การว เคราะห ว จารณ พระราชน พนธ เร อง ม ทนะพาธา

พูด” พระราชนิพนธเ์ ร่ืองเอกของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่๖ี ไดร้ ับการยกย่องจาก

วรรณคดีสโมสรว่าให้”เป็นยอดของบทละครพดู คาฉันท”์ เป็นหนงั สือที่แต่งดี ใชฉ้ นั ทเ์ ป็นบทละครพูดซ่ึง

แปลกและแต่งไดย้ าก เป็นเร่ืองทีม่ ีตวั ละครและฉากสอดคลอ้ งกนั วฒั นธรรมภารตะโบราณและเขา้ กบั เน้ือ

เรื่องไดด้ ี ท้งั ยงั เลอื กถอ้ ยคาที่สื่ออารมณ์ความรูส้ ึกของตวั ละครไดด้ เี ยีย่ มตลอดจนมกี ารวางโครงเรื่องท่ีชวน

การว เคราะห ว จารณ พระราชน พนธ เร อง ม ทนะพาธา

นฤมล บัวขาว Download

  • Publications :0
  • Followers :0

ใบงานที่ 6 เรื่อง มัทนะพาธา 5.6

เรื่อง มัทนะพาธา พร้อมใบงาน 5.6

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

ใบงานที่ 6 เรื่อง มัทนะพาธา 5.6

ตำนำนรกั

มทั นะพำธำ

นางสาวมยุรี เทือกตา ครูชานาญการ โรงเรียนเถนิ วทิ ยา

คาแนะนาสาหรับผสู้ อน

๑ ผูส้ อนควรศกึ ษาและทาความเข้าเกี่ยวกับภมู ิหลงั ความ เป็นมา และเน้ือหาในวรรณคดี เรือ่ ง มทั นะพาธา

ผู้สอนควรค้นคว้าและศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวขอ้ งกบั วรรณคดี

๒ เรอ่ื ง มทั นะพาธาเพมิ่ เติมจาก หนังสอื เรียน ค่มู อื ครู และหนังสอื เสริมประสบการณต์ ่าง ๆ

ผ้สู อนชแี้ จงขน้ั ตอนและวิธีการการใช้ส่อื หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์

๓ โดยละเอียด เพ่ือให้ผเู้ รียนเขา้ ใจขนั้ ตอนและวิธีการใช้หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรือ่ งที่สอนในแตล่ ะช่ัวโมง

ในขณะท่ผี ู้เรยี นปฏิบัติกจิ กรรม ผู้สอนควรใหก้ ารดูแลผู้เรียน อย่างท่วั ถงึ และคอยใหค้ าแนะนาในกรณีท่ีผู้เรยี นไม่เขา้ ใจ อีกท้ังตอ้ ง

๔ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ ด้วยตวั ของผู้เรียนเอง

หลังจากท่ีผเู้ รยี นใช้สอ่ื หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) ผสู้ อน ควรสรปุ องคค์ วามรู้และเนื้อหาท่ีได้ หลงั จากท่ปี ฏบิ ัติกิจกรรมเสร็จ

๕ เพ่อื ให้ผู้เรยี นได้เข้าในเนอ้ื หาท่ีเรียนอย่างละเอียด

คาแนะนาสาหรบั ผูเ้ รียน

สื่อหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ เรอื่ ง มัทนะพาธา ประกอบด้วย คา นา สารบญั คาช้แี จงสาหรับผ้สู อน และผเู้ รียน เน้ือหาและความรู้

๑เร่อื ง มัทนะพาธา แบบฝึกหัด ใบกจิ กรรม

เมือ่ ผเู้ รยี นเปดิ ใช้สอื่ หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) เรอ่ื ง ๒ มัทนะพาธา ให้ผู้เรียนศกึ ษาคาแนะนาสาหรับผู้เรียนให้เข้าใจกอ่ น เร่ิมเข้าเน้ือหา

เมอื่ ผู้เรยี นศกึ ษาเน้อื หาความรู้ เร่อื ง มัทนะพาธา แลว้ ให้ ๓ นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดและกิจกรรมให้เสร็จทง้ั หมด โดยผู้เรยี นควร ตง้ั ใจทากิจกรรมการเรยี นรู้ต่างๆ ดว้ ยตนเอง

