การเข ยนประว ต ผ วายชน ม เคร องราช

` อารยธรรมจีน 3-23

   ดา้ นปรชั ญา สมยั นม้ี นี กั ปราชญแ์ ละกวที มี่ ชี อื่ เสยี ง คอื สมุ าเจยี๋ น (Sima Qian) เขาไดแ้ ตง่ หนงั สอื  
ประวัติศาสตร์ชดุ หน่งึ ชอื่ สื่อจ้ี (Shi Ji) เปน็ หนงั สือทีร่ วบรวมประวตั ศิ าสตรจ์ ีนตงั้ แต่ระยะเริ่มแรกจนถงึ สมัยที่เขายังมีชีวิตอยู่โดยรวบรวมชีวประวัติบุคคลส�ำคัญ และประวัติของเจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ ในสมัย ราชวงศโ์ จว หนงั สอื เลม่ นไ้ี ดร้ บั การยอมรบั ใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งของการจดบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตรใ์ นสมยั ราชวงศ์ หลังๆ ด้วย ทำ� ให้นกั ประวัติศาสตร์บางท่านยกให้เขาเป็น “เฮโรโดตสั ของจนี ”22
    ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ สมยั ราชวงศน์ มี้ ผี ทู้ ม่ี คี วามสามารถคน้ พบจดุ ดบั บนดวงอาทติ ย์ มกี ารประดษิ ฐ์  
เครือ่ งวดั แผ่นดินไหว รู้จักใช้ก�ำลังน้�ำปัน่ เคร่ืองโม่ รู้จักการหลอมเหล็ก23 มกี ารปรบั ปรงุ ปฏิทินจันทรคติ คาํ นวณหาอตั ราสว่ นเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางกบั เส้นรอบวง ทง้ั ยงั มกี ารพฒั นาดา้ นการแพทยด์ ว้ ย
   ด้านศิลปะ สมยั ราชวงศฮ์ ่ันมีความเจริญด้านการกอ่ สร้าง การแกะสลักหิน การท�ำเคร่อื งภาชนะ  
เคลอื บลงยา การวาดภาพ และการประดิษฐ์ รปู แบบตา่ งๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้

  • การกอ่ สรา้ ง สง่ิ กอ่ สรา้ งทยี่ งั คงหลงเหลอื ใหเ้ หน็ ถงึ อารยธรรมความเจรญิ ในสมยั ราชวงศฮ์ นั่ คือ สถานท่ีฝังศพที่ก่อสร้างอย่างแข็งแรงด้วยอิฐและหิน มีประตูรั้ว มีหอสูง และมีบ้านเล็กๆ สร้างแบบ 2 ชั้น ประกอบด้วยเครื่องเรือนและเครื่องใช้ต่างๆ ซึ่งมีความแตกต่างจากพระราชวังที่สร้างด้วยไม้ท�ำให้ ไมห่ ลงเหลอื หลกั ฐานให้ท�ำการศึกษา
  • ด้านการแกะสลักหิน นิยมแกะสลักหินเป็นรูปต่างๆ ไว้ตามสถานที่ต่างๆ เช่น รูปม้า ประดบั ไวท้ หี่ นา้ หลมุ ฝงั ศพ ฯลฯ ในดา้ นการแกะสลกั นนั้ สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ อทิ ธพิ ลทไ่ี ดร้ บั มาจากเอเชยี ตะวนั ตก
  • การท�ำเคร่ืองภาชนะเคลือบ มีการท�ำเครื่องเคลือบสีเทาอ่อน ผิวเหลือบเขียวเป็นมัน วาวข้ึน ซึง่ เป็นตน้ แบบของการทำ� เคร่ืองเคลือบในสมยั ต่อมา
  • การวาดรูป เดมิ ชาวจนี นยิ มวาดภาพลงบนผา้ ไหม แต่ในสมัยนี้ได้มีการปรบั ปรงุ เทคนคิ การผลติ กระดาษขนึ้ ท�ำใหห้ นั มาวาดภาพลงบนกระดาษแทน
  • การประดิษฐ์ มคี วามเจริญมาตง้ั แต่สมัยราชวงศซ์ างและราชวงศ์โจว แต่ในสมัยราชวงศ์ ฮนั่ ไดร้ บั การพฒั นาใหม้ คี วามละเอยี ดเพม่ิ มากขนึ้ เนอ่ื งจากมกี ารคน้ พบเครอื่ งโลหะอยหู่ ลายชนดิ เชน่ ดาบ มดี ฯลฯ เครอ่ื งโลหะบางอยา่ งมกี ารลงยาดว้ ยเงนิ ทองหรอื ฝงั หยก งานประดษิ ฐท์ นี่ า่ สนใจอกี ประเภท คอื การประดษิ ฐแ์ ผน่ โลหะทที่ ำ� เปน็ รปู กระจกและประดบั ดว้ ยสญั ลกั ษณข์ องธรรมชาตทิ ง้ั 5 คอื น�้ำ (สดี ำ� ) ไฟ (สีแดง) เหลก็ (สขี าว) ไม้ (สีเขยี ว) และดนิ (สีเหลอื ง) ซึ่งเปน็ ศิลปะทแี่ ฝงอทิ ธิพลของลัทธิเตา๋ เอาไว้ ใน สมัยนี้ยังมกี ารผลติ กระดาษจากเปลือกไม้ขึ้นใชด้ ้วย
       ปลายสมยั ราชวงศฮ์ น่ั จกั รพรรดเิ รม่ิ ออ่ นแอ ทำ� ใหต้ กอยภู่ ายใตอ้ ำ� นาจของพวกขนุ นาง ขา้ ราชการ  
    
