,064,248 59,260 1,253,560 656,684 789,865 38,328 1,399,343 454,502

บางบัวทอง 5 1,233,106 73,826 1,279,087 692,342 1,267,787 63,508 1,620,098 565,064

ไทรนอ้ ย 3 280,025 19,892 300,328 172,423 286,137 16,633 451,319 163,802

ปากเกรด็ 7 992,195 48,193 1,000,166 595,239 823,485 44,064 1,444,655 500,502

ที่มา : บริษัท ไปรษณียไ์ ทย จำกัด ณ วันที่ 30 มถิ ุนายน 2564

3.4) การให้บริการโทรศัพท์ ปี 2563 พบว่า มีจำนวนเลขหมายโทรศัพท์ที่เปิดใช้บริการของบริษัท ทีโอที

รวม 119,527 เลขหมาย แยกเปน็ โทรศพั ท์ประจำที่ จำนวน 117,733 เลขหมาย และโทรศัพทส์ าธารณะ จำนวน 1,794 เลขหมาย ดงั ตาราง

ตารางที่ 1-11 แสดงสถติ ิการบริการโทรศัพทน์ ครหลวง พ.ศ. 2559–2563

รายการ/ปี 2561 2562 2563 (2018) (2019) (2020) 117,733 โทรศพั ท์ประจำท่ี 151,319 133,561 1,794 โทรศพั ท์สาธารณะ 2,990 2,195 119,527 รวม 154,309 135,756

ทมี่ า : บริษทั ทีโอที จำกัด (มหาชน) ณ วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 2564

3.5) การคมนาคมขนสง่ ทางบก เนื่องจากสภาพทางภูมิศาสตร์ของจังหวัดนนทบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับ

กรุงเทพมหานครถึง 2 ด้านคือ ด้านทิศตะวันออกและทิศใต้ รวมทั้งเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑล ระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่งทางบกของนนทบุรี ค่อนข้างสมบูรณ์ทั้งระบบทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงชนบท ที่ได้ติดต่อภายในจังหวัด และเชื่อมโยง เข้ากับกรุงเทพมหานคร และ จังหวัดใกล้เคียง ทำให้การเดินทางสู่กรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียงเป็นไปโดยสะดวก มีโครงข่ายคมนาคมขนส่งทางบก ติดต่อภายในจังหวัด และมีเส้นทางเชื่อมต่อถึงทุกตำบล

12

เส้นทางคมนาคมขนส่งทางถนนของจังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยทางหลวงแผ่นดิน ซึ่งเชื่อมโยงระหว่าง ภูมิภาคและจังหวัด ทางหลวงจังหวัดซึ่งเชื่อมโยงจังหวัดกับอำเภอส่วนทางหลวงที่อยู่นอกเขตชุมชน เรียกว่า ทางหลวงชนบท และเชื่อมโยงระหว่างอำเภอไปยังตำบลและหมู่บ้าน นอกจากเส้นทาง คมนาคมขนส่งทางถนนที่กล่าวแล้วข้างต้น ยังมีทางพิเศษซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของการทางพิเศษ แห่งประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วยระบบทางด่วน เพื่อช่วยให้การจราจรในใจกลางกรุงเทพมหานคร สามารถกระจายสูบ่ ริเวณรอบนอกและจากรอบนอกเข้าสู่ใจกลางเมือง ทางด่วนที่ผ่านจังหวัดนนทบรุ ี ประกอบด้วย

(1) ทางด่วนขนั้ ท่ี 2 สายบางโคล่-แจง้ วฒั นะ ขณะนีไ้ ดเ้ ปดิ ใหบ้ ริการแลว้ (2) ทางด่วนขั้นที่ 3 สายนนทบุรี-บางกะปิ การทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้ เปิดโอกาสให้เอกชนที่สนใจลงทุน เป็นผู้ศึกษาความเหมาะสมและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนออกแบบและลงทนุ กอ่ สรา้ ง เพือ่ แบง่ เบาภาระการลงทนุ จากรัฐบาล (3) ทางด่วนขั้นที่ 4 เป็นการวางแผนในระยะยาวโดยจะครอบคลุมพื้นที่ในเขต กรุงเทพฯและปริมณฑลกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม สมทุ รสงคราม ราชบรุ ี เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขันธ์ สุพรรณบรุ ี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี นครราชสีมา นครนายก ปราจนี บุรี ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี และระยอง โดยถนนสายหลกั ทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบของกรมทางหลวงดูแลโดยแขวงทางหลวง นนทบรุ ี 16 สายทาง มีระยะทางรวมทัง้ สิ้น 197.788 กม. คอื (1) ทางหลวงพเิ ศษหมายเลข 9 ถนนกาญจนาภิเษก

ระหว่างกม.31+872 - กม.60+141 ระยะทาง 28.269 กม. (2) ทางหลวงหมายเลข 301 ถนนกรุงเทพ – นนทบรุ ี

ระหว่างกม.3+378 - กม.5+119 ระยะทาง 1.741 กม. (3) ทางหลวงหมายเลข 302 ถนนงามวงศว์ าน

ระหวา่ งกม.3+763 - กม.6+333 ระยะทาง 2.570 กม. (4) ทางหลวงหมายเลข 302 ถนนรัตนาธิเบศร์

ระหว่างกม.6+333 - กม.18+883 ระยะทาง 12.550 กม. (5) ทางหลวงหมายเลข 304 ถนนแจ้งวัฒนะ

ระหว่างกม.0+000 - กม.5+651 ระยะทาง 5.651 กม. (6) ทางหลวงหมายเลข 306 ถนนพบิ ลู สงคราม

ระหวา่ งกม.0+250 - กม.2+880 ระยะทาง 2.630 กม. (7) ทางหลวงหมายเลข 306 ถนนประชาราษฎร์

ระหวา่ งกม.2+880 - กม.5+625 ระยะทาง 2.745 กม. (8) ทางหลวงหมายเลข 306 ถนนติวานนท์

ระหวา่ งกม.5+625 - กม.20+601 ระยะทาง 14.976 กม. (9) ทางหลวงหมายเลข 307 ถนนกรุงเทพ – ปทุมธานี

ระหว่างกม.0+000 – กม.1+335 ระยะทาง 1.335 กม. (10) ทางหลวงหมายเลข 340 ถนนบางบวั ทอง – สุพรรณบรุ ี

ระหวา่ งกม.0+00 - กม.28+441ระยะทาง 28.441 กม.