หากผูเ้ รียนมขี ้อสงสัยให้สอบถามผสู้ อนหรือผคู้ วบคมุ กิจกรรม ๔

การเรยี นการสอน

คำนำ

หนังสือเป็นสื่อท่ีครูใช้ถ่ายทอดความรู้ไปยังผู้เรียนและหนังสือเป็นสิ่งที่สาคัญต่อการ พัฒนาการเรียนรู้ แต่เน่ืองจากในปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีความก้าวหน้าขึ้น การเรียนรู้จึงไม่จากัดอยู่แค่ หนังสือท่ีเป็นเอกสารหรือสิ่งพิมพ์ แต่เป็นการนาเทคโนโลยีมาผลิตเป็นสื่อการสอน เรียกว่าหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOK) เป็นหนังสือท่ีใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวช่วยในการถ่ายทอดและเน่ืองจากเป็น หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์ท่ีมคี วามทันสมัยจึงมาพรอ้ มกับเทคนิคที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียน มากขึ้นและทาใหก้ ารเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ

ส่ือการสอนอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-BOOK) เรอ่ื งมทั นะพาธา เป็นเนื้อหาการเรียนรู้ในระดับชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ โดยจะประกอบไปดว้ ยเน้อื เรอื่ งมัทนะพาธา และมีส่ือประกอบการเรียนการสอนได้แก่ วีดิโอละคร เสียง อีกทั้งยังมีการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้และแบบฝึกหัดเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจอยากเรียนรู้และให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายและเข้าใจในเน้ือหา ยิ่งข้นึ

มยุรี เทอื กตา ผจู้ ดั ทา

เรอ่ื ง หนา้

แบบทดสอบก่อนเรยี น ๑ ภมู หิ ลังวรรณกรรม ๓

- ที่มาของมัทนะพาธา ๑๙ - เร่อื งย่อมัทนะพาธา ๒๐ - ประวัติผู้แต่ง ๒๑ แนะนาตัวละคร ๒๕ วดี ีทัศน์ : ตานานรกั มทั นะพาธา คาศัพท์ บทวิเคราะห์ มทั นะพาธา

เร่ือง หนา้

กิจกรรมเสรมิ ความรู้ : มทั นะพาธา ๘๗ ๓๖ ๘๘ ๘๙ - พินจิ พิชติ วรรณกรรม ๑๐๑ - ยอ่ ความตามหลักภาษา - จับใจความสาคญั หรรษา - บทฝึกอา่ นรอ้ ยกรอง กิจกรรมทบทวน แบบทดสอบหลงั เรียน แหล่งเรยี นร้เู พม่ิ เติม คณะผู้จัดทา

แบบทดสอบ ก่อนเรียน

ภมู ิหลัง วรรณกรรม

ท่มี ามทั นะพาธา

บทละครพูดคาฉนั ทเ์ ร่ือง มทั นะพาธาเป็นบทละครที่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธต์ าม จินตนาการของพระองค์ โดยทรงใหค้ วามสาคญั เรอื่ งความถกู ต้อง และความสมจริงในรายละเอยี ดของเรื่อง ทงั้ ชื่อเรื่อง ชือ่ ตัวเอกและ รายละเอยี ดต่าง ๆ เช่น ชอื่ เรอ่ื ง มทั นะพาธา แปลว่าความลุม่ หลง หรอื ความรกั และชอื่ นางเอกของเร่ืองมัทนะพาธามีความหมายวา่ ความเจ็บปวด และความเดือนร้อนเพราะความรกั ซึ่งตรงกับแก่นของ เร่ืองท่ชี ้ใี หเ้ หน็ โทษของความรกั

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงนา ละครพูดมาสวู่ งการวรรณกรรมไทยเป็นคร้ังแรก ทงั้ นี้เน้อื เรื่องเกดิ จากทรงสนพระทยั ในบทละครของวิลเลยี ม เชคส เปียร์ จงึ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดไวเ้ ปน็ จานวนมาก แตเ่ รือ่ งมัทนะพาธาหรือตานานดอกกหุ ลาบน้ี เป็นบทพระ ราชนพิ นธ์ทีเ่ ปน็ บทละครพูดคาฉันทเ์ พียงเรอ่ื งเดียว

