การอน ร กษ และทะน บำร งว ฒนธรรมและภ ม ป ญญาไทย

การอน ร กษ และทะน บำร งว ฒนธรรมและภ ม ป ญญาไทย

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

สังคมศึกษา ม.3 เทอม 2

สังคมศึกษา ม.3 เทอม 2

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

การอน ร กษ และทะน บำร งว ฒนธรรมและภ ม ป ญญาไทย

E-Book Buffet : ห้องสมุดประชาชน อ.ท่าบ่อ Download

  • Publications :0
  • Followers :0

วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา

วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

วัฒนธรรม วิถีชีวิตและภูมิปัญญา

วัฒนธรรม (Culture) หมายถึง ความดี ความงาม ความเจริญในชีวิตมนุษย์ ซึ่งปรากฏเป็นรูปต่างๆ เช่น ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวิทยาการ ความเชื่อ การศาสนา เป็นต้น และได้ถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังรุ่นหลังๆต่อไปจนถึงปัจจุบัน วัฒนธรรมเป็น วิถีชีวิตของบุคคลในสังคมที่ได้สั่งสม เลือกสรร ปรับปรุง แก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และรักษาไว้ให้เจริญงอกงาม ใช้เป็นแนวทางการอยู่ร่วมกันของสังคม วัฒนธรรมมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง สร้างสรรค์ให้เจริญงอกงามโดยสืบทอดจากมรดกวัฒนธรรมในอดีต หรืออาจจะรับเอาสิ่งที่เผยแพร่จากสังคมอื่นๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม และทำให้สมาชิกยอมรับ เกิดความนิยม และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ จะต้องไม่ทิ้งเอกลักษณ์ประจำชาติของตนไว้เพื่อเป็นศักดิ์ศรีของคนทั้งชาติ นอกจากนี้วัฒนธรรมยังใช้เป็นเครื่องมือในการยึดโยง หล่อหลอมให้คนในชาติมีความรักความสามัคคีต่อกัน ซึ่งเป็นเครื่องมือในการสร้างความั่นคงของชาติ ดังนั้น จึงมีผู้รู้บางท่านอาจจะกล่าวถึง วัฒนธรรม ว่า เป็นความเจริญแล้ว แล้วยังแสดงเอกลักษณ์ของชาติอีกด้วย

วัฒนธรรม เป็นความมั่นคงของชาติดังกล่าวมาแล้ว เพราะวัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดชนชาติ ชุมชนสังคม และเผ่าพันธุ์มนุษย์ บ่งบอกถึงเอกลักษณ์และวิถึชีวิตของตนเอง บ่งบอกถึงรากเหง้าพื้นฐานของความเป็นชาติ สืบทอดจากบรรพบุรุษตั้งแต่อดีตกาล วัฒนธรรมเป็นศักดิ์ศรีของความเป็นชาติ มรดกทางวัฒนธรรม มีความสำคัญ มีคุณค่าที่ต้องอนุรักษ์ กล่าวโดยสรุปคือ

มรดกศิลปวัฒนธรรม

-เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชนชาติของเผ่าพันธุ์ท้องถิ่น

-เป็นสิ่งที่แสดงถึงเกียรติและความภาคภูมิใจของคนในท้องถิ่นและของคนในชาติ ทำให้เกิดความรัก หวงแหน เห็นคุณค่า

-เป็นสิ่งก่อให้เกิดความรู้สึก ความสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในชาติ เป็นความมั่นคงของชาติ

-เป็นหลักฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษา ค้นคว้า วิจัย (การดำเนินการทางวิชาการ) เพื่อการเผยแพร่การสืบทอดและนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต อันนำไปสู่การพัฒนาสังคมเศรษฐกิจที่ยั่งยืนต่อไป เช่น การประกอบอาหาร การถักทอผ้า การคิดประดิษฐ์ลายผ้า วิธีการตัดเย็บ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเรือน การแพทย์ การผลิตยา เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ช่วยในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหากมีการเผยแพร่เป็นที่นิยมของชาวต่างประเทศ จะช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจได้ แทนที่คนไทยจะเป็นผู้บริโภควัฒนธรรมของชาติอื่นแต่ฝ่ายเดียว

*คงจะได้คำตอบกันแล้วนะคะ

ข้อมูลความรู้คัดลอกจาก หนังสือกรมศิลปากรกับการบริหารจัดการทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรม อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต

คำนำ

รายงานฉบบั น้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา ชีวติ และสังคม (30000-1501) หลกั สูตรประกาศนียบตั ร วิชาชีพช้นั สูง หมวดวิชาสงั คม สาขาสังคมศาสตร์ โดยมจี ดุ ประสงค์ เพือ่ การศกึ ษาความรูท้ ่ีไดจ้ ากเร่ือง ประเพณีลอยกระทงและภูมิปัญญาพ้ืนบา้ น การถกั สานกระเป๋ าดว้ ยผกั ตบชวา ซ่ึงรายงานน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั ความรู้เรื่อง ศิลปวฒั นธรรมประเพณีและภมู ิปัญญาไทย ประวตั คิ วามเป็นมาของประเพณี การบอกเลา่ เกีย่ วกบั แหล่งเรียนรูข้ องการถกั สานผกั ตบชวา ตลอดจนวธิ ีการปฏิบตั ติ ามประเพณี และรูจ้ กั การสาน ผกั ตบชวา

ผูจ้ ดั ทาไดเ้ ลอื ก หัวขอ้ น้ีในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจ รวมถึงเป็นการอนุรกั ษป์ ระเพณี วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย และ ความฉลาดของบรรพบรุ ุษ ผจู้ ดั ทาจะตอ้ งขอขอบคณุ อาจารย์ พณรฐั บญุ เกตุ ผใู้ ห้ความรู้ และแนวทางการศกึ ษาเพอ่ื น ๆ ทุกคนทใี่ ห้ความชว่ ยเหลอื มาโดยตลอด ผจู้ ดั ทาหวงั วา่ รายงานฉบบั น้ีจะใหค้ วามรู้ และเป็นประโยชน์แกผ่ อู้ ่านทกุ ๆ ท่าน

น.ส.ณฐั ฐานีย์ ผจู้ ดั ทา

สำรบญั ข

เรื่อง หนา้ บทนา : ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญาไทย 1-2 1.ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย 3 2.ศิลปวฒั นธรรมไทย 4 3.ภมู ิปัญญาไทย 5 4.การอนุรกั ษแ์ ละสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย 6 บทท่ี 1 : ประเพณีลอยกระทง 7 1.ความเป็ นมา 8-10 2.ตานานและความเช่ือวนั ลอยกระทง 11-12 3.งานลอยกระทงประเพณีของแตล่ ะทอ้ งถนิ่ 13 บทท่ี 2 : ภมู ิปัญญาไทย การจกั สานผกั ตบชวา 14-17 1.ตวั อยา่ งหม่บู า้ นทท่ี าการจกั สานผกั ตบชวา 18-19 บทสรุป :ประเพณีและภูมิปัญญาไทย บรรณานกุ รม ภาคผนวก

1

บทนำ

ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และภูมิปญั ญำไทย

ขนบทาเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมิปัญญาไทย เป็นสิ่งที่เกิดข้นึ จากการสร้างสรรคข์ องคน ไทย ซ่ึงไดม้ ีการสืบทอดมาจากบรรพบรุ ุษสืบตอ่ กนั มาถงึ คนไทยในปัจจบุ นั สะทอ้ นให้เห็นถึงเอกลกั ษณแ์ ละ ความเจริญรุ่งเรื่องของคนไทยไดเ้ ป็นอย่างดี

1. ขนบธรรมเนียมประเพณไี ทย ขนบธรรมเนียม เป็นธรรมเนียมการปฏิบตั ทิ ่ดี ีงามของคนไทย เช่น ผนู้ อ้ ยตอ้ งมคี วามเคารพผใู้ หญ่ มีความ

จงรักภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ประเพณีไทย เป็นกจิ กรรมทางสงั คมของคนไทยทถ่ี อื ปฏิบตั ิสืบต่อกนั มา เป็นมรดกตกทอดจากบรรพบรุ ุษ

เป็นระเบยี บแบบแผนทก่ี าหนดข้ึน และถือปฏบิ ตั ิสืบเนื่องกนั มาจนเป็นลกั ษณะเฉพาะของคนกล่มุ น้นั มกั เกยี่ วขอ้ งกบั คติความเชื่อ ศาสนา ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

1.1 คุณค่ำและควำมสำคัญของขนบทำเนยี มประเพณไี ทย ขนบธรรมเนียมไทยส่วนใหญเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ความเช่ือและหลกั คาสอนในศาสนาทาให้เกดิ ความเป็นระเบยี บ เรียบร้อยในสงั คมไทย คณุ ค่าและความสาคญั ของขนบทาเนียบประเพณีไทย ๑. สร้างความสงบสุข เพราะขนบธรรมเนียมประเพณี มรี ากฐานจากความเช่ือในศาสนา การประพฤตปิ ฏิบตั ติ าม จึงชว่ ยนาความสุขความเป็นสิริมาให้ ๒ สร้างความรกั ความสามคั คี ขนบทาเนียมประเพณีเป็นกุสโลบายใหค้ นรูจ้ กั การเสียสละ เช่น งานบุญต่างๆ เกิด จากความร่วมมอื ร่วมแรง ร่วมใจกนั เช่น พิธีขนทรายเขา้ วดั การกอ่ พระเจดยี ท์ ราย ๓ ส่งเสริมการมสี ัมมาคารวะ การเเสดงออกตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย สะทอ้ นถึงความนอบนอ้ มถอ่ มตน ออ่ นโยน ความมมี ารยาทไทยของคนไทย เช่น การรดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ ๔ สรา้ งความเป็นเอกลกั ษณข์ องชาติ ถึงแมข้ นบธรรมเนยี มประเพณีไทยจะแตกต่างกนั ในแต่ละ่ ทอ้ งถ่ิน แต่เป็น การสะทอ้ นรากเหงา้ ของขนบธรรมเนยี มประเพณีร่วมกนั ๕ เป็นแบบแผนของพฤตกิ รรมทดี่ ีในการจดั ระเบยี บทางสงั คม ทาให้คนอยูใ่ นกรอบจริยธรรม ศีลธรรมอนั ดงี าม

