การเข ยนเช งว ชาการ ภาษาไทย ระด บ ม ต น

เรร รื่ อง หนน้ คำ หลบั กภคำษคำไทย เสน ยงสระ 6 3 เสน ยงพยบั ญชนะ 9 เสน ยงวรรณยตุ กตค์ 12 ระดบั บภคำษคำ 14 คค คำไทยทท รื่ มคำจคำกภคำษคำอร รื่ น (บคำลท ) ลบั กษณะของภาษาบาลน 20 ลบั กษณะการยพ มคท าภาษาบาลน 22 คท าภาษาบาลน และสบั นสกฤตในวรรณคดน ไทย 23 บรรณรคำนนุ กรม 24 14. สระเอพ อะ (เ-พ อะ) เขน ยนไวข้ ทบั นี้ งหนข้ า บน และหลบั งพยบั ญชนะ

รายงานเชงิ วิชาการ เรือ่ ง ลกั ษณะของภาษาไทย

จดั ทำโดย นางสาว อารยา เปลา เลขท่ี ๓๒ หอ้ งเรยี น ๑ รหสั นักเรยี น ๕๕๙๙ ระดบั ชัน้ มัธยมศกี ษาปีท่ี ๕

เสนอ ครูธนาวฒุ ิ วงค์แว่น

รายงานเล่มนเี้ ปน็ สว่ นหน่ึงของรายวชิ าภาษาไทย รหัสรายวิชา ท ๓๒๑0๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์๒๖ จงั หวดั ลำพูน

รายงานเชงิ วชิ าการ เร่ือง ลกั ษณะของภาษาไทย

จดั ทำโดย นางสาว อารยา เปลา เลขที่ ๓๒ ห้องเรียน ๑ รหัสนักเรยี น ๕๕๙๙ ระดับชั้น มธั ยมศกี ษาปีท่ี ๕

เสนอ ครูธนาวฒุ ิ วงค์แว่น

รายงานเล่มนเ้ี ป็นสว่ นหน่งึ ของรายวิชาภาษาไทย รหัสรายวิชา ท ๓๒๑0๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๖ จงั หวดั ลำพูน

คำนำ

รายงานทางวิชาการ เร่อื ง ลักษณะของภาษาไทย เป็นสว่ นหนึ่งของวชิ าภาษาไทย รหัส รายวิชา ท๓๒๑0๒ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศกึ ษาความรูเ้ กี่ยวกับลกั ษณะของภาษาไทย รายงานฉบบั นีม้ ี เนื้อหาเก่ยี วข้องกับ ภาษาคำโดด การเรยี งคำ ภาษาวรรณยกุ ต์ เสียงสระ พยญั ชนะ วรรณยุกต์เปน็ หนว่ ยภาษา การวางคำขยายไวข้ ้างหลงั คำหลกั การลงเสียงหนกั เบาของคำ และการไม่เปลย่ี นแปลง รปู คำ

การศึกษาค้นคว้าเรอ่ื ง ลักษณะของภาษาไทย เล่มน้ี ข้าพเจา้ ไดว้ างแผน ไดด้ ำเนนิ การศึกษา โดยศึกษาจากแหล่งเรยี นรู้ อาทิ เช่น หนังสือในหอ้ งสมุดของโรงเรยี น และแหลง่ เรียนรู้จากเว็บไซต์

การจดั ทำรายงานฉบับนีส้ ำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ไปไดด้ ้วยดี ขา้ พเจา้ ขอขอบพระคณุ คุณครู ธนาวฒุ ิ วงค์แวน่ ท่ีทา่ นให้คำแนะนำการเขียนรายงาน คำปรึกษาจนรายงานฉบับนี้สมบูรณ์ในดา้ นการ ดำเนนิ แผนปฏบิ ตั ิ การดำเนนิ การทำงาน ขา้ พเจ้าหวังวา่ รายงานฉบับนี้ ที่ได้เรยี บเรยี งมาคงเปน็ ประโยชน์แกผ่ ู้ทส่ี นใจเป็นอย่างดี หากมสี ิ่งใดในรายงานฉบับน้ีจะตอ้ งปรบั ปรุง ข้าพเจ้าขอน้อมรบั ใน ข้อชแ้ี นะและจะนำไปแก้ไขพัฒนาให้ถกู ต้องสมบรู ณต์ อ่ ไป

นางสาว อารยา เปลา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๕

สารบัญ หนา้

เรื่อง 1 คำนำ 1-2 สารบญั 3 บทที่ ๑ ลกั ษณะและความสำคัญของภาษาไทย 4-5 6 ความหมายของภาษา 6 ความสำคญั ของภาษา 6 ลกั ษณะทว่ั ไปของภาษา 7 บทท่ี 2 ลักษณะของภาษาไทย 7 คำภาษาไทยแตเ่ ดิมเปน็ คำพยางค์เดียว 7 ภาษาไทยจะมีตวั สะกดตรงตามมาตรา 7 ภาษาไทยมีคำลกั ษณนาม 8-7 คำภาษาไทยคำเดียวมีหลายความหมาย และมหี ลายหน้าท่ี 8-10 ภาษาไทยเปน็ ภาษาเรยี งคำ 11 คำขยายจะวางไว้หลงั คำทีถ่ กู ขยาย ภาษาไทยมรี ะบบเสยี งพยัญชนะ เสียงสระ เสยี งวรรณยุกต์ ภาษาไทยมกี ารสร้างคำใหม่ บทสรุป บรรณานุกรม