13

(11) ทางหลวงหมายเลข 345 ถนนนนทบุรี - ปทุมธานี ระหว่างกม.0+000 - กม.10+200ระยะทาง 10.200 กม.

(12) ทางหลวงหมายเลข 346 ถนนปทมุ ธานี – บางเลน ระหว่างกม.20+480 - กม.42+000ระยะทาง 21.520 กม.

(13) ทางหลวงหมายเลข 3215 ถนนบางกรวย - ไทรน้อย ระหว่างกม.0+000 - กม.11+250

(14) และกม.13+085 - กม.26+323 ระยะทาง 24.488 กม. ทางหลวงหมายเลข 3584 ถนนเขา้ ทา่ น้ำบางใหญ่

(15) ระหว่างกม.0+000 - กม.0+631ระยะทาง 0.631 กม. ทางหลวงหมายเลข 3901 ถนนคู่ขนานกาญจนาภิเษก ขาออก

(16) ระหวา่ งกม.31+872 - กม.59+922 ระยะทาง 19.766 กม. ทางหลวงหมายเลข 3902 ถนนคขู่ นานกาญจนาภิเษก ขาเขา้

(17) ระหวา่ งกม.31+872 - กม.60+141 ระยะทาง 20.265 กม. และถนนสายหลักที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท ดูแลโดยแขวงทางหลวงนนทบุรี 33 สาย คอื

(1) นบ.1001 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – แยกนนทกิจ ระยทาง 9.972 กโิ ลเมตร

(2) นบ.1002 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – บ้านหนองเพรางาย ระยะทาง 9.275 กิโลเมตร

(3) นบ.3003 แยกทางหลวงหมายเลข 340 – บ้านลาดบัวหลวง ระยะทาง 8.835 กิโลเมตร

(4) นบ.3004 แยกทางหลวงหมายเลข 346 – บ้านเจ้าเฟื่อง ระยะทาง 6.445 กโิ ลเมตร

(5) นบ.5005 แยกทางหลวงชนบท นบ.5014 – วัดหลังบาง ระยะทาง 7.297 กโิ ลเมตร

(6) นบ.1007 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – แยกทางหลวงหมายเลข 345 ระยะทาง 4.650 กิโลเมตร

(7) นบ.3008 แยกทางหลวงหมายเลข 346 - แยกทางหลวงหมายเลข 3215 ระยะทาง7.995 กโิ ลเมตร

(8) นบ.1009 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – บ้านหนองไผข่ าด ระยะทาง 21.360 กิโลเมตร

(9) นบ.5010 แยกทางหลวงชนบท นบ.5027 – บ้านหนองเพรางาย ระยะทาง 16.861 กโิ ลเมตร

(10) นบ.1011 แยกทางหลวงหมายเลข 9 - แยกทางหลวงชนบท นฐ.3004 ระยะทาง 11.330 กิโลเมตร

(11) นบ.4012 แยกทางหลวงหมายเลข 3215 – บ้านลำโพ ระยะทาง 5.446 กิโลเมตร

14

(12) นบ.1013 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – อำเภอไทรน้อย ระยะทาง 13.169 กิโลเมตร

(13) นบ.5014 แยกทางหลวงชนบท นบ.1011 – บ้านใหม่ ระยะทาง 8.075 กิโลเมตร

(14) นบ.3015 แยกทางหลวงหมายเลข 346 – บ้านคลองหนึ่ง ระยะทาง 10.840 กิโลเมตร

(15) นบ.1016 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – คลองกำนันจิตร ระยะทาง 8.015 กโิ ลเมตร

(16) นบ.3017 แยกทางหลวงหมายเลข 346 – อำเภอไทรน้อย ระยะทาง 8.612 กโิ ลเมตร

(17) นบ.4018 เลีย่ งเมอื งนนทบรุ ี ระยะทาง 5.493 กิโลเมตร (18) นบ.3019 เล่ียงเมอื งปากเกร็ด ระยะทาง 4.755 กโิ ลเมตร (19) นบ.1020 ถนนนครอินทร์ ระยะทาง 12.400 กโิ ลเมตร (20) นบ.3021 ถนนราชพฤกษ์ ระยะทาง 19.200 กโิ ลเมตร (21) นบ.5024 แยกทางหลวงชนบท นบ.3015 – บ้านคลองหนึ่ง ระยะทาง 9.100 กิโลเมตร (22) นบ.5025 แยกทางหลวงชนบท นบ.3015–บ้านบึงลาดสวาย ระยะทาง 3.070 กิโลเมตร (23) นบ.1026 แยกทางหลวงหมายเลข 9 – วัดต้นเชือก ระยะทาง 8.506 กโิ ลเมตร (24) นบ.5027 แยกทางหลวงชนบท นบ.1009 – อำเภอไทรน้อย ระยะทาง 13.288 กิโลเมตร (25) นบ.1028 แยกทางหลวงหมายเลข 9–แยกทางหลวงหมายเลข 340 ระยะทาง 5.770 กโิ ลเมตร (26) นบ.5029 แยกทางหลวงชนบท นบ.1011 – บ้านศาลากลาง ระยะทาง 5.700 กิโลเมตร (27) นบ.3030 ถนนชยั พฤกษ์ 7.550 กโิ ลเมตร (28) นบ.5031 แยกทางหลวงชนบท นบ.3015 – บ้านเจ้าเฟื่อง ระยะทาง 5.570 กโิ ลเมตร (29) นบ.3032 แยกทางหลวงหมายเลข 346 – บ้านคลองห้าร้อย ระยะทาง 7.430 กิโลเมตร (30) นบ.5033 แยกทางหลวงชนบท นบ.5027 – บ้านคลองมะสง ระยะทาง 6.933 กโิ ลเมตร (31) นบ.5035 แยกทางหลวงชนบท นบ.1001 – ตลาดบางคูลัด ระยะทาง 2.604 กโิ ลเมตร (32) นบ.5036 แยกทางหลวงชนบท นบ.3004 – บ้านลาดบัวหลวง ระยะทาง 16.800 กโิ ลเมตร