2

1.2 ขนบธรรมเนียมไทย ตวั อย่าง ขนบธรรมเนียมไทย ดงั น้ี -การเคารพผใู้ หญ่ ธรรมเนียมไทยใหค้ วามสาคญั กบั ผใู้ หญจ่ ึงมกี ารปฏบิ ตั ติ อ่ ผใู้ หญ่ ดว้ ยความเคารพและมกี ารระลึกถึงอยูเ่ สมอ เช่น ในช่วงเทศกาลสงกรานตม์ กี ารรดน้าขอพรจากผใู้ หญ่ เพ่อื เป็นการระลกึ ถึงคณุ งามความดแี ละเป็นสิริมงคล ในการดาเนินชีวิต -การนบั ถือครูบาอาจารย์ คนไทยถือว่าครูเป็นผมู้ ีพระคณุ เป็นผูอ้ บรมส่งั สอนวิชาความรู้ ดงั น้นั จะตอ้ งให้ความเคารพครุและมกี ารเเส ดงออกถึงการเคารพบชู า เชน่ การไหวค้ รู เพ่ือเป็นการระลกึ ถึงพระคณุ แสดงถงึ ความกตญั ญขู องคนใน สังคมไทย -การแตง่ งาน เม่อื ชายหญงิ มีอายทุ เ่ี หมาะสมจะใชช้ ีวิตครู่ ่วมกนั จะตอ้ งปฏบิ ตั ใิ หถ้ ุกตอ้ งตามธรรมเนียมโดยฝ่ายชายจะให้ ผูใ้ หญ่มาจดั การทาบถามสู่ขอฝ่ายหญงิ มกี ารเตรียมของหม้นั นดั วนั แต่งงาน และจดทะเบยี นสมรสถูกตอ้ งตาม กฎหมาย -การตอ้ นรบั แขก ธรรมเนียมไทยเมอ่ื มีแขกมาเยย่ี มเยือนที่บา้ นจะตอ้ งจดั การตอ้ นรับ เพือ่ แสดงความเป็นมติ รไมตรี ใหแ้ ขกมี ความประทบั ใจ เชน่ จดั อาหารเครื่องด่มื ไวต้ อ้ นรบั และพดู คุยดว้ ยอชั ฌาสยั ไมตรี ยม้ิ แยม้ แจม่ ใส ไม่แสดง กิริยามารยาทให้แขกรูส้ ึกอดึ อดั 1.3 ประเพณีไทย ตวั อยา่ ง ประเพณีไทย ดงั น้ี -ภาคเหนือ ประเพณีย่เี ป็ง หรือประเพณีลอยกระทงแบบลา้ นนา จดั ข้ึนในวนั เพน็ เดือนย(ี่ เดอ่ื น ๒)เพ่ือเป็นพุธทบชู า มกี าร ปลอ่ ยโคมไฟเพราะเชื่อว่าเปลวไฟในโคมท่ลี อยสู่ทอ้ งฟ้าเป็นสัญลกั ษณข์ องความรู้ ส่วนเเสงสวา่ งจะทาให้ ดาเนินชีวติ ไปในทางทถี่ กู ตอ้ ง -ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประเพณีแห่เทยี นพรรษา เป็นประเพณีเนื่องในพระพุทธศาสนา ซ่ึงจดั ข้นึ ในวนั เพญ็ เดอื น ๘ หรือวนั เขา้ พรรษาซ่ึงประชาชนจะนาเทยี นไปถวายพระภกิ ษโุ ดยมกี ารจดั ขบวนแห่เทยี นท่ีเเกะสลกั เทยี นเป็นลวดลาย เร่ืองราวทางพระพุทธศาสนา

3

-ภาคใต้ ประเพณีแห่ผา้ ข้ึนธาตุ จดั ข้นึ ในวนั มาฆบูชาตรงกบั วนั ข้นึ ๑๕ ค่าเดือน ๓ และวนั วสิ าขบูชาตรงกบั วนั ข้นึ ๑๕ คา่ เดือน ๖ การแห่ผา้ ผนื ยาวไปบูชาพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ โดยการนาไปห่มโอบลอ้ มองคพ์ ระบรมธาตเุ จดยี ์ ณ วดั พระมหาธาตวุ รวิหาร -ภาคกลาง ประเพณีลอยกระทง จดั ข้นึ ในคืนวนั เพญ็ เดือน 12 เพือ่ บูชาพระพุทธเจา้ ในวนั เสด็จกลบั จากเทวโลกเม่ือคร้ัง เสดจ็ ไปจาพรรษาอย่บู นสวรรคช์ ้นั ดาวดงึ ส์ เพ่ือทรงเทศนาอภิธรรมโปรดพทุ ธมารดา เพือ่ สักการะรอยพระพทุ ธ บาทของพระพทุ ธเจา้ และเพือ่ บูชาพระเกศแกว้ จฬุ ามณีบนสวรรคช์ ้นั ดาวดงึ ส์

2. ศิลปวฒั นธรรมไทย ศลี ปวฒั ธรรมไทยเป็นวิถีการดาเนนิ ชีวิต แบบแผน การประพฤติปฏิบตั ิ การแสดงออกถึงความรูส้ ึกนกึ

คิด ในสถานการต่างๆ ท่สี มาชิกในสังคมเดยี วกนั เขา้ ใจ ซาบซ่ึง ยอมรับ และปพฤติปฏิบตั ริ ่วมกนั ซ่ึงส่วนใหญ่มี รากฐานมาจากพระพทุ ธศาสนา จากการประอาชีพเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลกู ขา้ ว เชน่ พธิ ีเเรกนาขวญั พิธีสู่ ขวญั ขา้ ว เกดิ จากรากฐานความคดิ ความเชื่อและส่ังสมสืบทอดต่อๆกนั มา เช่น ความเช่ือเร่ืองสิ่งศกั ด์สิ ิทธ์ิ ธรรมชาติ ผีบรรพบุรุษ เป็นตน้

2.1 คุณค่ำและควำมสำคัญของศีลปวัฒนธรรมไทย ศีลปวฒั นธรรมไทยเป็นส่ิงทแ่ี สดงถงึ เอกลกั ษณ์ความเป็นชาติไทย ทาให้เกิดความเป็นระเบียบในสังคม หล่อ หลอมบคุ ลิกภาพให้กบั คนไทย และก่อใหเ้ กดิ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกัน คุณค่าและความสาคญั ของศลี ปวฒั นธรรมไทย 1.เป็นประโยชนต์ อ่ การดารงชีวิต 2.ทาหนา้ ทห่ี ล่อหลอมบุคลิกภาพให้กบั สมาชิกในสงั คม เช่น มารยาทไทย เป็นตน้ 3.ก่อให้เกิดความเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั เพราะมแี บบแผนการปฏบิ ตั อิ ย่างเดียวกนั 4.เป็นตวั กาหนดรูปแบบสถาบนั เชน่ สถาบนั ครอบครวั ควรเป็นสามภี รรยาเดียว 5.บง่ บอกถงึ เอกลกั ษณข์ องชาติไทยท่ีแตกตา่ งจากสังคมอน่ื เช่น สังคมไทยทกั ทายดว้ ยการยกมอื ไหว้ สงั คม ญี่ป่ นุ ใชก้ ารคานบั สังคมตะวนั ตกใชก้ ารสัมผสั มือ เป็นตน้

2.2 ศิลปวฒั นธรรมไทย ตวั อยา่ ง ศีลปวฒั นธรรมไทย ดงั น้ี อาหารไทย พระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั แรกนาขวญั การแสดงโขน เร่ืองรามเกยี รต์ิ

4

3. ภมู ปิ ัญญำไทย ภูมิปัญญาไทยเป็นองคค์ วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะของคนไทยอนั เกิดจากการสงั่ สมประสบการณ์ทีผ่ ่าน

กระบวนการเรียนรู้ เลอื กสรร พฒั นา ปรุงแตง่ และถ่ายทอดสืบตอ่ กนั มาเพ่อื ใชแ้ กป้ ัญญาและพฒั นาวถิ ชี ีวิตของ คนไทยให้สมดลุ กบั สภาพแวดลอ้ มและเหมาะสมกบั ยคุ สมยั มีลกั ษณะเป็นองคร์ วม และมคี ณุ ค่าทางวฒั นธรรม