1

บทท่ี ๑

ลักษณะและความสำคัญของภาษาไทย

ภาษาเป็นเครอ่ื งมือในการสื่อสารเพื่อถ่ายทอดความรู้สกึ นกึ คิดของมนุษย์ ภาษาไทยเปน็ ภาษา หนงึ่ ท่มี ี ความงดงามและมีเอกลักษณเ์ ฉพาะตวั นกั ศึกษาในฐานะผใู้ ช้ภาษาไทยควรอยา่ งยิง่ ที่จะ เรยี นรลู้ ักษณะของ ภาษาไทย และตระหนกั ถึงความสำคญั ของภาษาไทยอันเปน็ เคร่ืองมือในการ สอ่ื สารและเป็นเครอ่ื งมอื สำคัญใน การสรา้ งเอกภาพความเป็นชาตไิ ทย

ความหมายของภาษา

ภาษาเป็นเครื่องมือที่มนษุ ย์ใชถ้ ่ายทอดความคิด ความร้สู ึก ภาษาต่าง ๆ ท่ีใชส้ อ่ื สารกนั ท่วั โลก มีอยู่ เปน็ จำนวนมาก บางภาษามที ้ังภาษาพูดและภาษาเขียน แตใ่ นบางภาษาใชใ้ นการสนทนาเทา่ นัน้ มผี ู้ให้ ความหมายของ ภาษา ไวอ้ ยา่ งกว้างขวาง

“ภาษา” มาจากคำภาษาสนั สกฤต “ภาษา” แปลว่า ถอ้ ยคำ หรือคำพูด พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ (๒๕๓๔: ๓๙๗) อธิบายความหมายของคำ “ภาษา” ไว้ดงั นี้ “น. เสยี งหรอื กิริยาอาการทท่ี ำความเข้าใจกันได้, คำ พูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกนั ; มคี วามร้คู วาม เขา้ ใจ”

พระยาอนมุ านราชธน (๒๕๑๕: ๓๒-๓๓) กลา่ วว่า ภาษา ตามความหมายในนริ ุกติศาสตร์ คือ วธิ ที ่ี มนุษย์แสดงความในใจเพ่ือใหผ้ ู้ท่ตี นตอ้ งการให้รู้ได้รู้ โดยใชเ้ สียงพดู ท่มี ีความหมายตามทไ่ี ด้ตกลง รับร้กู ัน ซึ่งมผี ู้ ไดย้ ินรบั รู้และเข้าใจ

อดุ ม วโรตมส์ ิกขดิตถ์ (๒๕๓๗: ๓) กล่าวว่า ภาษา ย่อมเป็นระบบสญั ลักษณใ์ นเชงิ คำพูดหรือ เชิงการ เขยี นทมี่ นุษยเ์ ท่านน้ั กำหนดข้นึ และใชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื ในการส่ือความหมายต่อกันและกัน

วิจินตน์ ภาณุพงศ์ อธิบายว่า ภาษา หมายถึงเสยี งพูดทีม่ ีระเบยี บและมีความหมาย ซ่งึ มนษุ ย์ ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื สำหรับสื่อสาร ความคดิ ความรู้สึก ความต้องการ และใชใ้ นการประกอบกจิ กรรม รว่ มกนั

กาญจนา นาคสกลุ (๒๕๕๑: ๖-๑๑) ไดก้ ลา่ วถงึ ความหมายของภาษา ไวว้ า่ ภาษา หมายถงึ สัญลักษณต์ า่ ง ๆ ท่ีมนษุ ย์ใช้ส่ือสารในสงั คม

ภาษา หมายถงึ สิ่งทเี่ ปน็ สัญลกั ษณอ์ าจจะเปน็ อะไรก็ได้เท่าที่มนุษย์กำหนดขึ้น ภาษาตาม ความหมาย น้ี จงึ กนิ ความหมายกว้างและมคี ำขยายได้มากมาย เช่น ภาษาพดู ภาษาเขียน ซ่ึงเปน็ ภาษาทีใ่ ช้ถ้อยคำ เป็น สื่อกลาง รวมถึงภาษาท่าทาง เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ดว้ ย

ภาษา หมายถึง ระบบสัญลกั ษณซ์ ่งึ มนษุ ย์ใชเ้ พื่อติดต่อสอื่ สารกัน ภาษา หมายถงึ สญั ลักษณ์ซงึ่ ไดจ้ ัดระบบ มีระบบ หรือเป็นระบบแลว้ เป็นภาษาทตี่ ้องมีการ เรยี นรใู้ นสังคม ภาษาตามความหมายน้ีหมายถึงภาษาซึ่งเป็นคำพูด ที่มนุษยใ์ ชเ้ ป็นเคร่อื งมอื สื่อสารใน สังคม นักภาษาศาสตรศ์ ึกษาภาษากเ็ พื่อวเิ คราะหล์ กั ษณะที่แท้จรงิ ของภาษาตามความหมายข้อน้ี เพ่อื ให้เข้าใจกฎเกณฑ์ของภาษา และเพื่อสร้างทฤษฎเี ก่ยี วกบั ภาษาตัวอักษรหรอื การขีดเขยี นซึง่ สามารถอา่ นออกเป็นคำพูดในภาษา จึงอาจจัดเปน็ ภาษาตามความหมายนี้ด้วย เพราะเหตุท่ตี วั อักษร

2

มกั จะมรี ะบบมีกฎเกณฑ์การแทนเสียงแทนคำท่แี น่นอน จงึ แทนเสยี งพูดได้เกอื บจะสมบูรณ์ ซง่ึ เสียงพูดนนั้ กส็ ื่อความหมายได้ในระยะจำกัด คือในระยะท่ีคล่นื อากาศถกู ลมท่อี อกจากปากทำให้ ส่นั สะเทอื นเปน็ วงกว้างออกไป จนถงึ หผู ้ฟู งั ทีฟ่ ังได้ความหมายถา้ ผูฟ้ ังอยู่หา่ งเกนิ ไป ไม่สามารถรับคลน่ื เสยี งท่ีผู้พูดส่งมา ภาษาทผี่ ู้พูดพูดออกมาก็ไม่อาจสอ่ื ความหมายตามท่ีต้องการได้ ในกรณีนจ้ี ำเปน็ ต้อง หาเคร่ืองมอื อื่นมาชว่ ยถ่ายทอดเสยี งพูดให้ไปถึงผู้รับท่ีอยู่ห่างไกล ในโลกสมัยใหม่ อุปกรณ์ทาง โทรคมนาคม มีวิทยุ วิทยถุ ่ายทอดคลน่ื ไมโครเวฟ โทรทัศน์ โทรศพั ท์ เคร่ืองบนั ทึกเสียงและภาพ เปน็ ตน้