15

(33) นบ.5037 แยกทางหลวงชนบท นบ.5027 - แยกทางหลวงชนบท นบ.5010 ระยะทาง 4.270 กิโลเมตร

นอกจากเส้นทางคมนาคมขนส่งทางถนนที่กล่าวแล้วข้างต้นยังมีทางด่วนขั้นที่ 2 สาย บางโคล่-แจ้งวัฒนะ ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเพื่อชว่ ยให้การจราจร ในใจกลางกรุงเทพมหานครสามารถกระจายสู่บริเวณรอบนอกและจากรอบนอกเข้าส่ใู จกลางเมือง

รปู ภาพที่ 5 แผนท่จี งั หวดั นนทบรุ ีแสดงเส้นทางคมนาคมในจังหวดั นนทบุรี

ทางน้ำปัจจุบันการคมนาคมขนส่งทางน้ำได้ลดความสำคัญลงไปเนื่องจาก ความสะดวก และคลอ่ งตัวในการคมนาคมขนส่งทางบกมีมากขึ้นเส้นทางคมนาคมทางน้ำท่ีสำคัญของ จังหวัดจึงได้แก่แม่น้ำเจ้าพระยา และคลองต่างๆเช่นคลองบางขุนศรีคลองพระพิมลคลองบางใหญ่ คลองมหาสวัสดิ์และมีท่าเทียบเรือที่สำคัญได้แก่ท่าเทศบาลเมืองนนทบุรีท่าวัดเขมาท่าปากเกร็ดท่า ประตูพระอุดมท่าบางบวั ทองท่าอฐิ ทา่ บางใหญ่ท่าวัดเขียนท่าไทรม้า ส่วนการเดนิ ทางโดยทางน้ำนั้นมี เรือด่วนเจ้าพระยาแล่นรับส่งผู้โดยสารระหว่างนนทบุรี -วัดพระยาไกรตลอดทั้งวันซึ่งนับว่ าเ ป็น การอำนวยความสะดวกและสร้างความเพลดิ เพลินให้แก่นักท่องเท่ียวท่ีต้องการเปลยี่ นบรรยากาศจาก การเดินทางโดยรถยนต์มาเป็นทางเรือซึ่งมีเรือด่วนเจ้าพระยาบริการระหว่างเส้นทางจากท่าน้ำ วัดราชสิงขรเขตยานนาวาถึงท่าน้ำนนทบุรี (ฝั่งพระนคร) อำเภอเมืองนนทบุรีทุกวันระหว่างเวลา 06.00 – 18.00 น.

16

การเดินทางสัญจรทางน้ำของผู้โดยสารช่วยลดปัญหาการจราจรบนถนนในชั่วโมง เร่งด่วน ไดแ้ ก่

(1) การเดินทางในแม่น้ำเจ้าพระยาด้วยบริการเรือด่วนเจ้าพระยา (Chao Phraya Express) ประกอบดว้ ย

- เรอื ธงธรรมดา (ราษฎรบ์ ูรณะ-นนทบุรี) ใหบ้ รกิ าร 9 ลำ จอดใหบ้ รกิ าร 34 ทา่ - เรือธงสม้ (วัดราชสงิ ขร-นนทบุร)ี ใหบ้ ริการ 19 ลำ จอดใหบ้ รกิ าร 21 ท่า - เรือธงเหลือง (ราษฎร์บรู ณะ-นนทบรุ ี) ให้บริการ 19 ลำ จอดให้บริการ 9 ทา่ - เรือธงเขียว-เหลือง (ปากเกร็ด-นนทบุรี-สาธร) ให้บริการ 11 ลำ จอดให้ บริการ 13 ท่า (2) การเดินทางเรือยนต์ข้ามฟากแมน่ ้ำเจ้าพระยา (ทา่ ปากเกร็ด-ท่าพระสมุทรเจดีย์) มที ่าเรือข้ามฟากในแมน่ ้ำเจา้ พระยาจากชว่ งจงั หวัดนนทบุรี-สมทุ รปราการ มที ้ังหมด 32 ทา่ (3) การเดินทางเรือยนต์เพลาใบจักรยาว (ท่าปากเกร็ด-ท่าสาขลา) มีเส้นทาง การเดนิ เรือและเชื่อมคลองตา่ ง ๆ บริเวณจังหวดั นนทบรุ ี-กรงุ เทพมหานคร จำนวน 15 เสน้ ทาง

3.6) การสอ่ื สารโทรคมนาคม การติดต่อสื่อสารในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีถือว่ามีความทันสมัยมาก ส่วนหนึ่ง