3.1 คุณค่ำและควำมสำคญั ของภมู ปิ ัญญำไทย ภมู ิปัญญาไทยเป็นสิ่งท่บี รรพบรุ ุษไทยไดส้ ร้างสรรคแ์ ละสืบทอดมาอยา่ งต่อเน่ืองจากอดีตสู่ปัจจุบนั เป็นสง่ั ท่ี มีคณุ คา่ และความสาคญั ตอ่ คนไทยทกุ คน คณุ คา่ และความสาคญั ของภูมปิ ัญญาไทย

1.สรา้ งชาติใหเ้ ป็นปึ กแผน่ เชน่ พระมหากษตั ยิ ไ์ ทยทรงใชภ้ ูมปิ ัญญาในการสรา้ งชาติ นาพาชาตใิ หพ้ น้ ภยั เป็นตน้

2.สร้างศกั ด์ิศรีเกยี รติภูมแิ ละความภาคภูมิใจแกค่ นไทย เชน่ ภาษาและวรรณกรรมไทยเรามตี วั อกั ษรไทยเป็นของตนเองอาหารไทยทร่ี ู้จกั กนั ทว่ั โลก เป็นตน้

3.สามารถประยุกตห์ ลกั คาสอนทางศาสนามาใชก้ บั วถิ ีชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทาใหค้ นไทยเป็นผอู้ ่อน นอ้ มถอ่ มตน ประนีประนอม รกั สงบ และดารงวถิ ชี ีวติเรียบง่าย

4.ก่อให้เกดิ เอกลกั ษณ์ผลิตภณั ฑ์ การแปรรูป และการสรา้ งอาชีพของทอ้ งถ่นิ เชน่ การทาขนมหมอ้ แกง ของชาวเพชรบุรี หรือการสรา้ งผลิตภณั ฑ์ ๑ ตาบล ๑ ผลิตภณั ฑ์ เป็นตน้

3.2 ภูมิปัญญำไทย ตวั อย่าง ภมู ปิ ัญญาไทย ดงั น้ี -ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ความสามารถในการจดั การป้องกนั และรกั ษาสุขภาพของคนในชุมชน เชน่ การนวดแผนโบราณ การ ดแู ลและรักษาสุขภาพแบบพ้ืนบา้ นการดูแลและรักษาสุขภาพแบบโบราณไทย -ดา้ นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม เป็นการอนุรกั ษ์ พฒั นา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากคณุ ค่า เช่น การทาแนวปะการังเทยี ม การอนุรักษป์ ่ า ชายเลน การจดั การป่ าชมุ ชน เป็นตน้ -ดา้ นศลี ปกรรม ความสามารถในการผลติ ผลงานทางดา้ นศีลปะสาขาตา่ งๆ เช่น จิตรกรรม ประตมิ ากรรม วรรณกรรม ทศั นศิลป์ คีตศิลป์ ศลิ ปะมวยไทย เป็นตน้ -ดา้ นหตั ถกรรม

5

ความสามาถในการจกั รสาน เชน่ ผกั ตบชวามาสานเป็นกระเป๋ า การสานตะกรา้ ไมไ้ ผ่ และการถกั เป็น ขา้ วขงเครื่องใชต้ า่ งๆ เพ่อื สร้างรายไดแ้ ละเพมิ่ มูลค่าใหก้ บั วตั ถุ

4. กำรอนุรักษ์และสืบทอดขนบธรรมเนยี มประเพณีศิลปวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญำไทย การอนุรกั ษข์ นบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวฒั ธรรม และภมู ปิ ัญญาไทย ตอ้ งเกดิ จากการมีส่วนร่วมของทุกคน

ทุกฝ่าย มีแนวปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1.ปลกู จิตสานกึ ให้เกิดการมสี ่วนร่วมของทุกฝ่ายในการปฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยให้

ถูกตอ้ ง 2.ส่งเสริมสนบั สนุนการจกั กจิ กรรมตามประเพณีอยา่ งถกู ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั คณุ ธรรมจริยธรรมและ

คา่ นิยมอนั ดขี องชาติ 3.ฟ้ื นฟู เลอื กสรรขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาที่กาลงั จะสูญหายหรือทส่ี ูญหายไป

แลว้ กลบั มาปฏบิ ตั ิใหม่ ให้มคี ุณค่าและมีความสาคญั ต่อวถิ ชี ีวติ ของคนในทอ้ งถ่นิ 4.รณรงคห์ รือประชาสัมพนั ธ์ให้คนรุ่นใหม่หันมาสนใจศึกษาคน้ ควา้ ความรู้ ความคดิ ความเชื่อ เพอ่ื สืบ

สานภมู ิปัญญาไทยคงอยูค่ ู่ชาติไทยตลอดไป 5.ยกยอ่ งเชิดชูเกียรตผิ ทู้ รงภมู ปิ ัญญาไทย เชน่ ครูภูมปิ ัญญาไทยศิลปแห่งชาติ ผมู้ ผี ลงานดเี ด่นทางดา้ น

วฒั นธรรม คนดศี รีสังคม ท้งั ในระดบั ชาติและระดบั สากลเพือ่ เป็นขวญั และกาลงั ใจในการสร้างสรรคแ์ ละ ถา่ ยทอดผลงาน

6.มพี ้ืนทีจ่ ดั แสดงผลงานการสืบสารขนบธรรมเนียมประเพณีภมู ปิ ัญญาของทอ้ งถน่ิ และจดั แสดงผลงาน ใหต้ ่อเน่ือง

7..มีการคุม้ ครองลขิ สิทธ์ิ ภมู ิปัญญาไทย เพอื่ เป็นมรดกของทอ้ งถน่ิ และประเทศชาติเพื่อธารงรกั ษาไวซ้ ่ึง เอกลกั ษณข์ องชาตสิ ืบไป

ขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม และภมู ิปัญญา เป็นเร่ืองทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ความดงี าม ความเช่ือ พธิ ีกรรมทส่ี อดคลอ้ งกบั ศาสนา เป็นมารยาททีค่ นในสงั คมปฏบิ ตั กิ นั ดงั น้นั นกั เรียนควรนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชีวติ ประจาวนั เชน่ การปฏิบตั ติ นถกู ตอ้ งเหมาะสมตามขนบธรรมเนียมไทย การเขา้ ร่วมพธิ ีกรรมวนั สาคญั ต่างๆ การใชส้ ิ่งของเคร่ืองใชท้ ่เี ป็นผลติ ภณั ฑจ์ ากภมู ิปัญญาไทย เป็นตน้ อยา่ เหน็ วา่ ขนบธรรมเนียมเป็นเร่ืองของความ ลา้ สมยั ไม่น่าปฏบิ ตั ิ รวมท้งั ตอ้ งปลูกฝ่ังแนวคดิ การปฏิบตั ติ ามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยแกเ่ ยาวชนในการ นาไปใชใ้ หถ้ กู ตอ้ ง

6

บทท่ี 1 ประเพณีลอยกระทง

จากการศกึ ษาขา้ งตน้ ทาให้รู้ถงึ ความสาคญั ของขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม และภูมิ ปัญญาไทย ในบทน้ีจงึ ไดย้ กตวั อยา่ งของประเพณีที่สนใจ นน่ั คือประเพณีลอยกระทง ท่ีเป็นประเพณีทีส่ าคญั และเป็นทรี่ ูจ้ กั กนั ดี

ภาพท่ี 1 ประเพณีลอยกระทง (ทมี่ า: http://event.sanook.com/day/loikrathong/) วนั ลอยกระทง ถือไดว้ ่าเป็นอกี หน่ึงวนั สาคญั ของไทย ตรงกบั วนั ข้นึ 15 คา่ เดือน 12 ตามปฏทิ ิน จนั ทรคติไทย ส่วนปฏิทินจนั ทรคติลา้ นนา วนั ลอยกระทงมกั จะตกอยูใ่ นราวเดือนพฤศจกิ ายน ส่วนปฏทิ ินสุริ ยคตใิ นบางปี เทศกาลลอยกระทงก็มกั จะตรงกบั เดอื นตุลาคม อย่างเชน่ เมื่อปี พ.ศ. 2544 ที่มวี นั ลอยกระทงตรง กบั วนั ที่ 31 ตลุ าคมและจะวนกลบั มาตรงในวนั เดียวกนั น้ีอกี คร้ังเม่อื ถึงปี พ.ศ. 2563 เทศกำลลอยกระทง เป็นประเพณีทจี่ ดั ข้นึ เพอ่ื เป็นการสะเดาะเคราะห์และขอขมาตอ่ พระแมค่ งคา โดย จากการคน้ พบในบางหลกั ฐานพบว่า การลอยกระทงเป็นการบชู ารอยพระพุทธบาททีร่ ิมฝ่ังแมน่ ้านมั ทามหานที แตอ่ กี หลกั ฐานหน่ึงกก็ ล่าววา่ การลอยกระทงเป็นการบชู าพระอปุ คุตอรหันต์ หรือพระมหาสาวก สาหรับใน ประเทศไทย ไดจ้ ดั ให้มีประเพณีลอยกระทงในทกุ พ้นื ท่ี โดยเฉพาะบริเวณทอี่ ยตู่ ดิ กบั แมน่ ้า ลาคลอง หรือแหล่ง น้าต่างๆ ลว้ นแลว้ แต่มเี อกลกั ษณ์และความน่าสนใจที่เฉพาะตวั แตกต่างกนั ไป

7

1.ประวัติควำมเป็ นมำวนั ลอยกระทง ประเพณีลอยกระทง เป็นประเพณีโบราณของอนิ เดยี ท่ปี ระเทศไทยรับเขา้ มาปฏิบตั ิ แต่ไมม่ ปี รากฏ