ภาษา หมายถึง ระบบสัญลักษณ์ทีค่ นกลุ่มหน่งึ ๆ ใชใ้ นการติดต่อส่ือสารกนั ในสงั คมเทา่ ที่ มนุษย์กำหนดขึน้

ภาษาเป็นของคนกล่มุ หนึง่ เทา่ นั้น แตก่ ารจะกำหนดว่า ภาษาทค่ี นหนึ่งพูด กับภาษาทีค่ นอีก กล่มุ หนึ่งพดู จะเป็นภาษาเดียวกันหรือไม่ ขึน้ อยู่กับการให้คำนยิ าม และเกณฑ์ที่จะใช้ในการกำหนดนั้น ๆ การกำหนดภาษาในสงั คมมนุษย์ จึงอาจแตกต่างกันไปหลายแบบตามเกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดตาม ขอบเขต และตามนยิ ามของภาษานัน้ ๆ เชน่ การกำหนดภาษา เป็นภาษาคำโดด ภาษามวี ภิ ัตติปัจจัย ภาษาคำติดต่อ

ภาษา หมายถึง ภาษาย่อยท่เี ปล่ียนแปลงมาจากภาษาใดภาษาหนึง่ ภาษา หมายถึง ภาษาย่อยซ่ึงมีลกั ษณะเปลีย่ นแปลงไปจากภาษาใดภาษาหนึ่งตามข้อกำหนด ตา่ ง ๆ เช่น ถิน่ ทีอ่ ยู่ หน้าที่และจุดมุ่งหมายของการใช้ภาษา ลักษณะและฐานะทางสังคมของผู้ใช้ภาษา มีอาชพี เพศ อายุ เปน็ ตน้ ภาษาอาจกำหนดตามท้องถิ่นของผู้พดู ภาษา เรยี กว่า ภาษาถิน่ เช่น ภาษาถ่ินเหนอื ภาษาถิ่น อีสาน ภาษาถน่ิ ใต้ ภาษาอาจกำหนดตามหนา้ ทแ่ี ละจุดมงุ่ หมายของการใชภ้ าษา เชน่ ภาษาราชการ ภาษาพูด ภาษาเขยี น ภาษาแพทย์ ภาษาโหร ภาษาสแลง ภาษาอาจกำหนดตามลักษณะและฐานะทาง สังคมของผู้ใช้ภาษา เชน่ ราชาศพั ท์ ภาษาผหู้ ญงิ ภาษาวยั รนุ่ ภาษาท่กี ำหนดอย่างน้อี าจเรยี กวา่ ทำเนียบภาษา

ภาษาเป็นผลสะทอ้ นความเจริญของสงั คม เมือ่ ชนกลุม่ ใดกำหนดภาษาใดเปน็ ภาษาประจำกลมุ่ แล้ว ภาษาน้ันกจ็ ะนับว่าเป็นภาษาหลัก

หรอื ภาษาแม่ของสมาชิกกลุ่มน้นั เมือ่ สงั คมขยายตวั ขึน้ เป็นเมอื งหรือเป็นประเทศ ภาษาท่ชี นกลุ่มนัน้ ใช้ก็จะเปล่ียนฐานะเป็นภาษาประจำชาติ ซึ่งจะเป็นภาษาทใ่ี ช้สบื ต่อกันถึงลกู หลาน ถ่ายทอดต่อไป เร่อื ย ๆ ภาษานน้ั ๆ จะผกู พนั กับสงั คมของผใู้ ช้อยา่ งใกลช้ ดิ คำศพั ทท์ ม่ี ใี นภาษาจะแสดงให้เหน็ ลกั ษณะของความเปน็ อยู่ อาหารการกนิ กจิ กรรม ประสบการณ์ ความเช่อื พนั ธุ์พืช พันธส์ุ ตั ว์ ทรัพยากรธรรมชาติและทุกส่ิงของสงั คมน้ันในทางใด ทางหนง่ึ ของสงั คมย่อมจะมีผลต่อภาษาด้วย ภาษาจึงเป็นหลักฐานแสดงอารยธรรมและวฒั นธรรม ตลอดจนความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยที ่ีมนษุ ย์กลุ่มหน่งึ ๆ ประสบและไดพ้ ัฒนาขน้ึ มา ท่สี ำคญั ภาษาเป็นเครอื่ งมอื ในการคดิ ของ มนุษยแ์ ละเป็นสอ่ื ที่ใช้แสดงความคิดซง่ึ เป็นนามธรรมออกมาใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจด้วย ชนกล่มุ ใดมภี าษาซึง่ ทำ หน้าทด่ี งั กล่าวได้อย่างสมบูรณ์ มคี ำศัพท์ที่จะแสดงสง่ิ ทเี่ ป็นนามธรรมต่างๆไดอ้ ย่างถูกต้องแจ่มชดั ชน

3

กลุ่มนนั้ กจ็ ะคดิ ไดล้ ึกซ้ึง กว้างไกลและแน่นอน วทิ ยาการต่าง ๆ ก็จะเจรญิ ข้ึนเป็นเงาตามตวั จากคำ นยิ ามสามารถสรปุ ได้วา่ ภาษา คอื ระบบสญั ลักษณ์ทท่ี ำหน้าทเี่ ป็นเคร่ืองมือเพ่ือติดต่อใช้ส่อื สารกันใน สังคมหนึง่ ๆ มนุษย์ใชภ้ าษาถ่ายทอดความรู้สึกนกึ คิดและความรู้ มนษุ ยจ์ งึ มีการถ่ายทอดภาษาไปสู่ ลูกหลาน และมนษุ ยเ์ รียนรู้ภาษาทัง้ ภาษาแรกของตนเอง และภาษาต่างประเทศอย่เู สมอ