เนื่องจากเป็นที่ตั้งของบริษัท ทีโอที จำกัด(มหาชน) ประกอบกับเป็นชุมชนเมืองจึงมีความเพรียบพร้อม ดว้ ยเคร่ืองมือและอปุ กรณท์ ท่ี ันสมัยและเขา้ ถงึ ง่าย

ตารางที่ 1-12 แสดงจำนวน และร้อยละของประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จำแนกตามการใช้คอมพิวเตอร์

อนิ เทอรเ์ น็ต และโทรศัพทม์ อื ถอื พ.ศ. 2560-2562

การใช้เทคโนโลยี จำนวน Number รอ้ ยละ Percent สารสนเทศ 2560 2561 2562 2560 2561 2562 (2017) (2018) (2019) (2017) (2018) (2019) และการสอื่ สาร

การใช้คอมพวิ เตอร์ 1,465 1,496 1,551 100.00 100.00 100.00

ใช้ 615 572 606 42.02 38.25 39.08

ไมใ่ ช้ 849 924 945 57.98 61.75 60.92

การใชอ้ ินเทอร์เนต็ 1,465 1,496 1,551 100.00 100.00 100.00

ใช้ 980 1,069 1,212 66.92 71.46 78.18

ไมใ่ ช้ 484 427 338 33.08 28.54 21.82

การใชโ้ ทรศัพทม์ อื ถอื 1,465 1,496 n/a 100.00 100.00 n/a

ใช้ 1,385 1,433 n/a 94.58 95.78 n/a

ไม่ใช้ 79 63 n/a 5.42 4.22 n/a ทม่ี า : สำนักงานสถิติจงั หวัดนนทบุรี ณ วันที่ 30 มถิ นุ ายน 2564

17

  1. ข้อมลู เศรษฐกิจ

เนื่องจากจังหวัดนนทบุรีตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีสภาพพื้นที่และแหล่งน้ำ อุดมสมบูรณ์ราษฎรในจังหวัดส่วนใหญ่จึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำนาข้าวจ้าว

การเพาะปลูกมะพร้าว มะม่วง มังคุด ฯลฯ ทำปศุสัตว์ และประมงน้ำจืดนอกจากน้ี มีการทำ อุตสาหกรรมหลายชนิด เช่น อุตสาหกรรมบริการ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่มห่มอุตสาหกรรม

แปรรูปไม้ และอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น เครื่องจักรสาน สานเข่งปลาทูเครื่องปั้นดินเผาปั้นหม้อดิน

และปนั้ กระถางใส่ไมป้ ระดับ แต่อย่างไรก็ตามความเจริญทางธรุ กิจอุตสาหกรรม และการขยายตัวของ เขตเมืองได้ทำให้พื้นที่ที่ใช้เพื่อการเกษตรกรรมลดน้อยลงไปเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะใช้พื้นท่ี

ทำธุรกิจเป็นทีอ่ ย่อู าศัย เช่น สรา้ งบา้ นจัดสรรและคอนโดมเิ นียม ฯลฯ หากพิจารณาในภาพรวมโครงสร้างเศรษฐกิจหลักของจังหวัดนนทบุรีในอดีตถึงปัจจุบัน

ข้ึนอยกู่ บั ภาคการบรกิ ารเป็นหลัก มกี ารขยายเพมิ่ ขึ้นทกุ ปี ซงึ่ ในปี 2562 มสี ัดสว่ นโครงสร้างเศรษฐกิจ ภาคบริการสัดส่วนโครงสร้างร้อยละ 80.52 เห็นได้ชัดจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของรายได้ของ

ผู้ประกอบการ ค้าส่งค้าปลีกขยายตัวร้อยละ 2.0 และคาดว่าประชาชนจะบริโภคสินค้าและบริการ เพิ่มขึ้น ตามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่

ทำให้การผลิตภาคบริการเพิ่มขึ้น และภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนร้อยละ 18.15 คาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 1.7 ขยายตัวจากที่หดตัวร้อยละ -22.0 ในปีก่อน และมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจำนวน

โรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัด ถึงแม้ผู้ประกอบการจะลดกำลังการผลิต เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจ ทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ผันผวนจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่ สุดท้าย

ภาคเกษตรมีสัดส่วนร้อยละ 1.33 ตั้งแต่ปี 2558-2560 ลดลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้ว่าในปี 2561 จะมี การขยายตัวเพิ่มขึ้นแต่อย่างไรก็ตามในปี 2562 ก็ลดลงเหมือนเดิม ซึ่งเกิดจากการขยายตัวของ

เขตเมืองได้ทำให้พื้นที่ที่ใช้เพื่อการเกษตรกรรมลดน้อยลงไปเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะใช้พื้นที่ ทำธรุ กิจเปน็ ทอ่ี ยูอ่ าศัย เชน่ บ้านจัดสรร และคอนโดมิเนยี ม ฯลฯ

ตารางท่ี 1-13 โครงสรา้ งเศรษฐกจิ ของจังหวัดนนทบุรี ณ ราคาประจำปี พ.ศ. 2562

หน่วย : ล้านบาท (ร้อยละ)

สาขาการผลิต 2558/2015 2559/2016 2560/2017 2561/2018 2562/2019

ภาคเกษตร 5,141 4,330 3,946 5,094 4,588

(รอ้ ยละ) 1.89 1.50 1.24 1.56 1.33

อุตสาหกรรม 53,074 55,012 61,273 58,336 62,706

(รอ้ ยละ) 19.50 19.00 19.32 17.86 18.15

การบรกิ าร 213,995 230,136 251,919 263,112 278,117

(ร้อยละ) 78.61 79.50 79.44 80.58 80.52

ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั 272,210 289,477 317,138 326,541 345,411