หลกั ฐานแน่ชดั เจนวา่ เริ่มปฏิบตั ิกนั มาต้งั แต่เมื่อไหร่ โดยจากขอ้ มลู บางส่วนที่ปรากฏไดร้ ะบุไวว้ ่ามีมาต้งั แต่เมอื่ คร้ัง สุโขทยั เป็นราชธานี โดยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว ไดท้ รงสนั นิษฐานว่า เดมิ ทปี ระเพณีน้ี จะเป็นพิธีของพราหมณท์ ก่ี ระทาเพอ่ื บชู าพระผเู้ ป็นเจา้ ท้งั สาม คอื พระอิศวร พระนารายณ์ และพระพรหม ตอ่ มา ไดย้ ดึ ถอื ตามแนวทางพระพุทธศาสนา โดยมกี ารชกั โคมเพอื่ บชู าพระบรมสารีริกธาตุพระจุฬามณีในช้นั ดาวดงึ ส์ และมกี ารลอยโคมเพอ่ื บชู ารอยพระพุทธบาททป่ี ระดษิ ฐาน ณ หาดทรายแมน่ ้านมั ทา (แม่น้านมั ทา เป็นแมน่ ้าที่ อยคู่ ู่ขนานกบั ทวิ เขาวนิ ธยั ทไ่ี หลลงสู่ภาคตะวนั ตกของอนิ เดยี แม่น้าแห่งน้ีเป็นตวั แบง่ เขตอนิ เดยี ออกเป็น ภาคเหนือและภาคใต)้

จากตานานทห่ี าหลกั ฐานยนื ยนั มิไดไ้ ดก้ ล่าวเอาไวว้ า่ ในรชั สมยั ของพอ่ ขนุ รามคาแหง มนี างนพมาศ หรือทา้ วศรีจฬุ าลกั ษณ์เป็นผูป้ ระดิษฐก์ ระทงข้นึ เป็นคร้ังแรก แตเ่ ดิมเรียกพิธีจองเปรียง มกี ารลอยประทปี จากน้นั นางนพมาศนาดอกโคทมซ่ึงเป็นดอกบวั บานเฉพาะวนั เพญ็ เดอื นสิบสองมาใชใ้ ส่เทยี นประทีป ดงั ปรากฏ ให้เห็นในตารับทา้ วศรีจฬุ าลกั ษณ์ท่ีกลา่ วถงึ พระดารสั ของพระร่วงว่า “แตน่ ้ีสืบไปเบ้อื งหนา้ โดยลาดบั กษตั ริย์ ในสยามประเทศ ถงึ กาลกาหนดนกั ขตั ฤกษ์ วนั เพญ็ เดอื น 12 ใหท้ าโคมลอยเป็นรูปดอกบวั อทุ ิศสักการบูชาพระ พทุ ธบาทนมั มทานทีตราบเท่ากลั ปาวสาน”

ภาพที่ 2 กระทงกลบี ดอกบวั (ทม่ี า: https://i.ytimg.com/vi/Lm0SKP2o294/maxresdefault.jpg)

8

ในปัจจบุ นั มีหลกั ฐานวา่ ประเพณีลอยกระทง ไม่น่าจะมคี วามเกา่ แกก่ ว่าสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ โดย อา้ งอิงหลกั ฐานจากภาพจติ กรรมการสรา้ งกระทงแบบตา่ งๆ ในสมยั รชั การที่ 1 ตอ่ มาในสมยั รชั กาลที่ 2 ไดม้ กี าร เปล่ยี นแปลงการทากระทงจากดอกบวั มาเป็นตน้ กลว้ ย เน่ืองจากว่าดอกบวั เป็นวตั ถดุ ิบท่ีหายากและมีนอ้ ยเลยใช้ ตน้ กลว้ ยมาทาเป็นกระทงทดแทน แตเ่ มอ่ื ดๆู แลว้ ยงั ขาดความสวยงาม จึงนาใบตองมาพบั เป็นกลบี คลา้ ยดอกบวั เพอื่ ตกจนเกิดความสวยงามสืบทอดมาจนถึงปัจจบุ นั

2.ตำนำนและควำมเชื่อวนั ลอยกระทง

จากทกี่ ล่าวมาขา้ งตน้ วา่ การลอยกระทง ในแตล่ ะทอ้ งท่กี ม็ าจากความเชื่อ ความศรทั ธาที่แตกต่างกนั บางแห่งกม็ ีตานานเลา่ ขานกนั ต่อๆมา ซ่ึงจะยกตวั อย่างบางเร่ืองมาให้ทราบ ดงั น้ี

เรื่องที่ 1 ว่ากนั วา่ การลอยกระทง มตี น้ กาเนิดมาจากศาสนาพทุ ธน

กล่าวคือกอ่ นทีพ่ ระพทุ ธองคจ์ ะตรัสรู้ เป็นสมเด็จพระสมั มาสัมพุทธเจา้ ไดป้ ระทบั อยูใ่ ตต้ น้ โพธ์ิ ใกล้ แม่น้าเนรญั ชรา กาลวนั หน่ึง นางสุชาดาอุบาสิกาไดใ้ ห้สาวใชน้ าขา้ วมธุปายาส (ขา้ วกวนหุงดว้ ยน้าผ้งึ หรือ น้าออ้ ย) ใส่ถาดทองไปถวาย เมือ่ พระองคเ์ สวยหมดแลว้ กท็ รงต้งั สตั ยาธิษฐานวา่ ถา้ หากวนั ใดจะสาเร็จเป็น พระพทุ ธเจา้ ก็ขอใหถ้ าดลอยทวนน้า ดว้ ยแรงสัตยาธิษฐาน และบญุ ญาภนิ ิหาร ถาดก็ลอยทวนน้าไปจนถึงสะดือ ทะเล แลว้ ก็จมไปถูกขนดหางพญานาคผรู้ กั ษาบาดาล

พญานาคตน่ื ข้นึ พอเหน็ วา่ เป็นอะไร ก็ประกาศกอ้ งว่า บดั น้ีไดม้ พี ระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ อบุ ตั ิข้นึ ในโลก อกี องคแ์ ลว้ คร้นั แลว้ เทพยดาท้งั หลายและพระยานาค ก็พากนั ไปเขา้ เฝ้าพระพทุ ธเจา้ และพระยานาคกไ็ ดข้ อให้ พระพุทธองค์ ประทบั รอยพระบาทไวบ้ นฝั่งแมน่ ้าเนรญั ชรา เพ่ือพวกเขาจะไดข้ ้นึ มาถวายสักการะได้ พระองคก์ ็ ทรงทาตาม ส่วนสาวใชก้ น็ าความไปบอกนางสุชาดา คร้ันถึงวนั น้นั ของทกุ ปี นางสุชาดาก็จะนาเคร่ืองหอม และ ดอกไมใ้ ส่ถาดไปลอยน้า เพือ่ ไปนมสั การรอยพระพทุ ธบาทเป็นประจาเสมอมา และตอ่ ๆ มาก็ไดก้ ลายเป็น ประเพณีลอยกระทง ตามทเี่ ห็นกนั อยใู่ นปัจจบุ นั

ในเรื่องการประทบั รอยพระบาทน้ี บางแห่งกว็ ่า พญานาคไดท้ ูลอาราธนาพระพุทธเจา้ ไปแสดงธรรม เทศนาในนาคพภิ พ เม่อื จะเสด็จกลบั พญานาคไดท้ ูลขออนุสาวรียจ์ ากพระองคไ์ วบ้ ชู า พระพุทธองคจ์ ึงไดท้ รง อธิษฐาน ประทบั รอยพระบาทไวท้ ี่หาดทรายแม่น้านมั มทา และพวกนาคท้งั หลาย จงึ พากนั บชู ารอยพระพุทธ บาทแทนพระองค์ ตอ่ มาชาวพทุ ธไดท้ ราบเรื่องน้ี จึงไดท้ าการบูชารอยพระบาทสืบต่อกนั มา โดยนาเอาเครื่อง

9

สักการะใส่กระทงลอยน้าไป ส่วนทว่ี ่าลอยกระทงในวนั เพญ็ เดือน 11 หรือวนั ออกพรรษา เพอื่ เฉลมิ ฉลองวนั คลา้ ยวนั ทพี่ ระพุทธเจา้ เสด็จกลบั มาสู่โลกมนุษย์ หลงั การจาพรรษา 3 เดอื น ณ สวรรคช์ ้นั ดาวดงึ ส์เพ่ือแสดง อภธิ รรมโปรดพทุ ธมารดาน้นั กด็ ว้ ยวนั ดงั กล่าว เหลา่ ทวยเทพและพทุ ธบริษทั พากนั มารับเสด็จนบั ไมถ่ ว้ น พร้อมดว้ ยเคร่ืองสกั การบูชา และเป็นวนั ทพี่ ระพทุ ธองคไ์ ดเ้ ปิ ดใหป้ ระชาชนไดเ้ ห็นสวรรค์ และนรกดว้ ยฤทธ์ิ ของพระองค์ คนจึงพากนั ลอยกระทง เพื่อเฉลิมฉลองรับเสดจ็ พระพทุ ธเจา้