ความสำคัญของภาษา ภาษามคี วามสำคญั ต่อมนษุ ย์มาก เพราะนอกจากจะเป็นเคร่ืองมือในการส่ือสารแล้ว ยังเป็น

เครอ่ื งมือของการเรยี นรู้ การพัฒนาความคดิ ของมนุษยแ์ ละเปน็ เคร่ืองมือถา่ ยทอดวัฒนธรรมและการ ประกอบอาชีพท่ีสำคัญ ภาษาชว่ ยเสรมิ สรา้ งความสามคั คขี องคนในชาติอีกดว้ ย เพราะภาษาเป็น ถอ้ ยคำท่ใี ชใ้ นการส่ือสารสร้างความเขา้ ใจกันในสังคม ภาษาจึงมีประโยชน์มากมาย ได้แก่

๑. ภาษาช่วยธำรงสงั คม การอยรู่ ่วมกนั ของมนุษยใ์ นสังคมหนงึ่ ๆ น้ันจะมคี วามสุขไดต้ อ้ งรู้จกั ใชภ้ าษาแสดงไมตรีจติ ความ เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อกนั การทักทายกนั พูดคยุ กนั แสดงกฎเกณฑท์ างสงั คมท่ีจะปฏบิ ัตริ ว่ มกัน การ ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมแกฐ่ านะของตนในสงั คมน้ัน ๆ ทำให้สามารถธำรงสงั คมนนั้ อยู่ได้ไม่ปั่นป่วน วุ่นวายจนถึงกบั เส่อื มสลายไปในที่สดุ

๒. ภาษาแสดงความเปน็ ปจั เจกบุคคล ภาษาแสดงให้เหน็ ถงึ ลกั ษณะเฉพาะตัวของบุคคลใหเ้ หน็ ว่า บุคคลมีอุปนิสัย รสนิยม

สติปัญญาความคิดความอา่ น แตกต่างกนั ไป เชน่ คนหน่ึงอาจพดู ว่า “ฉันเหนือ่ ย เหลอื เกนิ ฉันไม่เดนิ ตอ่ ไปอกี แล้ว” อีกคนหนง่ึ อาจพดู วา่ “เหน่ือย ได้ยนิ ไหม เหนื่อยจะตายอยูแ่ ลว้ ยังจะให้เดินอีก” อกี คนหนง่ึ อาจพดู ว่า “เหนื่อยจัง หยุดพกั กนั ก่อนเถอะ” สว่ นอีกคนหนง่ึ พดู ว่า “ฉันว่า พักเหน่ือยสักประเดี๋ยว แล้วคอ่ ยไปต่อดไี หมจ๊ะ” เมื่อวิเคราะห์วิธพี ดู หรอื การใชภ้ าษาของบคุ คลเหล่านี้อาจอนุมานอปุ นสิ ัยของผ้พู ูดวา่ นา่ จะ

เป็นดังนี้ คนแรก ยึดตนเปน็ ที่ตง้ั คนทีส่ องมักชอบตำหนิผอู้ ่ืน คนทส่ี ามมีอปุ นสิ ยั ชอบชกั ชวนหรือ เสนอแนะ ส่วนคนสดุ ท้ายมีอุปนสิ ัยออ่ นโยน รับฟงั ความคิดเหน็ ของคนอืน่ เป็นต้น

๓. ภาษาช่วยพฒั นามนุษย์ มนษุ ยใ์ ช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้ความคดิ และประสบการณ์ใหแ้ กก่ นั และกนั ทำให้มนุษย์มีความรู้ กวา้ งขวางมากขน้ึ และเปน็ รากฐานในการคิดใหม่ ๆ เพือ่ ทำใหช้ ีวติ ความเปน็ อยแู่ ละสังคมมนษุ ย์ พฒั นาข้ึน

๔. ภาษาช่วยกำหนดอนาคต การใช้ภาษาสามารถกำหนดอนาคต เชน่ การวางแผน การทำสัญญา การพิพากษา การ พยากรณก์ ารทำกำหนดการต่าง ๆ ส่งิ ต่างเหล่าน้ี ทำใหเ้ ราร้วู า่ อนาคตจะเกดิ อะไรข้นึ บา้ ง กับสังคม นัน้ ๆ หรอื กระท่งั กบั โลกใบนี้ ๕. ภาษาช่วยจรรโลงใจ ภาษาช่วยใหเ้ กดิ ความช่นื บาน มนุษย์พอใจที่อยากจะไดย้ นิ เสยี งไพเราะ จงึ ไดม้ ีการน าภาษา ไปเรยี บเรยี งเป็นคำประพนั ธ์ทมี่ ีสมั ผสั อนั ไพเราะก่อให้เกิดความช่นื บานในจิตใจ และสามารถเล่น

4

ความหมายของคำในภาษาควบคู่ไปกับการเลน่ เสียงสมั ผัสได้จงึ ทำใหเ้ กิดคำคม คำผวน สำนวน ภาษิต และการแปลงคำขวญั เพือ่ ให้เกดิ สำนวนที่น่าฟัง ไพเราะ และสนุกสนานไปกบั ภาษาดว้ ย

ลกั ษณะท่ัวไปของภาษา ภาษาท่ีใช้สอ่ื สารกันมอี ยูม่ ากมายหลายภาษา การศกึ ษาลักษณะของภาษาตา่ ง ๆ ทำให้เข้าใจ