โดยทรงเริม่ พระราชนิพนธเ์ ม่ือวนั ท่ี ๒ กนั ยายน ๒๔๖๖ ขณะทรงพระประชวร และประทบั บอ่ ย ณ พระราชวง พญาไท และทรงพระราชนิพนธ์เสร็จสมบูรณเ์ มื่อวนั ที่ ๑๘ ตลุ าคม ๒๔๖๖ นับได้วา่ ใชเ้ วลาเพยี ง ๑ เดือน ๑๗ วันเท่าน้นั และต่อมาคณะกรรมการวรรณคดสี โมสรไดย้ กย่องใหม้ ัทนะพาธา เป็นวรรณคดที ีแ่ ต่งได้ยอดเยีย่ ม

ทมี่ า http://arrow1203.blogspot.com/p/blog-page.html

เรือ่ งยอ่ บทละครพูดคฉนั ท์ มัทนะพาธา

สุเทษณเ์ ทพบตุ รเปน็ ทกุ ข์ดว้ ยความรักและลมุ่ หลง เทพธิดามัทนา แมจ้ ิตระรถผสู้ ารถคี ู่บารมีจะนารูปของเทพเทวีผู้เลอโฉมหลายต่อหลายองคม์ า ถวายให้เลอื กชม สเุ ทษณก์ ม็ ิสนใจใยดี จติ ระรถจึงนามายาวนิ วิทยาธร ผู้มีเวทมนตร์ แก่กล้ามาเขา้ เฝ้า สเุ ทษณจ์ ึงให้มายาวินใช้เวทมนตร์ เรียกนางมัทนามาหา เมอื่ มา หาแลว้ นางมัทนาก็มีอาการเหมอ่ ลอยไมม่ ีสติสมบรู ณ์ เพราะตกอยูใ่ นฤทธิม์ นตรา แตส่ ุเทษณ์ไมต่ ้องการได้นางดว้ ยวิธเี ยย่ี งนั้นจึงใหม้ ายาวนิ คลายเวทมนตร์ เมอื่ ครน้ั ได้สตแิ ล้วนางมัทนากป็ ฏเิ สธว่าไมม่ จี ิตเสนห่ า ไมว่ า่ สุเทษณ์จะเก้ียวพาราสี และ ราพันรกั อยา่ งไร นางกไ็ มส่ นใจ สุเทษณ์โกรธมากจึงจะสาปนางมัทนาใหไ้ ปเกดิ ในโลกมนุษย์

มัทนาขอให้นางไดไ้ ปเกดิ เปน็ ดอกไม้มีกล่นิ หอม สุเทษณเ์ ทพบตุ รจงึ สาป นางมัทนาใหไ้ ปเกิดเปน็ ดอกกหุ ลาบท่ี งามท้งั กลนิ่ ทัง้ รูปซ่งึ มแี ต่เฉพาะบนสวรรค์ ยังไมเ่ คยมีบนโลก มนษุ ย์โดยที่ในทกุ ๆ วนั เพ็ญ นางมัทนาจะกลายร่างเปน็ มนษุ ย์ได้ ๑ วัน ๑ คืน และถ้านางมคี วามรักเม่ือใดนางจะได้เป็นมนษุ ย์ ตลอดไป โดยไม่ตอ้ งคนื รูปเป็นกหุ ลาบอีก แตน่ างจะได้รบั ความ ทกุ ข์ทรมานเพราะความรกั จนมิอาจทนอยไู่ ด้ และเมื่อน้นั ถ้านาง ออ้ นวอน ขอความช่วยเหลือ สเุ ทษณจ์ ึงจะงดโทษทัณฑ์นี้ใหแ้ ก่ นางและรับนางมัทนากลบั ไปสู่สวรรค์

เรื่องย่อ บทละครพดู คฉนั ท์ มทั นะพาธา

นางมทั นาไดไ้ ปจุติเป็นกุหลาบงามอย่ใู นปา่ หมิ ะวัน จนกระทง่ั บรรดาศษิ ย์ของฤาษีนามกาละทรรศิน มาพบเขา้ จงึ นาความไปบอก พระอาจารย์ ฤาษีกาละทรรศินจงึ สงั่ ให้ขุดค้นกุหลาบไปปลกู ใน บรเิ วณ อาศรมของตน ในขณะที่จะทาการขุดก็มีเสยี งผ้หู ญิงร้อง กาละทรรศินเลง็ ญาณดูกร็ ู้ว่าเป็นเทพธิดามาจุติ จึงได้ เอย่ เชญิ และสญั ญาว่า จะคอยดูแล ปกป้องสืบไป การขุดจึงสาเรจ็ ได้ด้วยดี