สาหรบั คติที่ว่า การลอยกระทงตามประทปี เพ่อื ไปบชู าพระเกศแกว้ จฬุ ามณี บนสรวงสรรคช์ ้นั ดาวดึงส์น้นั กว็ า่ เป็นเพราะตรงกบั วนั ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ เสด็จออกบรรพชาท่ีริมฝั่งแม่น้าอโนมา ทรงใชพ้ ระขรรคต์ ดั พระเกศโมลี ขาด ลอยไปในอากาศตามท่ีทรงอธิษฐาน พระอินทร์จงึ นาผอบแกว้ มาบรรจุ แลว้ นาไปประดษิ ฐานไวใ้ นจฬุ ามณี เจดยี ์ บนสวรรคช์ ้นั ดาวดึงส์ (ตามประทีป คอื การจดุ ประทปี หรือจุดไฟในตะเกยี ง /โคม หรือผาง-ถว้ ยดินเผา เลก็ ๆ) ซ่ึงทางเหนือของเรา มกั จะมกี ารปล่อยโคมลอย หรือโคมไฟท่เี รียกวา่ วา่ วไฟ ข้นึ ไปในอากาศเพือ่ บชู า พระเกศแกว้ จุฬามณีดว้ ย

เรื่องท่ี 2 ตามตาราพรหมณ์คณาจารยก์ ล่าววา่

พธิ ีลอยประทปี หรือตามประทีปน้ี แตเ่ ดิมเป็นพธิ ีทางศาสนาพราหมณ์ ทาข้ึนเพ่อื บชู าเทพเจา้ ท้งั สามคอื พระ อศิ วร พระนารายณ์และพระพรหม เป็นประเภทคกู่ บั ลอยกระทง กอ่ นจะลอยก็ตอ้ งมกี ารตามประทีปก่อน ซ่ึง ตามคมั ภรี ์โบราณอนิ เดยี เรียกวา่ “ทีปาวลี” โดยกาหนดทางโหราศาสตร์วา่ เมอื่ พระอาทติ ยถ์ งึ ราศพี จิ กิ พระจนั ทร์อย่รู าศีพฤกษเ์ มื่อใด เมอ่ื น้นั เป็นเวลาตามประทปี และเมอื่ บชู าไวค้ รบกาหนดวนั แลว้ กเ็ อาโคมไฟน้นั ไปลอยน้าเสีย ตอ่ มาชาวพุทธเห็นเป็นเรื่องดี จงึ แปลงเป็นการบูชารอยพระพทุ ธบาท และการรบั เสดจ็ พระพุทธเจา้ ดงั ทกี่ ล่าวมาขา้ งตน้ โดยมกั ถือเอาเดอื น 12 หรือเดือนยเ่ี ป็งเป็นเกณฑ์ (ยเ่ี ป็งคือเดือนสอง ตามการ นบั ทางลา้ นนา ที่นบั เดอื นทางจนั ทรคติ เร็วกว่าภาคกลาง 2 เดอื น)

10

เร่ืองท่ี 3 เป็นเร่ืองของพมา่

เล่าว่า คร้งั หน่ึงในสมยั พระเจา้ อโศกมหาราช ทรงมพี ระประสงคจ์ ะสรา้ งเจดียใ์ ห้ครบ 84,000 องค์ แตถ่ ูกพระยา มารคอยขดั ขวางเสมอ พระองคจ์ งึ ไปขอใหพ้ ระอรหันตอ์ งคห์ น่ึง คอื พระอปุ คตุ ชว่ ยเหลอื พระอุปคตุ จึงไป ขอรอ้ งพระยานาคเมอื งบาดาลให้ชว่ ย พระยานาครบั ปาก และปราบพระยามารจนสาเร็จ พระเจา้ อโศกมหาราช จึงสรา้ งเจดยี ไ์ ดส้ าเร็จสมพระประสงค์ ต้งั แตน่ ้นั มา เมอื่ ถงึ วนั เพญ็ เดอื น 12 คนท้งั หลายกจ็ ะทาพธิ ีลอยกระทง เพอื่ บชู าคุณพระยานาค เร่ืองน้ี บางแห่งกว็ ่า พระยานาค กค็ อื พระอุปคุตที่อยู่ทส่ี ะดือทะเล และมีอทิ ธิฤทธ์ิมาก จึง ปราบมารได้ และพระอุปคุตน้ี เป็นที่นบั ถือของชาวพมา่ และชาวพายพั ของไทยมาก

เร่ืองท่ี 4 เกดิ จากความเช่ือแตค่ ร้ังโบราณในลา้ นนาวา่

เกดิ อหิวาตร์ ะบาด ทอ่ี าณาจกั รหริภญุ ชยั ทาให้คนลม้ ตายเป็นจานวนมาก พวกทไี่ มต่ ายจึงอพยพไปอยเู่ มือง สะเทิม และหงสาวดเี ป็นเวลา 6 ปี บางคนกม็ คี รอบครวั อย่ทู นี่ นั่ คร้นั เมอ่ื อหิวาตไ์ ดส้ งบลงแลว้ บางส่วนจึง อพยพกลบั และเมอื่ ถึงวนั ครบรอบท่ีไดอ้ พยพไป กไ็ ดจ้ ดั ธูปเทียนสกั การะ พรอ้ มเครื่องอุปโภคบริโภคดงั กล่าว ใส่ สะเพา ( อา่ นว่า “ สะ - เปา หมายถึง สาเภาหรือกระทง ) ลอ่ งตามลาน้า เพอ่ื ระลกึ ถึงญาติที่มีอยู่ในเมืองหง สาวดี ซ่ึงการลอยกระทงดงั กลา่ ว จะทาในวนั ยีเ่ พง คือ เพญ็ เดอื นสิบสอง เรียกกนั วา่ การลอยโขมด แตม่ ไิ ดท้ า ทวั่ ไปในลา้ นนา ส่วนใหญเ่ ทศกาลยี่เพงน้ี ชาวลา้ นนาจะมพี ธิ ีต้งั ธมั มห์ ลวง หรือการเทศนค์ มั ภรี ์ขนาดยาวอยา่ ง เทศน์มหาชาติ และมกี ารจดุ ประทปี โคมไฟอย่างกวา้ งขวางมากกวา่ (การลอยกระทง ท่ีทางโบราณลา้ นนาเรียกว่า ลอยโขมดน้ี คาวา่ “ โขมด อ่านว่า ขะ-โหมด เป็นช่ือผปี ่ า ชอบออกหากินกลางคนื และมีไฟพะเหนียงเห็นเป็น ระยะๆ คลา้ ยผีกระสือ ดงั น้นั จึงเรียกเอาตามลกั ษณะกระทง ท่จี ุดเทียนลอยในน้า เห็นเงาสะทอ้ นวบั ๆ แวมๆ คลา้ ยผีโขมดว่า ลอยโขมด ดงั กล่าว)

เร่ืองที่ 5 กล่าวกนั วา่ ในประเทศจนี สมยั ก่อน

ทางตอนเหนือ เมอื่ ถงึ หนา้ น้า น้าจะท่วมเสมอ บางปี น้าท่วมจนชาวบา้ นตายนบั เป็นแสนๆ และหาศพไม่ไดก้ ็มี ราษฎรจึงจดั กระทงใส่อาหารลอยน้าไป เพ่ือเซ่นไหวผ้ เี หล่าน้นั เป็นงานประจาปี ส่วนทีล่ อยในตอนกลางคืน ท่านสันนิษฐานวา่ อาจจะตอ้ งการความขรึม และขมกุ ขมวั ให้เหน็ ขลงั เพราะเป็นเรื่องเกยี่ วกบั ผๆี สางๆ และผีก็ ไมช่ อบปรากฏตวั ในตอนกลางวนั การจดุ เทียนกเ็ พราะหนทางไปเมอื งผีมนั มดื จงึ ตอ้ งจุดใหแ้ สงสว่าง เพ่ือใหผ้ ี

11

กลบั ไปสะดวก ในภาษาจนี เรียกการลอยกระทงวา่ ปลอ่ ยโคมน้า (ปั่งจุ๊ยเต็ง) ซ่ึงตรงกบั ของไทยว่า ลอยโคม จาก เร่ืองขา้ งตน้ เราจะเห็นไดว้ า่ การลอยกระทง ส่วนใหญจ่ ะเป็นการแสดงความกตญั ญู ระลกึ ถงึ ผมู้ พี ระคณุ ตอ่ มนุษย์ เชน่ พระพทุ ธเจา้ เทพเจา้ พระแม่คงคา และบรรพชน เป็นตน้ และแสดงความกตเวที (ตอบแทนคุณ) ดว้ ย การเคารพบชู าดว้ ยเครื่องสักการะตา่ งๆ โดยเฉพาะการบชู าพระพทุ ธเจา้ หรือรอยพระพทุ ธบาท ถือไดว้ า่ เป็นคติ ธรรมอย่างหน่ึง ท่บี อกเป็นนยั ใหพ้ ทุ ธศาสนิกชน ไดเ้ จริญรอยตามพระบาทของพระพทุ ธองค์ ซ่ึงเป็นสัญลกั ษณ์ แห่งความดงี ามท้งั ปวงนนั่ เอง

3.งำนลอยกระทงตำมประเพณีของแต่ละท้องถ่นิ

แมป้ ระเพณีลอยกระทงจะเป็นทน่ี ิยมในทว่ั ทกุ ภูมภิ าค แต่แต่ละภมู ภิ าคกม็ กี ารปฏบิ ตั ิและความเช่ือท่ี แตกต่างกนั โดยสรุปไดด้ งั น้ี