ลกั ษณะรว่ มท่ีแตล่ ะภาษามีเหมือนกัน ดังน้ี ๑. ภาษาเป็นส่วนหนง่ึ วัฒนธรรม พระยาอนมุ านราชธน (ม.ป.ป. : ๒๑) ใหน้ ิยามวา่ วัฒนธรรม คอื ปัญญา ความรสู้ ึกความคิด

และกริ ิยาอาการท่มี นุษย์สำแดงออกใหเ้ หน็ เป็นสงิ่ ตา่ ง ๆ และเป็นนสิ ัยความประพฤติในส่วนรวม ซึง่ ไม่ มีข้นึ เองตามธรรมชาติ แตม่ ขี ้ึนเพราะมนุษยส์ ร้าง หรือจากการงานของมนุษย์ และจะมวี วิ ฒั นาการเปน็ ความเจรญิ อยเู่ ร่ือยวัฒนธรรมตอ้ งการเรยี นร้แู ละถ่ายทอดจากรุน่ หน่งึ ไปสู่อีกรนุ่ หนึ่ง ภาษาเป็น วัฒนธรรม เพราะคนในสงั คมจำเปน็ ตอ้ งเรยี นร้ภู าษาจากบรรพบรุ ุษและถ่ายทอดไปสูช่ นรุ่นต่อไป

๒. ภาษาเกดิ จากการเรียนรู้ มนษุ ย์เรียนรู้ภาษาจากบคุ คลท่แี วดลอ้ ม เร่มิ ตน้ จากการฟังคนใกล้ชิดพูด จากนั้นจึงเลยี นแบบ เสียงพดู มนษุ ยฝ์ กึ พูดมาตงั้ แตว่ ยั เด็ก ค่อยๆเพ่ิมพูนคำศัพท์มากขน้ึ เพื่อทีจ่ ะสื่อสารทำความเข้าใจกบั คนในสังคมได้การเรยี นรูภ้ าษาแม่ (mother tongue) เดก็ อายปุ ระมาณ ๓-๔ เดือนจะเร่ิมออกเสียง คำศัพทง์ ่าย ๆเชน่ แม่ และพยายามเรียนรจู้ ดจำคำศัพท์อน่ื จนกระทั่งอายุประมาณ ๓ ปีจะเรมิ่ พดู ประโยคที่มโี ครงสรา้ งไม่ซับซ้อนได้ เม่ือเติบโตข้ึนจะเรยี นรูจ้ ดจำโครงสร้างประโยค วธิ ีการเรียงคำใน ประโยค เพ่มิ พนู วงศัพท์มากขึ้นทำใหส้ ามารถสรา้ งประโยคทม่ี ีความสมบรู ณ์มากขึ้น และสามารถ สื่อสารไดใ้ นชีวิตประจำวนั

๓. ภาษาแตล่ ะภาษามโี ครงสรา้ งทแ่ี ตกตา่ งกัน ภาษาทกุ ภาษาย่อมตอ้ งมีโครงสรา้ ง ท านองเดยี วกับอาคารบา้ นเรือนทม่ี ีโครงสรา้ ง โครงสร้างของ อาคารประกอบด้วย ฐานราก เสา คาน ฝาผนงั หลังคา และสว่ นย่อยอน่ื ๆ เช่น เหล็ก ปูน อฐิ ทราย เปน็ ต้นภาษาก็ประกอบดว้ ยโครงสร้างต่าง ๆ โครงสร้างทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษามีความแตกตา่ ง กัน

๔. ภาษาเปน็ สมบัติของสังคม มนุษย์คือ ผู้สร้างภาษา เพื่อเป็นระบบสัญลักษณ์ในการถ่ายทอดความรู้สึกนึกคดิ และข้อมูลข่าวสาร ตา่ งๆ อาจกลา่ วไดว้ า่ ภาษาเป็นสมบัตขิ องสังคมมนษุ ย์ เพราะมนุษย์ในแต่ละสงั คมเปน็ ผู้กำหนดภาษา ขึน้ ตกลงรว่ มกนั วา่ จะใชค้ ำใดในการสอื่ ความหมาย เชน่ การที่คนไทยกำหนดคำทกั ทายว่า สวัสดี แต่ คนพมา่ ใช้คำทักทายว่า มงิ กาลาบา เป็นตน้

5

๕. ภาษามีการเปล่ียนแปลง

ภาษาที่เราใช้ส่ือสารกันในชีวิตประจำวันนั้นมีการเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา การ

เปลี่ยนแปลงเสยี งของคำ นับเป็นการเพิ่มจำนวนคำในภาษาไทยใหม้ ากขน้ึ ซึ่งวิธกี ารเปลี่ยนแปลงเสียง

ของคำในภาษาไทย มีดังน้ี

๕.๑ การกรอ่ นเสียง คอื เสยี งพยางคต์ ้นหายไปเหลือเพียงบางสว่ นโดยพยางค์ต้นเหลอื เปน็

สระ อะ เช่น หมากขาม เป็น มะขาม ตน้ ไคร้ เป็น ตะไคร้ ตัวขาบ เปน็ ตะขาบ

๕.๒ การแทรกเสียง คอื การเตมิ เสียงเข้ากลางคำแลว้ เสียงเกดิ คอนกันจึงเติมข้างหน้าอกี

เพือ่ ใหถ้ ว่ งดลุ กนั เช่น ลูกดุม เปน็ ลูกกระดุม ดุกดิก เปน็ กระดกุ กระดิก

๕.๓ การเตมิ พยางค์ คือ การเติมเสยี งเข้าหน้าคำและหลงั คำของคำหนา้ เพื่อใหเ้ กดิ ดลุ เสียง