เดือนหนึง่ ในคนื วันเพญ็ ทา้ วชยั เสนกษัตริยแ์ ห่งหัสตนิ าปรุ ะได้ เสดจ็ ออกลา่ สตั ว์ ในปา่ หมิ ะวันและได้แวะมาพักทีอ่ าศรมพระฤๅษี ครนั้ ได้ เห็นนางมทั นาในโฉมของนารี ผงู้ ดงามก็ถงึ กับตะลึงและตกหลมุ รัก จนถึงกบั รับส่ังให้มหาดเล็กปลกู พลับพลาพักแรมไว้ใกลๆ้ อาศรมนัน้ ทนั ที แล้ว ท้าวชัยเสนได้แตร่ าพงึ ราพนั ถึงความรกั อันลึกซ้ึงท่มี ตี ่อนางมัทนา

คร้ันเมอ่ื นางมัทนาออกมาทีล่ านหน้าอาศรม มองไมเ่ ห็นผูใ้ ด เพราะท้าวชัยเสนหลบไปแฝงอย่หู ลัง ต้นไม้ นางมทั นาจึงได้พรรณนาถึงความรักทีเ่ กิดขน้ึ ในใจ อย่างท่วมท้นตอ่ ท้าวชัยเสนบา้ ง ท้าวชยั เสนซึ่งหลบอย่จู งึ ได้สดบั ฟงั ทกุ ถ้อยคาจงึ เผยตวั ออกมา ทงั้ สองจงึ กลา่ วถงึ ความร้สู ึกอนั ล้าลกึ ในใจท่ีตรงกัน จนเขา้ ใจในรกั ท่มี ตี ่อกัน

จากคา่ คืนถึงยามรงุ่ อรณุ

เรื่องยอ่ บทละครพูดคฉันท์ มทั นะพาธา

ทา้ วชยั เสนจงึ ทรงประกาศหมัน้ และคาสัญญารกั ณ รมิ ฝัง่ ลาธารใกล้อาศรมนนั้ นางมัทนาจึงยังคงมรี ปู เป็นนารีผงู้ ดงามไม่ต้องกลาย รูปเปน็ กหุ ลาบอีกต่อไป ทา้ วชัยเสนได้ทูลขอนางมัทนาจากพระฤๅษี พระฤๅษกี ็ยกให้ โดยใหจ้ ัดพธิ บี ูชาทวยเทพและพิธีวิวาห์ ในปา่ นั้นเสยี ก่อน เมือ่ กลับถึงวังทา้ วชยั เสนกม็ ไิ ดเ้ สด็จไปยังพระตาหนักข้างใน ด้วยว่ายงั ทรงประทับอย่แู ต่ในอุทยานกบั นางมัทนา พระนางจณั ฑซี ่งึ เปน็ มเหสใี ห้ นางกานลั มาสบื ดูจนรวู้ า่ พระสวามี นาสาวชาวปา่ มาดว้ ยจงึ ตามมาพบ ท้าวชัยเสนกาลงั อยกู่ บั นางมัทนา เมื่อพระนางจัณฑ์เจรจาค่อนขอดดู หมน่ิ นางมทั นา ทา้ วชยั เสนกก็ ริ้วและทรงดดุ า่ วา่ เปน็ มเหสผี รู้ ิษยา พระนางจับแค้นใจจึงใหค้ นไปทลู ฟอ้ งพระบิดาผู้เปน็ เจ้า แหง่ มคธนครให้ ยกทัพมาทาศึกกบั ทา้ วชัยเสน หลังจากนั้นนางจณั ฑกี ็ไดค้ บคดิ กับนาง ค่อมอราลแี ละใหว้ ทิ ูรพราหมณห์ มอเสนห่ ์ทาอบุ ายกล่นั แกลง้ นางมัทนา

โดยสง่ หนงั สอื ไปทูลท้าวชัยเสนวา่ นางมัทนาปว่ ย

ครั้นเม่อื ทา้ วชยั เสน รบี เสดจ็ กลับมาเย่ียมนางมัทนา ก็กลับ พบหมอพราหมณ์กาลงั ทาพธิ ีอยู่ใกล้ๆ ต้นกหุ ลาบ วทิ ูรกับนางเกศินี ข้าหลวงของนางจณั ฑจ์ ึงทูลใส่ความว่า นางมัทนาสงั่ ใหท้ าเสนห่ เ์ พอื่ ให้ นางไดร้ ว่ มช่นื ชูสมสกู่ บั ศภุ างค์ทหารเอกของท้าวชัยเสน ท้าวชัยเสน กร้ิวมากรบั สั่งให้ศุภางค์ประหารชวี ิตนางมัทนา แต่ศุภางคไ์ ม่ยอม ท้าวชยั เสนจงึ สั่งใหป้ ระหารชีวิตเสยี ทงั้ คู่