(Grossprovincialproduct:GPP) (ร้อยละ) 100 100 100 100 100

ทม่ี า: สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ณ 30 มถิ นุ ายน 2564

18

  1. บริการพน้ื ฐานการศึกษา 5.1) สภาพการจัดการศกึ ษาของจังหวดั นนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545) มีหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และ ส่วนราชการอื่น ร่วมกันจัดการศึกษา โดยสรุปจังหวัดนนทบุรี มีสถานศึกษาจำนวน 290 แห่ง มนี ักเรียน/นกั ศกึ ษา 284,490 คน (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2563) โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

สงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ (1) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เปิดสอนระดับ

ก่อนประถมศกึ ษาถงึ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไดแ้ ก่ - สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 รับผิดชอบ

การจัดการศึกษา ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี อำเภอบางกรวย มีสถานศึกษา จำนวน 32 แห่ง มนี ักเรียนจำนวน 17,168 คนมีห้องเรยี นจำนวน 649 หอ้ ง ครูผู้สอนจำนวน 1,175 คน

- สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 รับผิดชอบ การจัดการศึกษาในเขตอำเภอไทรน้อย อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ่ อำเภอปากเกร็ด มีสถานศึกษาจำนวน 63 แห่ง มีนักเรียนจำนวน 24,235 คน มีห้องเรียนจำนวน 910 ห้อง ครูผู้สอน จำนวน 1,490 คน

- สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี รับผิดชอบการจัดการศึกษา ในระดับชั้นมัธยมศึกษา จำนวน 18 แห่ง มีนักเรียน จำนวน 37,528 คน มีห้องเรียนจำนวน 986 ห้อง ครูผู้สอนจำนวน 1,747 คน

(2) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) เปิดสอนระดับก่อน ประถมศึกษา ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย มีสถานศึกษารวมทั้งสิ้น จำนวน 92 แห่ง มีนักเรียนจำนวน 63,800 คน มหี อ้ งเรียน จำนวน 2,208 หอ้ ง ครูผสู้ อนจำนวน 3,438 คน

(3) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) เปิดสอนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มีสถานศึกษา จำนวน 13 แห่ง จำนวน 14,805 คน มหี ้องเรยี น จำนวน 458 ห้อง ครผู ้สู อน จำนวน 531 คน

- สถานศึกษาภาครัฐ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี มีนักศึกษา จำนวน 1,190 คน มีห้องเรียนจำนวน 67 ห้อง ครผู สู้ อน จำนวน 44 คน

- สถานศึกษาภาคเอกชน จำนวน 12 แห่ง มีนักศึกษา จำนวน 13,615 คน มีห้องเรียน จำนวน 391 ห้อง ครูผ้สู อน จำนวน 487 คน

(4) สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนนทบุรี (กศน.) มสี ถานศกึ ษา จำนวน 6 แห่ง มนี ักศึกษา จำนวน 7,521 คน

- สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สังกัด สพฐ.) มีสถานศึกษา จำนวน 3 แห่ง ไดแ้ ก่

- โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนนทบุรี มีนักเรียน จำนวน 173 คน มีห้องเรียน จำนวน 29 ห้อง ครผู ู้สอน จำนวน 41 คน

- โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย มีนักเรียน จำนวน 355 คน มีห้องเรียน จำนวน 15 ห้อง ครผู ู้สอน จำนวน 33 คน

19

- ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดนนทบุรี มีนักเรียน จำนวน 123 คน มีห้องเรียนจำนวน 11 หอ้ ง ครู/ครูอัตราจ้าง จำนวน 20 คน

สังกดั สว่ นราชการอนื่ (1) สถานศึกษาสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมเปิด

สอนระดับปริญญาตรีถึงระดับปรญิ ญาเอก จำนวน 4 แห่ง - สถานศึกษาภาครัฐ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มีนักศึกษา จำนวน 65,930 คน และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี มีนกั ศกึ ษา จำนวน 2,656 คน

- สถานศึกษาภาคเอกชน จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ มีนกั ศกึ ษาจำนวน 2,665 คน และสถาบันการจดั การปัญญาภวิ ัฒน์ มีนกั ศึกษาจำนวน 17,920 คน

(2) สถานศึกษาสังกัดกระทรวงมหาดไทย เปิดสอนระดับก่อนประถมศึกษาถึงระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ (สถานศกึ ษาสงั กดั อบจ. เทศบาล และ อบต.) สถานศึกษา จำนวน 57 แห่ง นักเรียน จำนวน 28,341 คน ห้องเรียน จำนวน 955 ห้อง ครูผสู้ อน จำนวน 1,423 คน

(3) สถานศึกษาสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (วิทยาลัยพยาบาล) เปิดสอนระดับ ปวส. ถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรี จำนวน 2 แหง่

- วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชนนี วทิ ยาเขตนนทบรุ ี มีนักศกึ ษา จำนวน 727 คน มี ห้องเรียน จำนวน 8 หอ้ ง ครูผสู้ อน จำนวน 67 คน

- วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขกาญจนาภิเษก มีนักศึกษา จำนวน 543 คน มหี อ้ งเรยี น จำนวน 11 ห้อง มคี รผู ูส้ อน จำนวน 49 คน

จังหวัดนนทบุรี แบ่งพื้นที่การศึกษาออกเป็น 3 เขต ประกอบด้วย สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 ครอบคลุมพื้นที่ อำเภอเมือง และอำเภอบางกรวย สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 ครอบคลุมพื้นที่ อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง อำเภอบางใหญ่ และอำเภอไทรน้อย และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัด นนทบรุ ี