-ภาคเหนือตอนบน มกั นยิ มทำโคมลอยทเ่ี รยี กว่ำ ลอยโคม หรอื ว่ำวฮม หรอื ว่ำวควนั ทำจำกผำ้ บำงๆ แลว้ สุมควนั ขำ้ งใตใ้ หล้ อยขน้ึ ไปในอำกำศคลำ้ ยกบั บอลลนู ซ่งึ ชำวเหนือมกั เรยี กประเพณนี ้วี ำ่ ยเ่ี ป็ง หมายถึง การทาบุญในวนั เพญ็ เดอื นย่ี (เป็นการนบั วนั ตามแบบลา้ นนา ตรงกบั วนั เพญ็ เดอื นสิบสองในแบบไทย)

o จงั หวดั เชยี งใหม่ จะมปี ระเพณียเ่ี ป็ง เชยี งใหม่ ทุกๆ ปีจะมกี ำรจดั งำนขน้ึ อย่ำงยง่ิ ใหญ่ตระกำรคำ และ มกี ำรปลอ่ ยโคมลอยขน้ึ เตม็ ทอ้ งฟ้ำ

o จงั หวดั ตำก จะมกี ำรลอยกระทงขนำดเลก็ เรยี งรำยกนั ไปเป็นสำย เรยี กวำ่ กระทงสำย o จงั หวดั สโุ ขทยั จะมขี บวนแหโ่ คมชกั โคมแขวน กำรเล่นพลตุ ะไล และไฟพะเนียง

-ภำคอสี ำน ในอดตี จะมกี ารเรียกประเพณีลอยกระทงวา่ สิบสองเพง็ หมายถงึ วนั เพญ็ เดอื นสิบสอง ซ่ึง จะมีเอกลกั ษณ์ทแ่ี ตกต่างกนั ไปตามแต่ละพน้ื ถ่นิ

o จงั หวดั รอ้ ยเอด็ เป็นตวั แทนจดั งานลอยกระทงที่ใหญ่ทสี่ ุดของภาคอสี าน มีช่ืองานว่า สมมาน้าคนื เพง็ เส็งประทปี มีความหมายตามภาษาถิ่นวา่ การขอขมาพระแม่คงคาในคนื วนั เพญ็ เดือนสิบสอง ความ พิเศษของงานจะมีการแสดง แสง สี เสียง ตานานเมืองรอ้ ยเอด็ มกี ารตกแต่งบริเวณเกาะบงึ พลาญชยั ให้ เป็นเกาะสวรรค์ มขี บวนกระทงอาเซียน มีการประกวดกระทงประทปี ใหญช่ ิงถว้ ยพระราชทาน สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีการประกวดกระทงอนุรกั ษธ์ รรมชาติ การประกวดขบวน

12

แห่กระทงประทปี 12 หวั เมืองตามตานานเมอื งร้อยเอ็ด การประกวดราวงสมมาน้าคืนเพง็ เส็งประทปี การประกวดธิดาสาเกตนครและกจิ กรรมอนื่ ๆ อกี มากมาย นอกจากน้ี จงั หวดั รอ้ ยเอ็ดยงั ไดร้ บั โปรด เกลา้ ฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั และสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิฯ ทที่ รงพระราชทานพระประทปี ส่วนพระองคร์ ่วมลงลอยในบงึ พลาญชยั ทกุ ปี ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2542 o จงั หวดั สกลนคร ในอดีต จะมกี ารลอยกระทงจากกาบกลว้ ยที่มลี กั ษณะคลา้ ยกบั การทาปราสาทผ้งึ โบราณ โดยเรียกช่ืองานว่า เทศกาลลอยพระประทปี พระราชทาน สิบสองเพง็ ไทสกล

-ภาคกลาง จะมกี ำรจดั ประเพณลี อยกระทงขน้ึ ทวั ่ ทกุ จงั หวดั

o กรุงเทพมหานคร จะมีงานภเู ขาทอง จดั ข้ึนทว่ี ดั สระเกตุ มลี กั ษณะเป็นงานวดั มกั จะเฉลมิ ฉลองราว 7 – 10 วนั ก่อนงานลอยกระทง และงานจะสิ้นสุดลงในช่วงหลงั วนั ลอยกระทง

o จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา จะมกี ารจดั งานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าข้นึ อย่างย่งิ ใหญ่ ณ บริเวณอทุ ยาน ประวตั ศิ าสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานจะมกี ารแสดงแสง สี เสียงอย่างงดงามตระการตา

-ภำคใต้ อย่างทีอ่ าเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา จะมกี ารจดั งานอย่างย่งิ ใหญ่ นอกจากน้นั ในจงั หวดั อน่ื ๆ กจ็ ะมกี ารจดั งานลอยกระทงดว้ ยเชน่ กนั

13

บทที่ 2 ภมู ิปัญญำไทย กำรจกั สำนผกั ตบชวำ

ภาพที่ 3 ผลิตภณั ฑจ์ กั สานผกั ตบชวา

(ทมี่ า : https://www.banmuang.co.th/news/region.com)

ผกั ตบชวา เป็นวชั พืช ทไี่ ม่มีใครตอ้ งการ แตล่ ะคนแตจ่ ะมวี ธิ ีทาลายท่ีแตกต่างกนั แตท่ บ่ี า้ นดนิ สอ ตาบลตน้ ตาล อาเภอสองพนี่ อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี มวี ิธีการนาเอาผกั ตบชวา มากาจดั และเพิม่ มลู ค่าในตวั ของ มนั เอง ไดอ้ ยา่ งลงตวั และเหมาะสม ทุกคนมรี ายไดแ้ ละมีความสุขอยา่ งพอเพียงในการดาเนินการภมู ปิ ัญญา ทอ้ งถิน่ ในการสานผกั ตบชวา การสานไดม้ าตรฐาน ทาอย่างหลากหลาย ทุกประเภท ขณะน้ขี าดแตเ่ พยี งตลาดที่ ถาวร

การผลติ หรือการสานผกั ตบชวา จงึ เป็นภมู ปิ ัญญาทน่ี ่าสนใจอีกอยา่ งหน่ึง ฝีมอื ดี การรวมกลุ่มดี มี แนวทางในการดาเนินการไดอ้ ยา่ งรัดกมุ มอี นาคต กลุ่มสานผกั ตบชวาบา้ นวงฆอ้ งจึงเป็นกลมุ่ ทส่ี มควรไดร้ บั การ สนบั สนุนอย่างย่ิง เพราะ นอกจากจะกาจดั วชั พชื คอื ผกั ตบชวาแลว้ ยงั สามารถนามาผลติ เพ่อื เพมิ่ พูนรายได้ ให้กบั ประชาชนในทอ้ งถน่ิ ไดอ้ ย่างครบวงจรและลงตวั จึงน่าช่ืนชมในความสาเร็จ

14

1.ตวั อย่ำงหม่บู ้ำนทท่ี ำกำรจักสำนผกั ตบชวำ ผลติ ภณั ฑง์ านฝีมอื ทท่ี าผกั ตบชวา ช่วยลดและกาจดั ผกั ตบชวาในคูคลอง ลดปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม ใน

แม่น้าคคู ลอง สรา้ งงาน สร้างรายไดใ้ หก้ บั ชุมชนตน้ ตาลหลกั ลา้ น ไปที่ศูนยเ์ รียนรู้หัตถกรรมบา้ นดินสอ หมู่ 6 ตาบลตน้ ตาล อาเภอสองพนี่ อ้ ง จงั หวดั สุพรรณบรุ ี ซ่ึงเป็นแหลง่ เรียนรู้และนาร่องการใชผ้ กั ตบชวามา ถกั จกั สาน เป็นงานฝีมือหตั ถกรรมหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงเป็นแหลง่ เรียนรู้การแปรรูปจากผกั ตบชวา พชื ผกั ในคคู ลอง ที่ไมม่ ีมูลคา่ แลว้ ยงั ทาให้น้าเน่าเสีย ชาวบา้ นในชุมชนไดน้ าผกั ตบชวามาทาเป็นเฟอร์นิเจอร์คณุ ภาพสูง เชน่ โซฟากาละมงั โซฟาชดุ โคมไฟ เจกนั ใส่ดอกไม้ ดอกไมส้ บั ปะรด ไดอ้ ย่างสวยงาม แข็งแรงและทนทาน ขณะน้ี ทางผนู้ าชมุ ชนกาลงั เตรียมจะนาผกั ตบชวามาพฒั นาต่อยอดมาใชแ้ ทนเม็ดโฟมกนั กระแทก เพ่อื ลดปัญหา ผกั ตบชวาทกี่ ดี ขวางทางน้าในคูคลอง และลดปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือเป็นการสรา้ งอาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ชาวบา้ นชมุ ชน และยงั เป็นการลดปัญหาผกั ตบชวาในแม่น้าลาคลองและยงั จะชว่ ยรักษาสิ่งแวดลอ้ มใหก้ บั ชุมชน ดว้ ย

รูปภาพที่ 4 การสานผกั ตบชวาของหมูบ่ า้ นดินสอ ต.ตน้ ตาล อ.สองพ่ีนอ้ ง จ.สุพรรณบุรี (ทีม่ า : https://www.banmuang.co.th/news/region.com )