กัน เชน่ มิดเม้ียน เป็น กระมิดกระเมีย้ น แอมไอ เป็น กระแอมกระไอ

6

บทที่ 2

ลักษณะของภาษาไทย

ภาษาไทยเปน็ ภาษาคำโดด หมายความวา่ การพดู การใช้ภาษาไทยจะมี คำ เปน็ หนว่ ยภาษาท่ี แทนความหมาย เมอื่ ต้องการจะสอ่ื ความหมายใดก็นำคำที่มคี วามหมายนนั้ มาเรียงต่อกันเพ่ือแทน ความคิดหรือเรื่องราวที่ตอ้ งการส่อื ออกไป โดยคำนัน้ ๆ ไมต่ ้องเปล่ยี นแปลงรปู หรอื ผันแปรเพ่ือให้ สอดคลอ้ งกบั คำอ่ืนในลกั ษณะของความสมั พันธท์ างไวยากรณ์ ในภาษาไทยคำมีความสัมพนั ธก์ ันดว้ ย ตำแหน่งและความหมาย เช่นเป็นผกู้ ระทำ เปน็ ผู้รับการกระทำ เปน็ อาการท่ีกระทำ เปน็ ต้น ตำแหนง่ และความหมายของคำสัมพันธ์กับหน้าท่ีของคำนนั้ ดว้ ย ภาษาไทยมลี ักษณะเฉพาะของตนเอง แตกตา่ ง จากภาษาอืน่ ดังนี้

ลักษณะของคำในภาษาไทย ๑.คำภาษาไทยแต่เดมิ เปน็ คำพยางค์เดยี ว ภาษาไทยเดิมเปน็ ภาษาท่ีมโี ครงสร้างคำพยางค์ เดียวสามารถนำคำไปใชใ้ นประโยคได้ทันที แต่ในปัจจบุ ันภาษาไทย ไดร้ ับอิทธพิ ลภาษาต่างประเทศ ทำให้คำในภาษาไทยมคี ำหลายพยางค์มากข้นึ คำพยางค์เดียวทเ่ี ป็นภาษาไทยแท้ ดงั นี้ ๑.๑ คำเรียกส่วนต่างๆของร่างกาย เชน่ หน้า หวั หู ๑.๒ คำบอกอาการโดยท่ัวไป เชน่ ไป มา นง่ั ๑.๓ คำเรียกเครอื ญาติ เชน่ พ่อ แม่ พี่ ๑.๔ คำสรรพนาม เชน่ เขา แก เอ็ง ๑.๕ คำเรียกช่อื สิ่งของ เช่น ถว้ ย ชาม ไห ๑.๖ คำบอกจำนวน เช่น หน่ึง สอง สาม ๑.๗ คำเรียกช่ือเครื่องมือเครื่องใช้ เชน่ จอบ เสยี ม แพ เบด็ ๑.๘ คำเรยี กชอ่ื ธรรมชาติหรอื ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ เชน่ ดิน น้ำ ลม ๑.๙ คำทเี่ ป็นลกั ษณนามแต่เดิม เช่น กอง กอ้ น อนั ๑.๑๐ คำขยายที่ใช้แตเ่ ดิม เชน่ อว้ น ผอม สูง ๑.๑๑ คำเรียกสตี า่ ง ๆ เชน่ แดง ขาว ฟ้า

๒.ภาษาไทยจะมีตัวสะกดตรงตามมาตรา มาตราตัวสะกดมี ๘ มาตรา คำไทยแทจ้ ะมี ตวั สะกดตรงตามมาตรา ดังน้ี

แม่ กก ใช้ ก สะกด เชน่ นก แม่ กด ใช้ ด สะกด เช่น วัด แม่ กบ ใช้ บ สะกด เชน่ ราบ แม่ กง ใช้ ง สะกด เช่น ถงุ แม่ กน ใช้ น สะกด เชน่ หมอน แม่ กม ใช้ ม สะกด เชน่ กลม

7

แม่ เกย ใช้ ย สะกด เช่น สาย แม่ เกอว ใช้ ว สะกด เช่น แล้ว

๓. ภาษาไทยมีคำลักษณนาม คำลักษณนามเป็นคำท่ีบอกลักษณะของนามขา้ งหนา้ ลกั ษณ นามจะใช้ตามหลงั คำวิเศษณ์บอกจำนวน (ประมาณวิเศษณ์) เช่น

คอมพวิ เตอร์ ๒ เครื่อง น้ำ ๑ แกว้

๔.คำภาษาไทยคำเดยี วมหี ลายความหมาย และมหี ลายหน้าที่ ภาษาเปน็ ภาษาคำโดด คำ แต่ละคำสามารถนำไปใชไ้ ด้อยา่ งอสิ ระ ไมม่ ีการเปล่ียนแปลงรูปค าเพื่อบอกหนา้ ท่ขี องคำ คำจะมี หนา้ ท่ีและความหมายเปลย่ี นแปลงไปตามตำแหน่งท่ปี รากฏในประโยค ตัวอยา่ ง คำว่า “ฉัน” ใน ประโยคตอ่ ไปนี้

ประโยค ๑ : ฉันและเพอ่ื นกำลังไปมหาวทิ ยาลยั (ประธาน) ประโยค ๒ : พระภิกษกุ ำลังฉนั ภัตตาหารเพล (กริยา)

๕.ภาษาไทยเป็นภาษาเรียงคำ การเรียงคำเข้าประโยคในภาษาไทยเป็นเรื่องสำคัญมาก ความหมายของคำจะเปล่ียนไป เมื่อตำแหน่งที่คำนนั้ ปรากฏในประโยคเปลีย่ นไป ตวั อย่าง

ประโยค ๑ : เธอรักเขา (เธอเปน็ ประธาน เขาเปน็ กรรม) ประโยค ๒ : เขารักเธอ (เขาเปน็ ประธาน เธอเป็นกรรม)

๖.คำขยายจะวางไว้หลงั คำทีถ่ กู ขยาย การวางคำขยายในภาษาไทยจะวางไว้หลงั คำท่ถี กู ขยาย คำขยายจะชว่ ยให้รายละเอียดท่ีชดั เจนมากขึน้ เชน่