ในปี 2562 มีสถานศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา (สายสามัญ ศึกษา) รวม 290 แห่ง จำนวนห้องเรียน 6,720 ห้อง จำนวนครู 10,996 คน และนักเรียน 284,490 คน ดังนี้

20

ตารางที่ 1-14 : แสดงจำนวนสถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา ห้องเรียน ครู/ผู้สอน ปีการศึกษา

2563 จำแนกตามสงั กัด

สงั กัด สถานศึกษา นักเรียน/ ห้องเรียน คร/ู ผสู้ อน

นักศึกษา

รวมทั้งหมด 290 284,490 7,018 10,432

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ศธ.) 227 165,708 5,266 8,544

1. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (สพฐ.) 113 78,931 2,545 4,412

- สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา 32 17,168 649 1,175 นนทบุรี เขต 1

- สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา 63 24,235 910 1,490 นนทบรุ ี เขต 2

- สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา 18 37,528 986 1,747 นนทบุรี

2. สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 92 63,800 2,208 3,438

3. สำนกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ (สศศ.) 3 651 55 94

- โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์บางกรวย 1 355 15 33

- โรงเรียนโสตศกึ ษาจงั หวดั นนทบุรี 1 173 29 41

- ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ 1 123 11 20

4. สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) 13 14,805 458 531

- วทิ ยาลยั เทคนคิ นนทบรุ ี (ภาครัฐบาล) 1 1,190 67 44

- วทิ ยาลัยอาชีวศึกษา (ภาคเอกชน) 12 13,615 391 487

5. สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ต า ม 6 7,521 0 69

อธั ยาศยั จงั หวดั นนทบรุ ี (กศน.)

ส่วนราชการอืน่ 63 118,782 1,752 1,888

1. กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและ 4 89,171 777 349 นวตั กรรม (อว.)

- มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช 1 65,930 - 442

- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภูมิ 1 2,656 143 227 ศูนย์นนทบรุ ี

- มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ์ 1 2,665 112 114

- สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวัฒน์ 1 17,920 113 396

2. กระทรวงมหาดไทย (มท.) กรมส่งเสริมการปกครอง 57 28,341 955 1,423 ทอ้ งถ่นิ

- อบจ.นนทบุรี 34 17,622 606 861

- เทศบาลนครนนทบรุ ี 6 3,390 123 216

- เทศบาลตำบลปลายบาง 6 2,082 77 126

- เทศบาลนครปากเกรด็ 3 2,181 65 73

21

สงั กดั สถานศึกษา นักเรียน/ ห้องเรียน คร/ู ผสู้ อน

นกั ศึกษา 10,432 107 รวมทง้ั หมด 290 284,490 7,018 11

- เทศบาลเมืองบางบวั ทอง 2 1,469 52 21 8 - เทศบาลตำบลบางพลบั 1 242 9 5 4 - อบต.บางบัวทอง 2 1,000 17 116 67 - เทศบาลตำบลบางม่วง 1 193 6 49 - เทศบาลตำบลเสาธงหิน 1 101 3

- เทศบาลตำบลไทรม้า 1 61 4

3. กระทรวงสาธารณสขุ (สธ.) :สถาบันพระบรมราชชนก 2 1,270 20

- วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จงั หวดั นนทบรุ ี 1 727 9

- วทิ ยาลัยเทคโนโลยที างการแพทย์และสาธารณสขุ 1 543 11 กาญจนาภิเษก

ทีม่ า : รายงานแผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวัดนนทบรุ ี ปพี ทุ ธศักราช 2562-2565 ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564

ตารางท่ี 1-15 จำนวนนักเรียน/นักศกึ ษา/ห้องเรยี น/ครู ปีการศกึ ษา 2563 จำแนกรายชน้ั เรยี น

ระดบั การศกึ ษา/ชนั้ ปกี ารศึกษา 2563

รวมทงั้ ส้ิน นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา หอ้ งเรยี น ครู กอ่ นประถมศึกษา 10,432 อนุบาล 1 (หลักสตู ร3 ปี ของสช.) 284,490 7,018 1,252 อนบุ าล 2 (สช.) / อนุบาล 1 218 อนุบาล 3 (สช.) / อนบุ าล 2 32,455 1,386 237 ประถมศึกษา 222 ประถมศึกษาปีที่ 1 8,228 334 3,206 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 180 ประถมศึกษาปีท่ี 3 12,376 519 164 ประถมศึกษาปีท่ี 4 168 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 11,851 517 175 ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 174 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 78,070 2,677 175 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 588 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 13,490 465 114 มัธยมศึกษาปีที่ 3 114 มัธยมศึกษาตอนปลาย 13,338 446 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 78 มัธยมศึกษาปที ี่ 5 12,395 443 256 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 63 12,558 439 59 60 12,726 439

12,758 447

41,608 1,109

13,305 393

12,787 372

12,713 354

26,928 713

8,260 241

7,772 226

7,043 233

22

ระดับการศกึ ษา/ช้ัน ปีการศึกษา 2563 ครู นกั เรียน/นักศกึ ษา หอ้ งเรยี น 254 60 ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) 9,901 278 83 90 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ชั้นปที ่ี 1 3,605 102 171 74 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ช้ันปที ่ี 2 2,976 92 65 710 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีท่ี 3 3,260 85 0 0 ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) 5,306 184 0 0 ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ชน้ั ปีที่ 1 2,856 97 61 0 ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวส.) ชั้นปีท่ี 2 2,366 87 3 29 ปรญิ ญาตรี 85,437 264