เร่อื งย่อ บทละครพดู คฉันท์ มัทนะพาธา

พระนางจณั ฑีได้โอกาสรีบเข้ามาทลู ว่าคนจะอาสาออกไป หา้ มศกึ พระบิดาซง่ึ คงเขา้ ใจผิดวา่ นางจณั ฑกี บั ทา้ วชัยเสนน้นั บาดหมาง กัน แต่ท้าวชยั เสนตรสั ว่าทรงร้ทู ันอบุ าย ของนางจณั ฑที คี่ ิดก่อศกึ ขนึ้ แล้ว จะหา้ มศึกเอง พระองค์จะขอออกทาศึกอกี คราแล้วตัดหัวกษัตรยิ ์มคธ ผูเ้ ป็นพอ่ ตา แลว้ นามาใหน้ างจณั ฑีผคู้ ดิ ขบถต่อสวามีตนเอง

ขณะทต่ี ้งั ค่ายรบอยูท่ น่ี อกเมอื ง วิทรู พรหมณ์เฒ่าไดม้ า ขอเข้าเฝา้ ทา้ วชัยเสน เพอื่ สารภาพความทง้ั ปวงว่าพระนางจณั ฑเี ป็น ผูว้ างแผนการร้ายทงั้ หมด ซึง่ ในท่ีสดุ แลว้ ตนสานึกผดิ และละอายตอ่ บาปทเ่ี ปน็ เหตุใหค้ นบริสทุ ธติ์ อ้ งไดร้ บั โทษประหาร

ท้าวชยั เสนทราบความจริงแล้วคงั่ แคน้ จนดาริจะแทง ตนเองใหต้ าย แต่อามาตยน์ นั ทวิ รรธนะเข้ามาห้ามไวท้ นั และสารภาพ ว่าในคนื เกดิ เหตุนน้ั ตนละเมดิ คาส่ังมิได้ ประหารศภุ างคแ์ ละ นางมัทนาหากแต่ไดป้ ลอ่ ยเข้าปา่ ไป ซงึ่ นางมัทนาน้นั ไดโ้ สมะทัตศษิ ย์ เอกของฤาษีกาละทรรศินนาพากลบั ไปสู่อาศรมเดิม ส่วนศุภางค์น้ันได้ แฝงกลับเข้าไปรว่ มกบั กองทพั แล้วออกตอ่ ส้กู ับขา้ ศึกจนตัวตาย

เร่อื งย่อ บทละครพดู คฉนั ท์ มัทนะพาธา

ท้าวชัยเสนจึงรับส่งั ให้ประหารทา้ วมคธ ท่ถี ูกจบั มา เปน็ เชลยไวก้ อ่ นหนา้ นั้นแล้ว สว่ นพระนางจญั ทีมเหสนี น้ั ทรงให้ เนรเทศออกนอกพระนครดว้ ยทรงเห็นว่า อนั นารีผู้มใี จมงุ่ ร้ายต่อ ผู้เป็นสามีก็คงต้องแพภ้ ัยตนเอง

ฝ่ายนางมทั นาน้ันไดท้ าพิธบี ชู าเทพและออ้ นวอน ขอรอ้ งใหส้ ุเทษณเ์ ทพบุตรมาชว่ ยนาง สุเทษณ์เทพบตุ รนน้ั กย็ ินดี จะแก้คาสาปและรับนางเป็นมเหสี แต่นางมัทนาก็ยงั คงปฏเิ สธ และอา้ งวา่ อันนารีจะมีสองสามีไดอ้ ยา่ งไร สุเทษณ์เทพบตุ รเห็น ว่า นางมัทนายงั คงปฏเิ สธความรกั ของตนจงึ กริว้ มาก จงึ สาปสง่ ให้นางมทั นากลายเปน็ ดอกกหุ ลาบไปตลอดกาล มิอาจกลายร่าง เปน็ มนุษยไ์ ดอ้ กี ตอ่ ไป