อากาศหนาว (คำขยาย หนาว ขยายคำว่า อากาศ)

๗.ภาษาไทยมีระบบเสยี งพยญั ชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ เสยี งพยัญชนะ หรือเสยี งแปร คือ เสียงท่ีเปลง่ ออกมาจากลำคอ แล้วกระทบกับอวยั วะส่วนใด สว่ นหนึง่ ในปาก เช่น คอ ป่มุ เหงอื ก ฟัน รมิ ฝีปาก ซึ่งทำใหเ้ กดิ เป็นเสยี งต่าง ๆ กนั โดยพยญั ชนะไทยมี ๔๔ รปู ๒๑ เสยี ง ระบบเสียง คอื เสยี งท่ีกำหนดไว้เปน็ ระเบยี บตลอดจนมวี ิธีการออกเสียงที่ลงรอยเป็นแบบ เดยี วกนั ระบบเสยี งของภาษาไทยมเี สยี งพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ เสียงสระ หรอื เสยี งแทค้ ือ เสียงทเ่ี ปลง่ ออกมาจากลำคอโดยตรง ไม่ถูกสกัดกั้นด้วยอวัยวะ สว่ นใดในปาก แลว้ เกิดเสียงกอ้ งกังวาน และออกเสียงไดย้ าวนาน ซึง่ เสยี งสระในภาษาไทยแบง่ ออกเปน็ สระเด่ยี ว สระเสยี งส้ัน (รัสสระ) ได้แก่ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ เออะ โอะ เอาะ สระเสยี งสระยาว (ทฆี สระ) ไดแ้ ก่ อา อี อื อู เอ แอ เออ โอ ออ สระประสม มี ๖ เสยี ง ดังนี้ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อวั

8

เสียงวรรณยุกต์ หรือเสยี งดนตรี เสียงวรรณยุกต์ทใี่ ช้ในภาษาไทยมี ๕ เสียง ดงั ตอ่ ไปนี้

๑. เสียงสามัญ (ไมม่ ีรูป) เช่น กา ๒. เสยี งเอก เชน่ จา่ ๓. เสยี งโท เช่น ตู้ ๔. เสยี งตรี เช่น จะ๊ ๕. เสยี งจัตวา เช่น ปา๋ การเปล่ยี นแปลงระดับเสยี งของคำเป็นวธิ ีเพ่มิ คำให้มากขน้ึ ทำให้ภาษาขยายตัว เพราะเม่อื คำ เปลีย่ นระดับเสยี งหรือที่เรยี กว่า เสียงวรรณยุกตก์ ็จะทำให้คำนน้ั มคี วามหมายต่างกนั ออกไป เช่น ขา (เสียงจัตวา) ความหมาย อวยั วะต้ังแต่ตะโพกถึงขอ้ เทา้ สำหรับยนั กายและเดนิ เป็นตน้ ขา่ (เสยี งเอก) ความหมาย ชื่อไมล้ ม้ ลุกชนดิ หนึ่ง มีเหง้า ลำตน้ เป็นกอ สูง ดอกสีขาว ออกเป็นชอ่ ท่ียอด เหงา้ มกี ลิ่นฉนุ ใช้ปรงุ อาหารและทำยาได้ ข้า (เสียงโท) ความหมาย ประชาชน, ราษฎร, เชน่ ไพรฟ่ ้าข้าแผน่ ดนิ

๘.ภาษาไทยมีการสรา้ งคำใหม่ การสรา้ งคำในภาษาไทยถือเป็นวิธีการเพ่ิมจำนวนคำใน ภาษาไทยให้มีความหลากหลาย ซง่ึ ภาษาไทยมวี ิธกี ารสร้างคำ ดงั นี้ ประสมคำ ซอ้ นคำ หรอื ซ้ำคำ

คำมูล ชัยวฒั น์ สีแก้ว (๒๕๓๗: ๑๑) ได้กล่าวถงึ ความหมายของคำมูลไวว้ ่า คำมลู หมายถึง คำด้งั เดิม ในภาษาคำมูลอาจเปน็ คำไทยแท้ หรือเปน็ คำท่ีมาจากภาษาอนื่ และอาจมีพยางคเ์ ดียวหรอื หลาย พยางค์ เชน่ ว่งิ นำ้ นาฬกิ า โดยคำมูลหลายพยางค์น้ัน เมอื่ แยกออกเปน็ แตล่ ะพยางค์จะไมม่ ี ความหมาย เชน่ มะมว่ ง

คำประสม พระยาอุปกิตศลิ ปสาร (๒๕๔๕: ๖๐-๖๒) ไดก้ ลา่ วถงึ ลักษณะของคำประสม ดงั น้ี ๑. คำประสมท่ีเอาคำมูลมีเนื้อความต่างๆประสมกันเข้า มีใจความเป็นอกี อย่างหนงึ่ เชน่ หาง เสือ (ที่ บังคบั ทศิ ทางเรือ) ๒. คำทย่ี อ่ มาจากใจความมาก คำพวกนี้มลี ักษณะคล้ายกบั ท่เี รียกว่า “คำสมาส” ในภาษาบาลี คำประสมพวกนมี้ ีคำต่อไปนป้ี ระกอบอยู่ข้างหน้า คือ ชา่ ง ชาว นกั เครอื่ ง หมอ เชน่ ชา่ งไฟฟา้ ชาวสวน เครื่องครวั นกั ศึกษา หมอดู

คำประสมในภาษาไทย ๑. เกิดจากคำไทยประสมกับค าไทย เชน่ ไฟ + ฟา้ = ไฟฟ้า

9

๒. เกดิ จากคำไทยประสมกบั คำตา่ งประเทศ เช่น พวง (ไทย ) + หรดี ( องั กฤษ – wreath ) = พวงหรดี