    ในชนบทต่างพากันสะสมอ�ำนาจ ท�ำให้ชาวนาได้รับความเดือดร้อนและประสบกับความทุกข์ยาก มีการ กบฏอยทู่ ว่ั ไปในหลายทอ้ งท่ี กบฏทเ่ี ปน็ ทร่ี จู้ กั อยา่ งดที เี่ กดิ ขนึ้ ในชว่ งเวลานนั้ คอื “พวกโจรโพกผา้ เหลอื ง” (Yellow Turbans) ซงึ่ เปน็ กลมุ่ ทน่ี บั ถอื ลทั ธเิ ตา๋ คนกลมุ่ นไ้ี ดก้ อ่ ความวนุ่ วายอยา่ งหนกั เมอื่ สน้ิ ราชวงศฮ์ นั่ สถานการณ์บ้านเมืองก็ยังไม่สงบสุข เกิดการรบพุ่งชิงอ�ำนาจท่ัวไป แผ่นดินจีนในระยะน้ีแบ่งออกเป็น 3 ภูมภิ าค ท�ำให้นักประวตั ิศาสตรเ์ รียกประวัตศิ าสตร์จนี ในยคุ นวี้ า่ สามกก๊
         22 เร่อื งเดยี วกัน. น. 70.    
         23 เรื่องเดยี วกนั . น. 72.
    
    `

ของ ขุนเทพกระวี เมืองสุโขทัย

ดุษฎีสังเวย

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๑๏ อัญขยมบังคมภูวสวะ มนตรชากรุงชนะ นิตยเทวดาผอง ฯ

อินทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑

๒๏ มนตรพระ ด อาจโปรด ชนะเคราะหบังคอง เนาบาปเนาะผอง ด ศรีรแสงสะ ฯ

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๓๏ มนตรชากรุงภูตประธานเดชะ อาจเถวอดบะชนะ นิตยโลกยสบนา ฯ

อินทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑

๔๏ มานกาลวิงแปร รูปกุมารมายา รูโป ต คณา โสดกุมบิเดิรพระลบ๕๏ อาจเดิรดำเนิรนัก กุมบิเดิรบิเจริญจบ อาจเถวอบินักสยบ กุมบิยอกจรลิงฮอง๖๏ ศรกเบิญ ด จราสกึม ด ทึกวิทึกผอง มหาโพยมกันลอง ด ศรีรไถงถา๗๏ รุงโดมประไพโฉม นุบพิตรเจียรถมา พระไพรรุจีวา นิพรรณรายบิลังลอง๘๏ พระไพร ด มานโฉม นุบพิตรแลงผอง มนตรอัญสดุดียฮอง กระยานุถกลทาบ๙๏ พระไพรโกรมเลอ บินุบึงนุบางชวาบ จังหูรพรรณรายชราบ นุบพิตรมอกฮอง ฯ

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๑๐๏ พระกรรม ด นำพลผอง เตรจไพรสรดอง บิเราะหกันลองสบนา๑๑๏ แนะมินนุมางษ์บายสุรา นักสกลสบนา บูชาตนูพระไพร๑๒๏ เทียนธูปบุษปนุลาชสบไถง บูชาพระไพร แลไกรแลงพระผอง๑๓๏ เฌอฉมันเฌอธนมดูชรลอง ขยลบกบิมวยดอง บิเราะหสำเนียงดนตรี ฯ

อินทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑

๑๔๏ พระพนม ด ธมโดม นุบพิตรสอขจี สดับศัพทปักษี บิบำเรอหสบไถง๑๕๏ เผลียงอุรบำนักขยล ตรนลศับททรไน ภูรโดกเรไร ไชยนุชกาเชวง๑๖๏ เผลียงลักษนินาทสดับ ศับทสำเนียงบิเราะหเสนง นักผลุมบิฦๅเลวง บิ ด เสพยพระไพร๑๗๏ เราะหพิณเราะหพาทย์ เราะหพิศนุเสนงไชย เราะหเสนงสครได บิบำเรอหนุดัสผธม ฯ

ฉบัง กาพย์ ๑๖

๑๘๏ เฌอไพรผองดูสรงม เฌอฉมันเฌอธนม ดูรไดดุเรียงเรียง๑๙๏ เขดาไถงสดับศับทสำเนียง พระแลงผองเสียง บิยมเสนาะกันเจรียว๒๐๏ อุกมุมปักษีพรรณเขียว แสรกเสียงกรุยเกรียว เหิรถกาศ ด ทรนม๒๑๏ พฤกษเถลิงสดับศับทผองยม กุกุรทรนม ด พหูรโอกโฮก๒๒๏ เขดาไถงสดับศับทกุโงก มฤคผองรัด ด โจรก บิเจรียวจรงสบนา๒๓๏ ลงาดไถงฮองสดับศับททธา ธมยมสบนา บิลำโอกเถลิงฮอง

อินทรวิเชียร ฉันท์ ๑๑

๒๔๏ พระไพรประไพโฉม นุบพิตรแลงผอง มนตรอัญสดุดีฮอง บิมอกถวายแด่พระไพร๒๕๏ แลงรักษพระภู ธรนารถเจียรไกร อวยสวัสดิอวยไชย สุขทีรฆชีวา ฯ

จบดุษฎีอวยสังเวย ฯ

สดุดีขอช้าง

วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔

๒๖๏ อัญขยมบังคมประณตประนม พรหมวิษณุธาดา พระกรรมเทว ด มหา สิทธิศักดิพินาย๒๗๏ เทวีอุมาภควดี ดูประเสริฐโพรงพราย มานรัศมิดาษทิศฉาย นุประโพธิสบสถาน๒๘๏ อัษเฎาพสูรทวาสวัสดิ วิเนาทัศโลกบาล พิฆเนศวรขันธยกุมาร คือดนูเทวดา๒๙๏ คือพระฤๅษีสิทธิ ด ทรง พรตกรรมศาสตรา กรุงโกรมอุภัทธบุรณา นุอุเทนทรมนตรผคอง๓๐๏ สบสถานทุราคมประพาส นุพนัสบดีผอง เทเพนทรพฤกษนุกันดอง นิตยเดิรยยงยง๓๑๏ คนธรรพกินนรแลทา นพโขมดจุเนาคง ไพรพนมพนานุดรทรง วนพฤกษราชี๓๒๏ อากาศเทวนุบดล พนศับทดนตรี อวยสรรพเพียญชนพิทธี กรมเสร็จกำนลถวาย๓๓๏ เทียนธูปคันธวรบุษ ปนุลาชเปรมปราย มอกถวายบังคมรัศมิ ด ฉาย จิตรโอนศิโรจร๓๔๏ สรวมสิทธิสรวมบวรศัก ดิประเสริฐสรวมพร สรวมคชกุญชรบวร ประเสริฐลักษณะมี๓๕๏ สรวมเศวตคชศุภลัก ษณประเสริฐรูจี สรวมอัฐคชกิริณี ด คือลักษณไอยรา๓๖๏ สรวมบุณฑฤกกมุทโรจ บวรวรรณโสภา สรวมลักษณอัญชนมหา บุษปทันตโพรงพราย๓๗๏ สรวมสารวโภมสุประดิษ ฐกรินทรโฉมฉาย สรวมสังขทันตบิพรรณราย นุมหาคชาธาร๓๘๏ สรวมสีหชงฆสอลออ จิตรมาดรเสี่ยมสาร สรวมลักษณโคบุตรบันดาล แลบันโดยนุอิจฉา๓๙๏ สรวมเอกทันตนุจำเริญ จำเหียงสดำนุเจียรถมา เนียมมาลยยรรยงรูปธรา ยุลำเพ็ญลำเพาขนาย๔๐๏ สรวมสรรพเทวนุจงอวย พรนุอำนาจถวาย สดุดีบังคมบดิรำพาย นิตยภักดิสบวาร๔๑๏ สรวมทักดำเรียวรเชิงโกรย เฉวียง ด คงพนานต์ เสร็จพฤทธิบาศนุประธาน นิตยอวยอำนลถวาย๔๒๏ สรวมสิทธิสรวมพรยรรยง นุพิจิตรฦๅสาย เดโชอำนาจนมะศิวาย อภิวันทฉมวยฉมำ ฯ