15

• ควำมเป็ นมำ นายภวู นารถ จารุภมู กิ นายก อบต.ตน้ ตาล อ.สองพ่ีนอ้ ง เปิ ดเผยวา่ พ้นื ท่ีอาเภอสองพ่นี อ้ ง เป็นพ้นื ทมี่ แี ม่น้าลา คลองจานวนมาก และมผี กั ตบชวามากดี ขวางทางน้า ส่งผลใหเ้ กษตรกรไดร้ ับความเดอื ดร้อน ในการกาจดั ผกั ตบชวาเป็นปัญหาหลกั ของทุกหน่วยงานทเ่ี ก่ยี ว ทางผูน้ าทอ้ งถ่นิ และชาวบา้ น จงึ ช่วยกนั คิดหาวธิ ีกาจดั ผกั ตบชวาและนามาสรา้ งมลู ค่าจากผกั ตบชวา จนกระทงั่ ไดพ้ บกบั งานหตั ถกรรมชิน้ หน่ึงท่ีโรงเรียนบางลีว่ ทิ ยา เป็นพุ่มสับปะรด ทท่ี ามาจากผกั ตบชวา ต้งั ประดบั ไวท้ โี่ ตะ๊ หมู่โดนเดน่ และอย่างสวยงาม สาหรบั ผลงาน พุ่ม สบั ปะรด ทาจากผกั ตบชวา เป็นฝีมอื ของอาจารยท์ เ่ี คยสอนตนเองมาก่อน จงึ ไดเ้ ชิญอาจารยใ์ ห้มาสอนหตั ถกรรม ผกั ตบชวาให้ชาวบา้ น ทบ่ี า้ นดนิ สอแห่งน้ี ต่อมาไดแ้ นะนาชกั ชวนชาวบา้ นในพ้ืนที่ ต.ตน้ ตาล อ.สองพน่ี อ้ ง เขา้ มาศึกษาเรียนรู้งานจกั สานผกั ตบชวา ซ่ึงงานหัตถกรรมผกั ตบชาวาเป็นงานฝีมอื ทน่ี าผกั ตบชวามาจกั สานเป็น โซฟากาละมงั 1 ตวั จะสามารถช่วยกาจดั ผกั ตบชวา ในแมน่ ้าคูคลองไดถ้ งึ 100 ตารางเมตร

รูปภาพท่ี 5 ผลงานของหมู่บา้ นดนิ สอ ต.ตน้ ตาล อ.สองพี่นอ้ ง จ.สุพรรณบุรี (ทมี่ า : https://www.banmuang.co.th/news/region.com )

• วธิ กี ำรสำนผักตบชวำ 1.เลือกตน้ ผกั ตบชวาที่มคี วามยาวพอประมาณ นาผกั ตบชวามาคกั เลือกกา้ นท่ีไม่สวยหรือกา้ นทไี่ ม่ได้ ขนาดทิ้ง ตดั ส่วนทเ่ี ป็นรากและใบทงิ้ 2.นามาลา้ งน้าและผงซกั ฟอกแลว้ ลา้ งน้าให้สะอาด 3.นาตน้ ผกั ตบชวาที่เตรียมไวไ้ ปตากแดด 4.เมื่อผกั ตบชวาแหง้ พอเหมาะสมแลว้ จงึ นาไปมดั เป็นมดั ๆ คมุ ดว้ ยพลาสตกิ เพอ่ื กนั ความช้ืน

16

รูปภาพที่ 6 ผกั ตบชวาทีแ่ ห้งและพรอ้ มสาน (ทีม่ า: https://sites.google.com/site/cakphaktbchwasunganhatthkrrm/home/) 5.นาผกั ตบชวาท่ีผ่าเป็น 4 ส่วน ตากแห้งแลว้ นามาพรมน้าให้ชมุ่ และถกั เป็นเปี ย 3 ให้ยาวพอกบั งานที่ ตอ้ งการกระเป๋ า 1 ใบ 6.นาผกั ตบชวาทเ่ี ป็นตน้ ตากแห้งแลว้ ประมาณ 75-85 ตน้ พรมน้า แลว้ ใชก้ รรไกรตดั ส่วนปลายและโคน ท้งิ เล็กนอ้ ย 7.นาหุ้นไมม้ าข้นึ ท่กี น้ หุม้ โดยวิธีสานลาย 1 (ขดั อนั ) 8.นาผกั ตบชวาท่ีผา่ เป็น 4 ส่วนมาทาเป็นไพรประมาณ 3-6 แถว 9.นาเปี ยท่ีถกั ไวเ้ ดนิ ขดั ตน้ เปี ยลาย 1 (ขดั อนั ) จนไดส้ ูงประมาณ 8-10 นิ้ว 10.นาตน้ ที่ผา่ 4 ส่วนมาทาไพรดา้ นบนประมาณ 4 แถว 11.เก็บปากกระเป๋ าโดยใชเ้ ข็มซอ้ นปลายผกั ตบชวาส่วนทยี่ าวเขา้ ไปในไพร แลว้ ใชม้ ดี หรือกรรไกรตดั ออก แลว้ นาออกจากห่นุ ไม้ 12.กระเป๋ าที่สานเสร็จแลว้ ไปตากใหแ้ ห้งแลว้ ทาแวนิช เพอ่ื เคลอื บเงากระเป๋ าและกนั เช้ือรา 13.นากระเป๋ ามาใส่สาย กระเป๋ าทีใ่ ส่สายเสร็จแลว้ เตรียมรอบผุ า้ 14.กระเป๋ าทีบ่ ุผา้ เสร็จแลว้ และเตรียมส่ง

17

• กำรสร้ำงรำยได้ ผกั ตบชวาทน่ี ามาแปรรูปเป็นเฟอร์นิเจอร์หรือของใชต้ ่างๆ ท่ีเสร็จเรียบรอ้ ยสวยงามแลว้ จะมรี าคาต้งั แต่

หลกั รอ้ ยถึงหลกั คร่ึงแสนกนั เลยทีเดียว ข้นึ อยตู่ ามขนาดและรูปแบบยากง่ายและระยะเวลาในการทา อย่างเช่น โซฟากาละมงั ที่มขี นาดใหญ่ 1 ตวั จะใชร้ ะยะเวลาในการถกั จกั สาน นานนบั เดอื น ผลิตภณั ฑโ์ ซฟากาละมงั จากผกั ตบชวา จึงมีราคาสูงอย่ทู ี่ ตวั ละ 35,000-50,000 บาท ส่วนโคมไฟรงั แตน ราคา 20,000-25,000 บาท โคม ไฟเล็กเร่ิมตน้ ทร่ี าคา 2,500–8,000 บาท และกระเป๋ าของใชต้ า่ งๆข้นึ อย่กู บั ขนาด ราคาเร่ิมตน้ ที่ 200-1,500 บาท

• กำรอนรุ ักษ์ภมู ิปัญญำไทย 1.ใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์เขา้ ร่วมการถกั สานในเวลาวา่ ง เรียนรูก้ ารสานผกั ตบชวา และช่วยทา ผลิตภณั ฑเ์ พอื่ จดั ส่งจาหน่าย 2.ชว่ ยอุดหนุนสินคา้ เพื่อกระจายรายไดใ้ หก้ บั ชาวบา้ น และมีทุนในการทาและขยายกจิ การตอ่ ไป 3.การเผยแพร่ภูมปิ ัญญาใหก้ บั ผสู้ นใจ และชว่ ยกระจายแหล่งเรียนรู้เพ่ือท่ีจะไดม้ ีคนสนใจในงาน หัตถกรรม และไดส้ ืบสานภมู ปิ ัญญาตอ่ ไป

จากบทความขา้ งตน้ ทาให้เหน็ วา่ ภมู ิปัญญาไทยน้นั เกิดจากการแกไ้ ขปัญหาของชาวบา้ นหรือคนใน ชุมชน โดยปัญหาคือการเห็นว่าผกั ตบชวามสี ่วนที่ทาใหแ้ หล่งน้าเน่าเสีย จึงไดร้ ่วมแรงร่วมใจกนั คิดแกป้ ัญหา และสุดทา้ ยก็สามารถใชว้ ิธีง่ายๆบา้ นๆโดยไมต่ อ้ งใชเ้ ครื่องมือมากมาย เพียงแคใ่ ชเ้ วลาและแรงกายเทา่ น้นั นอกจากน้ียงั ชว่ ยสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั คนในชุมชน และยงั สร้างความเป็นปึกแผน่ หรือความสามคั คีให้กบั คนใน ชมุ ชนดว้ ย และนีค่ อื ตวั อยา่ งของภูมิปัญญาไทย

18

บทสรุป ประเพณีและภูมิปัญญาไทย

ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปัญญาไทย คอื ส่ิงท่แี สดงถึงรากเหงา้ ของความเป็นไทย เราจึง ตอ้ งมคี วามรกั ความหวงแหน รวมถงึ อนุรักษแ์ ละสืบสานไวเ้ ป็นมรดกตกทอดใหค้ นรุ่นหลงั ไดน้ าไปใช้ และ ภาคภูมิใจในเอกลกั ษณ์อนั ดงี ามของไทย แตท่ ว่าปัจจบุ นั ส่ิงต่างๆเหล่าน้ีกบั เลือนหายไปพร้อมกบั มเี ทคโนโลยี ใหมๆ่ เขา้ มาแทนที่ จึงทาใหผ้ คู้ นไมเ่ ห็นความสาคญั เราก็เป็นคนไทยคนหน่ึงท่ีไม่อยากใหป้ ระเพณีเหลา่ น้นั สูญ หาย แต่วธิ ีอนุรกั ษก์ ม็ ีหลายๆอย่างแตกต่างออกไป เช่น