เม่อื ท้าวชัยเสนตามมาถงึ ในปา่ นางปริยมวะทาท่ตี ามมา ปรนนิบตั ิดูแลนางมัทนา ด้วยกท็ ลู เลา่ ความทัง้ ส้นิ ให้ทรงทราบ ทา้ วชยั เสนจึงร้องไห้ดว้ ยความอาลัยรักแลว้ ขอใหพ้ ระฤาษีช่วย โดยใชม้ นตราและกล่าวเชิญนางมัทนาใหย้ นิ ยอมกลบั เขา้ ไปอยู่ยงั

เวยี งวังกบั ตนอกี ครงั้

เร่อื งย่อ บทละครพดู คฉนั ท์ มทั นะพาธา

เม่อื พระฤาษีทาพิธแี ล้ว ท้าวชยั เสนก็ราพนั ถงึ ความหลงผดิ และความรกั ที่มีตอ่ นางมัทนาใหต้ ้นกหุ ลาบไดร้ ับรู้ จากนน้ั จึงสามารถขดุ ค้นกหุ ลาบไดส้ าเร็จ ทา้ วชัยเสนได้นา ต้นกุหลาบข้นึ วอทองเพือ่ นากลบั ไปปลกู ในอุทยานและขอให้ฤาษี กาละทรรศนิ ใหพ้ รวิเศษว่า กหุ ลาบจะยังคงงดงามมโิ รยรา ตราบจนกวา่ ตวั พระองคเ์ องจะส้นิ อายุขัย พระฤาษีกอ็ วยพรให้ดงั ใจ และประสิทธ์ิประสาทพรใหก้ ุหลาบนั้นดารงอย่คู โู่ ลกน้ีมีมสี ูญพนั ธ์ุ อีกทั้งยงั เปน็ ไมด้ อกท่ีมีกลนิ่ อนั หอมหวาน สามารถช่วยดับทุกข์ ในใจคนและดลบันดาลให้ จิตใจเบกิ บานเปน็ สขุ ได้ ดังนัน้ ชายหญิง เมอ่ื มีความรกั จึงมกั ใชด้ อกกุหลาบเปน็ สญั ลักษณ์แห่งความรัก ตลอดมา

สารบญั

ประวตั ิ พระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัว

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู ัว เปน็ กษตั ริยพ์ ระองคท์ ี่ ๖ แห่งพระบรมราชจกั รีวงศ์ เสดจ็ พระราชสมภพเม่อื วันเสาร์ เดือนยี่ ขนึ้ ๒ ค่า ปมี ะโรง จลุ ศักราช ๑๒๔๒ เวลา ๘ นาฬกิ า ๕๕ นาที ตรงกับวนั ท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ เปน็ พระราชโอรสพระองคท์ ่ี ๒๔ ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั และพระองค์ที่ ๒ ในสมเด็จพระศรพี ัชรินทราบรมราชนิ ีนาถ

ประวตั ิ พระบาทสมเด็จ

พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั

ใน พ.ศ. ๒๔๔๗ ไดผ้ นวชตามโบราณราชประเพณี ณ พระอุโบสถวัดพระศรรี ัตนศาสดาราม ประทบั จาพรรษาที่ วดั บวรนิเวศวหิ าร ๑ พรรษา ทรงไดร้ บั สมณฉายาจากสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระราชอปุ ธั ยาจารย์ วา่ “วชริ าวุโธ”

เม่ือพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั สวรรคตในวนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ.๒๔๕๓ สมเด็จพระบรม โอรสาธิราช เจ้าฟา้ มหาวชริ าวธุ สยามมกุฎราชกมุ ารไดเ้ สด็จ เถลงิ ถวัลยราชสมบัติสบื แทนเมอื่ เวลา ๐.๔๕ นาฬกิ า ทรงพระนามวา่ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชริ าวุธ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว

ประวัติ พระบาทสมเดจ็

พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั

มพี ระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษกจดั เปน็ ๒ งาน คือ งานพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกเฉลมิ พระราชมนเทียร เม่ือวนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๓ และงาน พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภชเมือ่ วันท่ี

๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๔

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงพระประชวรด้วยโรคทางเดนิ อาหารขัดข้อง ได้มีประกาศในราชกิจจานเุ บกษาว่าทรงพระประชวร ด้วยโรคพระโลหิตเป็นพิษในพระอุทรมาตง้ั แต่วนั ท่ี ๑๒

พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๔๖๘

และสวรรคต ณ พระที่นั่งจักรพรรดพิ ิมาน เมอื่ วนั ที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๘ เวลา ๑ นาฬกิ า ๔๕ นาที พระชนมพรรษา เปน็ ปที ี่ ๔๖ เสด็จดารงสริ ริ าชสมบตั ิได้ ๑๕ พรรษา

ผลงาน พระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั

ประเภทประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดี – เท่ยี วเมืองพระร่วง สนั นษิ ฐานเรอ่ื งพระรว่ ง เท่ยี วเมอื งอยี ิปต์ สนั นิษฐาน เรอ่ื งทา้ วแสนปม ฯลฯ ประเภทบทละคร - หวั ใจนกั รบ พระร่วง ตามใจท่าน โรมโิ อและจูเลยี ต เวนชิ วาณชิ ฯลฯ

ประเภทธรรมะ - เทศนาเสือปา่ พระพทุ ธเจ้าตรัสรู้ อะไร พระบรมราโชวาทในงานวิสาขบูชา ฯลฯ

ประเภททหาร - การสงครามปอ้ มคา่ ยประชดิ พันแหลม ความเจรญิ แห่งปืน ฯลฯ

ประเภทวรรณคดี - พระนลคาหลวง นารายณส์ ิบปาง ศกุนตลา มัทนะพาธา ฯลฯ

ผลงาน พระบาทสมเดจ็

พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว

ประเภทการเมือง - ความกระจดั กระจายแห่งเมือง จนี การจราจลในรัสเซีย ปกณิ กคดขี องอัศวพาหุ

ประเภทสขุ วทิ ยา - กันปว่ ย

ประเภทนทิ าน - นิทานทองอนิ นิทานทหารเรือ นิทานชวนขนั ฯลฯ

ประเภทปลุกชาติ - เมืองไทยจงต่นื เถดิ ยิวแห่งบรู พาทิศ ปลุกใจเสอื ป่า โคลนตดิ ลอ้ ลทั ธเิ อาอย่าง

ประเภทกฎหมาย - กฎหมายทะเล หัวขอ้ กฎหมายนานาประเทศแผนกคดเี มือง

ผลงาน พระบาทสมเดจ็

พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู ัว

พระองคท์ รงอตุ สาหะพระราช นิพนธ์หนงั สือตา่ งๆ แล้วยงั โปรดให้ต้งั วรรณคดสี โมสร เพ่อื สง่ เสริมการประพันธ์ ดา้ นภาษาไทย นอกจากนย้ี ังไดท้ รงออก หนังสอื พิมพต์ า่ งๆ หลายฉบับด้วยกนั เชน่ ทวีปัญญา เมอื่ คร้งั ตั้ง ทวีปญั ญาสโมสร ในสมัยก่อนขึน้ ครองราชย์ และสมยั ที่ เสวยราชสมบัติแล้วหนังสือพิมพ์ ท่มี ชี ือ่ เสียงคือ ดุสติ สมิต ในการพระราชนพิ นธ์หนังสอื ตา่ งๆ พระองคท์ รงใชท้ ้ังพระนามจริง และพระนามแฝงในโอกาสต่างๆ ดังนี้