จบสดุดีขอช้าง ฯ

สดุดีสิทธิดาบส

วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔

๔๓๏ จึ่งสิทธิดาบสฤๅษี กฤตยกิตยการสกล โดยศาสตรเสร็จจรในพน ประเทศศีขร๔๔๏ ฝูงสาธุสัชชนทังหลาย พฤทธิผู้กระวีวร เปรมปราชญปรีดิมนอร สรรเสริญนมัสการ๔๕๏ กาลนั้นในมาสฤดู แลเจตรเสร็จพรุณสานต์ แห้งเหือดนทีชล บ มาน จะภิเษกจะโสรจสรง๔๖๏ จึ่งเทพสฤษดิพรุณรา ชบังเกิดในไพรพง อยู่จอมคิรีอธิกจง จิตให้ ธ สรงสนาน๔๗๏ จึ่งสิทธิดาบสพิสุทธิ หัตถบาทปรักสาร เฉพาะกิตยอาจมนปราณ จมณำแลสนธยา๔๘๏ ยัชโญประวีตมาประดิษ ฐในหัตถซ้ายขวา สวดมนตรเชิญวรมหา สมเด็จไททังเก้าตน๔๙๏ เนาในสังวาลนพสูตร เสร็จแสดงดังใจดล มล้างบาปบาปเกลศกมล พิโรธเบาบาง๕๐๏ ยอกภัสมธารทรงศิพมน ตรเบญจพรหมางค์ศิวาง- คชปนพิทธยาง คสำเร็จก็เจิมจูรณ๕๑๏ ทำโดยพิทธีการสนาน อภิเษกบริบูรณ ยอกหัตถสมพรมามูล จะพิสูทธิอาตมา๕๒๏ เถพอการกฤตยกรโส ภณเสร็จทำโบรา- ณายามสวาทไตรคตา นุประนบพระโองการ๕๓๏ นำสวาทโดยบุรพโอษฐ ดำเนินศิวัทธนาวาร เนาในหฤทัยกมลสาน ตินิโรธศูนยา๕๔๏ ครั้นเสร็จก็โปรยวิไลยมาศ ด สูกษมสูกษมา อากาศศุนยบรมทวา ทศองคุลีไลย๕๕๏ แล้วจึ่งจะตั้งกมลจิต ประดิษฐกำลุงใน หุงการชาอัคนิประไพ ก็เผาอาตมนิสสกนธ์๕๖๏ แลดึกกษิรามฤตยอำ พิสุริยจันทรมณฑล ศิตจุตอาคมพระมนตร สฤษดิด้วยพระโองการ๕๗๏ จึ่งสรรคสฤษดิศริรังคา พยพนั้นในกันดาล เกิดพักตรเบญจทฤษฎิ์สาน ติสำเร็จสำหรับองค์๕๘๏ เสร็จสรรคอาคมบรี สุทธิแล้วก็ธารทรง มนทีรสุริย ด ยรรยง ดกจันทร์เสด็จเนา๕๙๏ เถพอพาหะสงเคราะหสกน ทแลพรรธนีเศา จบบาศยาตรคมนิเคา รพิสุทธเบญจางค์๖๐๏ แล้วอรรจนอิศวรดำกล ประฏิสนธิในปรางค์ อุบัดิในศิขรกลาง ศิริรัตนมณเฑียร๖๑๏ พิสุทธิอุดมภิเษก สัมฤทธิจึ่งเวียน แว่นทองประทักษิณแลเทียน บริวัตรนาถา๖๒๏ ถวายภักษโภชนแลเพียญ ชนะบุษปฉมสลา เจิมจันทนเลปนสุธา ทิพยคนธอบองค์๖๓๏ เสร็จอรรจนอิศวรบพิตร กฤษดาญชุลีลง เบญจางคประดิษฐศรดบง กชบาทบาทา๖๔๏ ธรรมวัดประณามศิวบาท ก็ถวายบังคมลา สรวมสิทธิสรวมชยมหา สุขสวัสดิสมบูรณ์ ฯ