ปริญญาตรีปีท่ี 1 29,127 79

ปรญิ ญาตรปี ที ่ี 2 24,468 77

ปรญิ ญาตรปี ที ี่ 3 14,459 52

ปริญญาตรีปที ี่ 4 12,292 50

ปริญญาโท 4,426 1

ปรญิ ญาโทปที ่ี 1 230 0

ปริญญาโทปีท่ี 2 210 1

ปริญญาเอก 00

ท่มี า : รายงานแผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวัดนนทบุรี ปพี ทุ ธศักราช 2562-2565 ฉบบั ทบทวน พ.ศ. 2564

5.2) ขอ้ มลู ด้านคุณภาพการศึกษาของจงั หวดั นนทบุรี

ตารางที่ 1-16 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ระดับจังหวัด

(ศธจ.นนทบรุ ี) ปีการศึกษา 2563, 2562 และ 2561

เปรียบเทยี บคะแนเฉลีย่ นระดบั จงั หวดั (ศธจ.นนทบุรี)ปกี ารศกึ ษา

กลุม่ สาระ พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2564 ผลต่าง พ.ศ. ผลตา่ ง พ.ศ. แปลผล 2563,2562 2563,2561 คา่ สถติ ิ

ภาษาไทย 59.00 52.07 59.70 + 6.93 - 0.70 เพิ่มขึ้น

ภาษาอังกฤษ 52.84 42.59 48.48 +10.25 + 4.36 เพิม่ ข้ึน

คณติ ศาสตร์ 31.87 35.32 41.95 - 3.45 -10.08 ลดลง

วทิ ยาศาสตร์ 40.23 37.89 42.30 + 2.34 - 2.07 เพิ่มขึน้

รวมเฉล่ียระดบั จงั หวดั 45.99 41.97 48.11 + 4.02 - 2.12 เพ่มิ ข้ึน

รวมเฉลีย่ ระดับประเทศ 42.13 37.99 43.14 + 4.14 - 1.01 เพม่ิ ขนึ้

ทม่ี า : รายงานแผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวดั นนทบุรี ปีพุทธศักราช 2562-2565 ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564

จากตารางเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปีที่ 6 ระดับจังหวัด (ศธจ.นนทบุรี) ปีการศึกษา 2563, 2562 และ 2561 พบว่า คะแนนกลุ่มสาระ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ มีค่าสถิติเพิ่มขึ้น ส่วนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ มีค่าสถิติ

ลดลง คะแนนเฉล่ียรวมระดบั จังหวดั และระดบั ประเทศเพิ่มข้ึน และคะแนนเฉลี่ยรวมระดับจงั หวัด สูง กวา่ ระดับประเทศ ทกุ ปีการศึกษา

23

แผนภูมิที่ 1 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้นป. 6 ศธจ.นนทบุรี เปรียบเทียบ 3 ปี การศึกษา (2563,2562, 2561) และคะแนนเฉล่ียรวมระดับจงั หวดั และระดับประเทศ

ตารางที่ 1-17 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ระดบั จงั หวดั (ศธจ.นนทบุรี) ปกี ารศึกษา 2563, 2562 และ 2561

เปรยี บเทียบคะแนเฉลย่ี นระดับจงั หวดั (ศธจ.นนทบรุ )ี ปกี ารศกึ ษา

กลุ่มสาระ พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2564 ผลต่าง พ.ศ. ผลตา่ ง พ.ศ. แปลผล 2563,2562 2563,2561 ค่าสถิติ

ภาษาไทย 58.11 57.54 58.27 + 0.57 - 0.16 เพิม่ ขึ้น

ภาษาองั กฤษ 41.19 38.08 33.18 + 3.11 + 8.01 เพมิ่ ขน้ึ

คณิตศาสตร์ 27.59 29.28 32.96 - 1.69 - 8.37 ลดลง

วทิ ยาศาสตร์ 31.43 30.81 37.35 + 0.62 - 5.92 ลดลง

รวมเฉลย่ี ระดบั จงั หวัด 39.58 38.93 40.44 + 0.65 - 0.86 ลดลง

รวมเฉลย่ี ระดับประเทศ 36.01 36.30 37.50 - 0.29 - 1.49 ลดลง

ที่มา : รายงานแผนพัฒนาการศึกษาจังหวดั นนทบรุ ี ปีพทุ ธศกั ราช 2562-2565 ฉบบั ทบทวน พ.ศ. 2564

จากตารางเปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ O-NET นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3

ระดับจังหวัด (ศธจ.นนทบรุ )ี ปีการศึกษา 2563, 2562 และ 2561พบว่า คะแนนกลุ่มสาระภาษาไทย ภาษาอังกฤษมีค่าสถิติเพิ่มขึ้น ส่วนกลุ่มสาระ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มีค่าสถิติลดลง

คะแนนเฉลี่ยรวมระดับจังหวัดและระดับประเทศลดลง แต่คะแนนเฉลี่ยรวมระดับจังหวัด สูงกว่า คะแนนเฉลย่ี รวมระดบั ประเทศ ทกุ ปีการศกึ ษา

24

แผนภูมิที่ 2 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้น ม.3 ศธจ.นนทบุรี เปรียบเทียบ 3 ปี การศกึ ษา (2563, 2562, 2561) และคะแนนเฉล่ียรวมระดับจังหวดั และระดบั ประเทศ

ตารางที่ 1-18 เปรียบเทยี บคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปี

ท่ี 6 ระดับจงั หวัด (ศธจ.นนทบุรี) ปีการศกึ ษา 2563, 2562 ,2561

เปรยี บเทยี บคะแนเฉลี่ยนระดบั จังหวัด (ศธจ.นนทบุร)ี ปกี ารศกึ ษา

กล่มุ สาระ พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2564 ผลตา่ ง พ.ศ. ผลตา่ ง พ.ศ. แปลผล 2563,2562 2563,2561 ค่าสถติ ิ