๓. เกดิ จากคำตา่ งประเทศประสมกับคำต่างประเทศ เช่น รถ ( บาลี ) + เก๋ง ( จนี ) = รถเกง๋

คำซ้อน วิเชียร เกษประทุม (๒๕๕๘: ๕๘-๖๑) ไดอ้ ธบิ ายลักษณะคำซ้อนไวว้ ่า คำซ้อน คือ การนำคำท่ี มคี วามหมายเหมือนกนั คลา้ ยกัน ตรงขา้ มกัน มาซ้อนเขา้ คู่กนั เพ่ือใหค้ วามหมายชัดเจนยิ่งขึน้ คำซ้อน สามารถจำแนกจุดประสงค์ของการซ้อนคำได้เป็น ๒ ลกั ษณะ ดังนี้ ๑. คำซ้อนเพ่ือความหมาย เปน็ การนำคำทมี่ ีความหมายสมบูรณม์ าซอ้ นกันตงั้ แต่ ๒ คำ ข้นึ ไป ไดแ้ ก่ ๑.๑ คำซ้อนทเ่ี กิดจากคำที่มคี วามหมายเหมือนกัน เชน่ บ้าน + เรือน บา้ นเรอื น ๑.๒ คำซ้อนท่ีเกิดจากคำท่ีมีความหมายคลา้ ยกัน เชน่ วัว + ควาย ววั ควาย ๑.๓ คำทมี่ ีความหมายตรงขา้ มกัน เชน่ ถูก + ผิด ถูกผดิ

๒. คำซ้อนเพ่ือเสียง เปน็ การนำคำทีม่ เี สยี งพยัญชนะต้นเสยี งเดยี วกันมาซอ้ นกัน คำท่นี ำมา ซอ้ นนั้นอาจมีความหมายทัง้ สองคำ มีความหมายเพยี งคำเดียว หรือไม่มีความหมายทั้งสองคำก็ได้ เช่น นุ่มนิ่ม โดง่ ดัง ซบุ ซบิ

ข้อสังเกตเกยี่ วกบั คำซอ้ น มขี ้อสงั เกตที่สำคัญดงั น้ี คำทีน่ ำมาซ้อนอาจมีจำนวน ๒ คำ ๔ คำ หรอื ๖ คำ คำซ้อนเรยี กอีกอยา่ งหน่ึงวา่ คำคู่ เช่น

คำซอ้ น ๒ คำ ขา้ ทาส ศลี ธรรม งอแง คำซอ้ น ๔ คำ กหู้ นีย้ มื สิน ชว่ั ดถี ีห่ ่าง ที่นอนหมอนมุ้ง คำซอ้ น ๖ คำ อดตาหลบั ขับตานอน นอนกลางดนิ กนิ กลางทราย

10

ลกั ษณะความหมายของคำซำ้ มดี งั น้ี ๑. คำซำ้ ทบ่ี อกพหูพจนม์ ักเป็นคำนามและสรรพนาม เช่นเดก็ ๆ กำลังร้องเพลง, พี่ๆ ไป โรงเรยี น ๒. คำซำ้ ทบี่ อกแยกจำนวน มักเป็นคำลกั ษณะนาม เช่นลา้ งชามใหส้ ะอาดเปน็ ใบ ๆ, อ่าน หนังสอื เป็นเร่ือง ๆ ๓. คำซ้ำทีเ่ น้นความหมายของคำเดิม มักเป็นคำวิเศษณ์ เชน่ พูดดัง ๆ, น่งั น่ิง ๆ ๔. คำซำ้ ที่บอกความหมายโดยประมาณท้งั ทเี่ กี่ยวกบั เวลาและสถานทด่ี ังน้ี ๔.๑ บอกเวลาโดยประมาณ เช่น เราเรียนภาษาไทยตอนสาย ๆ ๔.๒ บอกสถานทีโ่ ดยประมาณ เชน่ แถวๆนวนครมีร้านกาแฟ ๕. คำซ้ำทเี่ ป็นสำนวน เช่น งูๆ ปลา ๆ

11

สรุป

จากทกี่ ลา่ วมาแลว้ ข้างต้นจะเหน็ วา่ ภาษาไทยมีลักษณะเฉพาะทน่ี ักศึกษาควรเรียนรู้ เพอ่ื ให้ เกดิ ความเข้าใจลกั ษณะของภาษาไทยอย่างถ่องแท้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาทักษะการฟงั การพดู การอ่านและการเขยี นใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขนึ้ อกี ทงั้ ควรตระหนกั ถึงความสำคัญของ ภาษาไทยในฐานะภาษาประจำชาติและเปน็ เครื่องมือในการสือ่ สารอย่างมีประสทิ ธิภาพ อีกท้ังการมี ความรูค้ วามเข้าใจลักษณะและความสำคัญของภาษาไทยจะเปน็ พืน้ ฐานของการใช้ภาษาไทยอย่างมี วิจารณญาณเพื่อการสือ่ สารในชีวิตประจำวัน

12

บรรณานุกรม

ลักษณะของภาษาไทย.[ออนไลน์].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/thailandlearning/page2-1. (วันท่ีค้นขอ้ มูล : 21 มกราคม 2565). ลักษณะและความสำคัญของภาษาไทย.(2563).[ออนไลน์].เข้าถงึ ได้จาก : http://ge.vru.ac.th/gevru/wp-content/uploads.(วันทคี่ น้ ข้อมูล : 22 มกราคม 2565). ความเป็นมาของภาษาไทย.(2560).[ออนไลน์].เขา้ ถึงได้จาก : https://www.dol.go.th/secretary/Pages.(วันท่คี ้นข้อมูล : 22 มกราคม 2565). ลักษณะของภาษาไทย.[ออนไลน]์ .เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/thanaponwachtja/home/gotvsza.(วันทค่ี น้ ขอ้ มูล : 23 มกราคม 2565).