การหาความส ง ระยะไกล ส อง ว ดม ม

  • 1. สำา รวจ 1) หน่ว ยการเรีย นที่ 5 การ วัด ระยะจำา ลอง ใบความรู้ท ี่ 8 เรื่อ งการหาความสูง และการวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 2. อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 3. เมือไม่มกล้องวัดมุม ก็สามารถหาความสูงของสิ่งต่าง ๆ ่ ี ได้โดยประมาณดังนี้ • 1. จากรูปต้องการหาความสูง AB สมมุติเป็นความสูง ของเสาธง • 2. ใช้หลักขาวแดง (Pole) ปักทีจุด D โดยวัดระยะให้ ่ ห่างจากจุด B ให้เต็มข้อ เช่น 0.3000เส้นโซ่ • 3. นำาฟุตเหล็กมาผูกเข้ากับหลักขาวแดง โดยให้ ไม้บรรทัดสามารถกระดกขึ้นลงในแนวดิ่งได้ • 4. ยืนเล็งทีปลายหลักของ D โดยกระดกไม้บรรทัดเล็ง ่ ให้ตรงแนวจุด A (ยอดเสาธง) ตรงแล้วยึดให้แน่น นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 4. 5. หันตัวกลับไปยืนเล็งด้านหน้าตามแนวสัน ไม้บรรทัดเดิมกลับมายังพื้นดินได้ที่จุด C วัด • ระยะ DC สมมติวัดได้เท่ากับ 0.1100 เส้นโซ่ วัดระยะ DD′ ได้เท่ากับ 0.0300 เส้นโซ่ • 6. คำานวณหาความสูงของเสาธง AB ได้จาก สูตร ดังนี้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 5. อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 6. อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 7. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • มีลำาดับขั้นการปฏิบติงานดังนี้ ั นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 8. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 1. จากรูปต้องการวัดระยะ EF ซึ่งอยู่คนละฟาก แม่นำ้า • 2. ใช้จุด F เป็นจุดเล็งแนว กำาหนดจุด G ขึ้นใน แนวเส้นตรง EF แล้วปักห่วงคะแนนไว้ระยะ EG ต้องยาวกว่าระยะ EF • 3. ใช้จุด E เป็นจุดเล็งแนว กำาหนดจุด H ขึ้นใน สนามอยู่ในแนวเส้นตรง EG วัดระยะ EHให้เท่ากับ 3 ส่วน ในทีนให้เท่ากับ 0.1800 เส้นโซ่ แล้วปัก ่ ี้ ห่วงคะแนนไว้ • 4. ทีจุด E และจุด H ทำาแนวตั้งฉาก E I เพื่อ ่ กำาหนดจุด I โดยใช้หลักการของสามเหลี่ยม มุมฉาก โดยให้ดาน E I เท่ากับ 4 ส่วน ในทีนี้ ้ ่ สมมติเท่ากับ 0.2400 เส้นโซ่ และด้าน H I เท่ากับ นายมานัส ในทีนสมมติใอาจารย์แ0.3000 เส้นโซ่ ก็จะ 5ส่วน ยอดทอง ่ ี้ ห้เท่ากับ ผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 9. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 5. ในทำานองเดียวกันทีจุด E และจุด I ทำาแนวตั้ง ่ ฉาก I J เพือกำาหนดจุด J โดยใช้หลักการของ ่ สามเหลี่ยมมุมฉาก โดยให้ด้าน I J เท่ากับ 3 ส่วน ในทีนี้สมมติเท่ากับ 0.1800 เส้นโซ่ และด้านEJ ่ เท่ากับ 5 ส่วน ในทีนสมมติให้เท่ากับ 0.3000 ่ ี้ เส้นโซ่ ก็จะเกิดจุดตัด จุดตัดนั้นก็คือจุด J นั่นเองปัก ห่วงคะแนนไว้ • 6. แบ่งครึ่งระยะ E I คือเท่ากับ 0.1200 เส้นโซ่ ที่ จุด K โดยให้แนว EKI เป็นแนวเส้นตรงแล้วปักห่วง คะแนนไว้ • 7. กำาหนดจุด L โดยใช้จุด F เป็นจุดเล็งทำาการเล็ง แนวผ่านจุด K โดยใช้ห่วงคะแนนล่อในแนว I J ซึ่ง ทีจุด I จะมีคนเล็ง 1 คนเพื่อให้แนว I J L เป็นแนว ่ นายมานัตรง เมือตรงแนวแล้วให้ปักห่วงคะแนนไว้ก็จะ เส้น ส ยอดทอง ่ อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 10. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 8. ทำาการวัดระยะ I L สมมติวัดได้เท่ากับ 0.2560 เส้นโซ่ ซึงก็คือระยะ EF นั่นเอง แล้วบันทึกค่าลงใน ่ สมุดสนาม นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 11. สำา รวจ 1) หน่ว ยการเรีย นที่ 5 การ วัด ระยะจำา ลอง ใบความรู้ท ี่ 8 เรื่อ งการหาความสูง และการวัด ระยะทางข้า มแม่น ำ้า นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 12. อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 13. เมื่อไม่มีกล้องวัดมุม ก็สามารถหาความสูง ของสิงต่าง ๆ ได้โดยประมาณดังนี้ ่ • 1. จากรูปต้องการหาความสูง AB สมมุติเป็น ความสูงของเสาธง • 2. ใช้หลักขาวแดง (Pole) ปักที่จุด D โดย วัดระยะให้ห่างจากจุด B ให้เต็มข้อ เช่น 0.3000 เส้นโซ่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 14. อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 15. 