ภาษาไทย 46.94 45.35 51.96 + 1.59 - 5.20 ลดลง

ภาษาองั กฤษ 35.10 34.08 37.63 + 1.02 - 2.53 ลดลง

คณิตศาสตร์ 27.66 28.19 34.74 - 0.53 - 7.08 ลดลง

วทิ ยาศาสตร์ 33.91 30.36 31.85 + 3.55 + 2.06 เพ่ิมขึน้

สงั คมศกึ ษาศาสนาและ 37.01 37.08 36.92 - 0.07 + 0.09 เพ่มิ ขนึ้ วัฒนธรรม

รวมเฉลีย่ ระดับจังหวัด 36.11 35.01 38.62 +1.10 - 2.51 ลดลง

ท่ีมา : รายงานแผนพัฒนาการศกึ ษาจังหวัดนนทบุรี ปีพุทธศักราช 2562-2565 ฉบับทบทวน พ.ศ. 2564

จากตารางเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระดบั จงั หวดั (ศธจ.นนทบุร)ี ปกี ารศึกษา 2563, 2562 ,2561 พบวา่ คะแนนกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีค่าสถิติเพิ่มขึ้น ส่วน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ คณิตศาสตร์ มีค่าสถิติลดลง คะแนนเฉลี่ยรวมระดับจังหวัด สูงกว่าระดับประเทศ ทุกปีการศึกษา แต่คะแนนเฉลี่ยรวมระดบั จงั หวดั ลดลง ส่วนคะแนนเฉลยี่ รวมระดับประเทศ เพิ่มขึ้น

25

แผนภูมิที่ 3 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ O-NET นักเรียนชั้น ม.6 ศธจ.นนทบุรี เปรียบเทียบ 3 ปี การศึกษา (2563, 2562, 2561) และคะแนนเฉลย่ี รวมระดบั จงั หวดั และระดบั ประเทศ

  1. บริการพื้นฐานด้านสาธารณสุข ในปี พ.ศ. 2563 จังหวดั นนทบรุ มี สี ถานพยาบาลทกุ ประเภท รวมจำนวน 803 แหง่

ประกอบด้วย โรงพยาบาลศูนย์ 1 แห่ง โรงพยาบาลประจำอำเภอ 8 แห่ง โรงพยาบาลเฉพาะทาง 2 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 12 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 89 แห่ง และคลินิก (ทุกประเภท) 752 แห่ง จำนวนเตียงรวม 2,386 เตียง โดยมีอัตราส่วนเตียงต่อประชากรจังหวัด 1 : 530 คน สูงกว่าคา่ เฉลยี่ ของประเทศ (1 : 416 คน หรือ 2.4 : 1,000 ประชากร)

รปู ภาพท่ี 6 แผนที่แสดงสถานพยาบาลในจงั หวัดนนทบรุ ี

26

ตารางท่ี 1-19 สถานพยาบาล จำแนกตามประเภท เป็นรายอำเภอ ปีงบประมาณ 2563

อำเภอ โรงพยาบาลรฐั บาล โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบล คลนิ ิกทกุ (Government hospital) (Private hospital) (Health promoting hospital) ประเภท (Clinic) รวมยอด 8 12 76 803 เมืองนนทบรุ ี 1 5 15 12 304 บางกรวย 2 1 9 72 14 96 บางใหญ่ 1 1 11 105 15 6 บางบวั ทอง 2 2 220

ไทรน้อย 1 0

ปากเกร็ด 1 3

ท่มี า : สำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดนนทบรุ ี ณ วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 2564

ตารางที่ 1-20 แสดงสถานพยาบาลที่มีเตียงผู้ป่วยรับไว้ค้างคืน จำนวนเตียง แพทย์ ทันตแพทย์

เภสัชกร พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล และผู้ป่วย จำแนกตามประเภทสถานพยาบาล และสังกัด

พ.ศ. 2563

ประเภท/สังกัด สถานพยาบาล เตียง แพทย์ ทนั ต เภสัชกร พยาบาล พยาบาล รวม ผู้ปว่ ย ผู้ป่วยนอก (Bed) แพทย์ (Pharm (Nurse) เทคนคิ (Total) Patient (Out- (Hospital (Physician) (Dentist) acist) patient) and Medical (Technic ผู้ปว่ ยใน al nurse) (In- 4,314,063 Establishment) 2,619,624 patient) 2,061,449 558,175 ประเภทบรกิ ารท่ัวไป 18 2,785 618 121 190 1,689 4 4,451,763 137,700 - รฐั บาล 9 1,525 435 94 117 1,114 3 2,703,354 83,730 - กระทรวงสาธารณสขุ 1,694,439 กระทรวงอน่ื ๆ 7 1,038 242 75 89 779 3 2,118,453 57,004 665,585 รฐั วิสาหกิจและองค์การ 627,106 อสิ ระ 2 487 193 19 28 335 - 584,901 26,726 627,106 เทศบาล - - - - - - - - เอกชน - ประเภทบริการเฉพาะทาง - - - - - - - - รัฐบาล 38,479 9 1,260 183 27 73 575 1 1,748,409 53,970 กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอ่นื ๆ 8 1,300 163 46 67 965 11 689,898 24,313

รฐั วสิ าหกิจและองคก์ าร 5 1,240 155 46 61 953 11 649,230 22,124 อสิ ระ 5 1,240 155 46 61 953 11 649,230 22,124 เทศบาล เอกชน - -- - - - - - -

- -- - - - - - -

- -- - - - - - -

3 60 8 - 6 12 - 40,668 2,184

ท่มี า : สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั นนทบุรี /สำนักงานสถิตจิ ังหวัดนนทบุรี ณ วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2564