1. การคน้ ควา้ วิจยั ควรศกึ ษาและเก็บรวบรวมขอ้ มูลภมู ปิ ัญญาของไทยในดา้ นตา่ งๆ ของทอ้ งถิน่ จงั หวดั ภูมภิ าค และประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงภมู ิปัญญาท่ีเป็นภูมปิ ัญญาของทอ้ งถ่ิน มงุ่ ศกึ ษาให้รูค้ วามเป็นมาในอดตี และสภาพการณใ์ นปัจจบุ นั

2. การอนุรกั ษ์ โดยการปลกุ จติ สานึกให้คนในทอ้ งถน่ิ ตระหนกั ถึงคุณคา่ แกน่ สาระและความสาคญั ของ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั กจิ กรรมตามประเพณีและวฒั นธรรมต่างๆ สรา้ งจติ สานึกของความ เป็นคนทอ้ งถน่ิ น้นั ๆ ท่ีจะตอ้ งร่วมกนั อนุรกั ษภ์ มู ปิ ัญญาท่เี ป็นเอกลกั ษณ์ของทอ้ งถิ่น รวมท้งั สนบั สนนุ ใหม้ ี พพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถิ่นหรือพิพธิ ภณั ฑช์ ุมชนข้ึน เพื่อแสดงสภาพชีวติ และความเป็นมาของชมุ ชน อนั จะสร้างความรู้ และความภมู ใิ จในชุมชนทอ้ งถ่นิ ดว้ ย

3. การฟ้ื นฟู โดยการเลอื กสรรภูมปิ ัญญาทก่ี าลงั สูญหาย หรือท่ีสูญหายไปแลว้ มาทาใหม้ ีคุณค่าและมี ความสาคญั ต่อการดาเนินชีวติ ในทอ้ งถ่ิน โดยเฉพาะพ้นื ฐานทางจริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยม

4. การพฒั นา ควรริเริ่มสร้างสรรคแ์ ละปรบั ปรุงภูมปิ ัญญาใหเ้ หมาะสมกบั ยุคสมยั และเกิดประโยชน์ใน การดาเนินชีวติ ประจาวนั โดยใชภ้ มู ปิ ัญญาเป็นพ้ืนฐานในการรวมกลมุ่ การพฒั นาอาชีพควรนาความรูด้ า้ น วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยมี าชว่ ยเพอ่ื ต่อยอดใชใ้ นการผลิต การตลาด และการบริหาร ตลอดจนการป้องกนั และอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม

19

5. การถา่ ยทอด โดยการนาภมู ิปัญญาที่ผา่ นมาเลอื กสรรกลน่ั กรองดว้ ยเหตแุ ละผลอย่างรอบคอบและ รอบดา้ น แลว้ ไปถ่ายทอดใหค้ นในสังคมไดร้ ับรู้ เกดิ ความเขา้ ใจ ตระหนกั ในคณุ ค่า คุณประโยชนแ์ ละปฎิบตั ไิ ด้ อยา่ งเหมาะสม โดยผ่านสถาบนั ครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา และการจดั กจิ กรรมทางวฒั นธรรมตา่ งๆ

6. ส่งเสริมกจิ กรรม โดยการส่งเสริมและสนบั สนุนให้เกดิ เครือข่ายการสืบสานและพฒั นาภูมิปัญญา ของชุมชนตา่ งๆ เพอื่ จดั กจิ กรรมทางวฒั นธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ อยา่ งต่อเนื่อง

7. การเผยแพร่แลกเปลีย่ น โดยการส่งเสริมและสนบั สนุนให้เกดิ การเผยแพร่และแลกเปล่ยี นภูมิปัญญา และวฒั นธรรมอยา่ งกวา้ งขวาง โดยให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ต่างๆ ดว้ ยส่ือและวธิ ีการตา่ งๆ อย่าง กวา้ งขวาง รวมท้งั กบั ประเทศอืน่ ๆ ทว่ั โลก

8. การเสริมสร้างปราชญท์ อ้ งถน่ิ โดยการส่งเสริมและสนบั สนุนการพฒั นาศกั ยภาพของชาวบา้ น ผู้ ดาเนินงานใหม้ ีโอกาสแสดงศกั ยภาพดา้ นภมู ิปัญญา ความรู้ความสามารถอย่างเตม็ ที่ มีการยกยอ่ งประกาศเกยี รติ คณุ ในลกั ษณะต่างๆ

สืบสานใหค้ งอยตู่ อ่ ไป โดยการ ให้คนรุ่นใหมเ่ ขา้ มามสี ่วนร่วมอยา่ งสรา้ งสรรคค์ รบั เช่น การจดั ให้ เยาวชนในทอ้ งถนิ่ มสี ่วนร่วม กบั กิจกรรมท่ดี ๆี แลว้ พวกเขาเหลา่ น้นั รู้สึกภาคภมู ิใจ ท่ีไดม้ ีส่วนร่วม อาจจะเป็น กิจกรรมหารายไดส้ ร้างวดั หรือมกี ิจกรรมให้เด็กๆ ไดม้ าแสดงความสามารถ เชน่ อาจจะมี เวทดี นตรี กจิ กรรม กฬี า หรือเป็นเร่ืองอะไรกไ็ ด้ ทส่ี อดแทรก อยูใ่ นงานประเพณีของทอ้ งถ่ิน อย่างทหี่ มู่บา้ นทอ้ งถ่ิน(อดุ รธานี) ก็จะ มีเวทีแสดงดนตรี ในงานบญุ เทศกาลต่างๆ มกี ารจดั แขง่ กฬี า ของเยาวชนและคนในชุมชน สรุปก็คือ ดงึ คนรุ่น ใหมเ่ ขา้ มา โดยใชส้ ิ่งที่เขาสนใจ แลว้ เขารูส้ ึกภมู ิใจทไ่ี ดม้ สี ่วนร่วมในการอนุรกั ษป์ ระเพณี แต่ส่ิงทสี่ าคญั ท่ีสุด คือ ความต่อเนื่อง ของ การทากจิ กรรม แลว้ เดก็ ๆจะเฝา้ รออยา่ งใจจดใจจอ่ วา่ เมื่อไหร่จะไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมอกี คร้งั กบั การไดอ้ นุรกั ษป์ ระเพณีดงี าม

บรรณำนุกรม

ชาญวทิ ย์ ปรีชาพาณิชพฒั นา.(2559). สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม. สืบคน้ 19 กนั ยายน 2564, จาก https://sites.google.com/a/sapit.ac.th/sasithon-1/home เทนเซ็นต์ (ประเทศไทย) จากดั .(2563). วนั ลอยกระทง ประวตั ิเทศกาลลอยกระทง. สืบคน้ 19 กนั ยายน 2564, จาก http://event.sanook.com/day/loikrathong/ เทนเซ็นต์ (ประเทศไทย) จากดั .(2563). วนั ลอยกระทง 2564 ประวตั ิ ตานานและความเชื่อวนั ลอยกระทง. สืบคน้ 19 กนั ยายน 2564, จาก https://www.sanook.com/campus/910912/ นวกจิ บา้ นเมอื ง จากดั .(2564). สุพรรณบรุ ีผลิตภณั ฑผ์ กั ตบชวา สรา้ งรายไดใ้ หช้ มุ ชนตน้ ตาลหลกั ลา้ น. สืบคน้ 19 กนั ยายน 2564, จาก https://www.banmuang.co.th/news/region/238415 สนั ติ อภยั ราช.(2558). ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ การสานผกั ตบชวา.สืบคน้ 19 กนั ยายน 2564,

จาก http://sunti-apairach.com/04/04O.htm พรี ะพฒั น์ ศรีใจป้อ.สาธิตา สืบสิน.สุกญั ญา สุขย่ิง.(2561). วิธีการทากระเป๋ าจากผกั ตบชวา. สืบคน้ 19 กนั ยายน 2564, จาก https://sites.google.com/site/cakphaktbchwasunganhatthkrrm/home/withi-kar-tha-krapea-cak-phak- tb-chwa

ภำคผนวก

ภาพที่ 7 กระทงในปัจจุบนั (ที่มา: http://event.sanook.com/wp-content/uploads/2016/08/LoyKrathong1.jpg )

ภาพท่ี 8 การลอยโคมยีเ่ ป็ง (ที่มา:http://pe1.isanook.com/ns/0/rp/r/w700h420/ya0xa0m1w0/aHR0cDovL3BlMS5pc2Fub29rLmNvbS9ucy

8wL3VkLzI2MS8xMzA4OTIxLzQ5NDc2MS0wMS5qcGc=.jpg )

รูปที่ 9 รูปแบบการสานกระเป๋ าจากผกั ตบชวา (ทม่ี า: https://sites.google.com/site/cakphaktbchwasunganhatthkrrm/_/rsrc/1455305223248/home/withi-kar-

tha-krapea-cak-phak-tb-chwa/6.4.jpg?height=320&width=240 )

รูปที่ 10 การแพค็ ผลติ ภณั ฑเ์ พ่ือส่งขาย (ที่มา: https://sites.google.com/site/cakphaktbchwasunganhatthkrrm/_/rsrc/1455305317188/home/withi-kar-

tha-krapea-cak-phak-tb-chwa/10.jpg?height=187&width=320)