3. นำาฟุตเหล็กมาผูกเข้ากับหลักขาวแดง โดยให้ไม้บรรทัดสามารถกระดกขึ้นลงใน แนวดิ่งได้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 16. 4. ยืนเล็งที่ปลายหลักของ D โดยกระดก ไม้บรรทัดเล็งให้ตรงแนวจุด A (ยอดเสาธง) ตรงแล้วยึดให้แน่น นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 17. 5. หันตัวกลับไปยืนเล็งด้านหน้าตามแนวสัน ไม้บรรทัดเดิมกลับมายังพื้นดินได้ที่จุด Cวัด ระยะ DC สมมติวัดได้เท่ากับ 0.1100 เส้นโซ่ วัดระยะ DD′ ได้เท่ากับ 0.0300 เส้นโซ่ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 18. 6. คำานวณหาความสูงของเสาธง AB ได้จาก สูตร ดังนี้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 19. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 20. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 1. จากรูปต้องการวัดระยะ EF ซึ่งอยู่คนละ ฟากแม่นำ้า • 2. ใช้จุด F เป็นจุดเล็งแนว กำาหนดจุด G ขึ้นในแนวเส้นตรง EF แล้วปักห่วงคะแนนไว้ ระยะ EG ต้องยาวกว่าระยะ EF นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 21. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 3. ใช้จุด E เป็นจุดเล็งแนว กำาหนดจุด H ขึ้นในสนามอยู่ในแนวเส้นตรง EG วัดระยะ EH ให้เท่ากับ 3 ส่วน ในที่นี้ให้เท่ากับ 0.1800 เส้นโซ่ แล้วปักห่วงคะแนนไว้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 22. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 4. ที่จุด E และจุด H ทำาแนวตั้งฉาก E I เพือกำาหนดจุด I ่ โดยใช้หลักการของสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยให้ด้าน E I เท่ากับ 4 ส่วน ในที่นสมมติเท่ากับ 0.2400 เส้นโซ่ และ ี้ ด้าน H I เท่ากับ 5ส่วน ในที่นี้สมมติให้เท่ากับ 0.3000 เส้นโซ่ ก็จะเกิดจุดตัด จุดตัดนั้นก็คือจุด I แล้วปักห่วง คะแนนไว้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 23. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 5. ในทำานองเดียวกันที่จุด E และจุด I ทำาแนวตั้งฉาก I J เพือกำาหนดจุด J โดยใช้หลักการของสามเหลี่ยมมุมฉาก ่ โดยให้ด้าน I J เท่ากับ 3 ส่วน ในที่นี้สมมติเท่ากับ 0.1800 เส้นโซ่ และด้านEJ เท่ากับ 5 ส่วน ในที่นี้สมมติให้ เท่ากับ 0.3000 เส้นโซ่ ก็จะเกิดจุดตัด จุดตัดนั้นก็คือจุด J นั่นเองปักห่วงคะแนนไว้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 24. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 6. แบ่งครึ่งระยะ E I คือเท่ากับ 0.1200 เส้นโซ่ ที่จุด K โดยให้แนว EKI เป็นแนวเส้น ตรงแล้วปักห่วงคะแนนไว้ นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 25. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 7. กำาหนดจุด L โดยใช้จุด F เป็นจุดเล็งทำาการเล็ง แนวผ่านจุด K โดยใช้ห่วงคะแนนล่อในแนว I J ซึ่ง ทีจุด I จะมีคนเล็ง 1 คนเพื่อให้แนว I J L เป็นแนว ่ เส้นตรง เมือตรงแนวแล้วให้ปักห่วงคะแนนไว้ก็จะ ่ ได้จุด L นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 26. ำ้า วิธ ีท ี่ 1 • 8. ทำาการวัดระยะ I L สมมติวัดได้เท่ากับ 0.2560 เส้นโซ่ ซึ่งก็คอระยะ EF นั่นเอง ื แล้วบันทึกค่าลงในสมุดสนาม นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ
  • 27. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มๆ ละ เท่าๆ กัน • 2. ปฏิบัติงานตามใบงานที่มอบหมายเป็นก ลุ่ม จำานวน 2 วิธี • 3. เมื่อปฏิบติงานเสร็จแล้วในแต่ละวิธีให้แจ้ง ั ให้ครูผู้สอนตรวจให้คะแนนต่อไป • 4. คะแนนคิดเป็นกลุ่มคือกลุ่มไหนได้คะแนน เท่าไหร่สมาชิกในกลุ่มจะได้คะแนนเท่ากัน ยกเว้นคนที่ไม่ช่วยสมาชิกในกลุ่มปฏิบัติงาน จะไม่ได้คะแนน นายมานัส ยอดทอง อาจารย์แผนกวิชาช่างสำารวจ