ผลงาน พระบาทสมเด็จ

พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั

เรอ่ื งเกีย่ วกบั การเมอื งและบทปลกุ ใจ

ใชพ้ ระนามแฝงว่า อัศวพาหุ

สาหรับบทละคร ใชพ้ ระนามแฝงว่า

ศรอี ยธุ ยา นายแก้วนายขวัญ พระขรรค์เพชร

สาหรับบันเทิงคดีและสารคดีตา่ งๆ ทท่ี รง แปลจากภาษาตา่ งประเทศ ใชพ้ ระนามแฝง

ว่า รามจิตติ

สาหรับเรื่องทีเ่ กย่ี วกบั ทหารเรือ ใช้

พระนามแฝงวา่ พันแหลม

สาหรบั นทิ านตา่ งๆ ใช้พระนามแฝง

ว่า นอ้ ยลา สุครพี

สารบญั

มารู้จักตวั ละครกันเถอะ

มัทนะพาธา ท้าวชยั เสน

พระนางจณั ฑี สเุ ทศน์

มารู้จกั ตัวละครกันเถอะ

พระฤษกี าละทรรศิน มายาวิน

นางค่อม พระบดิ านางจณั ฑี

มาร้จู กั ตัวละครกันเถอะ

ศิษย์ฤาษี ศภุ างค์

วดี ีทศั น์ : ตานานรกั มัทนะพาธา

สารบัญ

สารบญั

คาศพั ท์ ความหมาย

กระบิดกระบวนความ พดู อย่างมชี ั้นเชิง กระลงิ จับ,ถอื กละ กุพชกะ เล่หเ์ หลีย่ ม ดอกกุหลาบมาจากคาว่า กุพฺชก ในภาษา คร่าห์ สนั สกฤต คู่สะมร ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี จระ ค่รู ักมาจากคู่สมรส ดนุ ตนุ ไป, เทย่ี วไป ดรุณี ฉัน ขา้ พเจ้า พี่ ธาดา หญิงอันเปน็ ทร่ี ัก

นระ พระพรหม มกั เรียกวา่ ท้าวธาดา หรอื จตรุ ประจิต พกั ตร์ ก็เรยี ก ประดิพัทธ์ คน , ชาย ประตชิ ญา สรา้ ง ประระเศรษฐะ จติ ใจรกั ใครช่ อบพอ คามั่นสญั ญา ประเสริฐ

คาศพั ท์ ความหมาย

พะจี คาพดู มาจาก พจหี รือ วจี

พงั ภณิ แตกสลาย

พลิ าป ครา่ ครวญ แลดู พิศะ รสหวาน ไพเราะ มธุรส จิตใจ มโนวิญญาณ เทวดา มรุ ละทิ้ง มละ ดอกไม้ มาลศิ คนป่า มิลกั ขู ดู ยล ขา่ ว ขอ้ ความเรื่องราว ยบุ ล ชายหนมุ่ ยวุ ะ ดอกไม้ ยวุ ะมาลย์ ความรกั ระตี รูปงาม ลาเพาพักตร์ ถ้อยคาอนั ไพเราะ วรพจน์

คาศัพท์ ความหมาย

วะธุ หญิงสาว

วาที คาพูด

ศัลยะ ลกู ศร การอา้ งสิ่งศักดิ์สทิ ธิใ์ หล้ งโทษตน สบถ สมใจ สมจนิ เปน็ คากลา่ วเมอ่ื จบการเสกเป่า สวาหาย ไมไ่ ด้สติ สิ้มสมฤดี ดวงดาว สุดารา นางสวรรค์ นางฟ้า สุรางค์ ท่อี ยขู่ องเทวดา สุราลยั นางผนู้ ่ารกั ใครอย่างยิ่งมาจากอภริ ดี อภิระดี อก อุราบ คาพดู ไมไ่ พเราะ อวุ าทา

สารบญั

คุณค่าทไ่ี ด้รบั จากเรอ่ื งมทั นะพาธา

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

๑.มกี ารใชภ้ าพพจน์แบบอุปมา ได้อย่างแนบเนียนทาให้

ผู้อ่านเกดิ จนิ ตภาพได้อย่างชัดเจน เชน่ การใช้ภาพพจนแ์ บบอุปมา

เปรยี บเทยี บโทษแหง่ ความกั น้ี

ความรกั เหมอื นโรคา บันดาลตาให้มืดมน

ไม่ยินและไมย่ ล อปุ สรรคใดใด

ความรักเหมอื นโคถึก กาลังคกึ ผขิ ังไว้

ก็โลดออกจากคอกไป บ ยอมอยู่ ณ ท่ีขัง

ถงึ หากจะผกู ไว้ กด็ งึ ไปดว้ ยกาลัง

ย่งิ ห้ามก็ย่งิ คล่ัง บห่ วนคิดถึงเจ็บกาย

การใช้ภาพพจน์แบบอุปมา กล่าวถึงความงามของ

มทั นะพาธา

รปู เจ้าวิไลราว สุระแสรง้ ประจติ ประจกั ษ์

มคิ วรจะร้างรัก เพราะพะธพู ถิ พี ิถนั

คณุ ค่าทีไ่ ดร้ บั จากเร่ืองมทั นะพาธา

คุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์ ๒. การใช้รูปแบบฉันทลักษณ์ที่เหมาะสมในการ

ประพันธ์เน้ือเร่ือง ในเร่ืองน้ีถ้าดาเนินเร่ืองอย่างรวดเร็วจะใช้ร้อย แก้ว ถ้าต้องการจังหวะเสียงและความคล้องจองจะใช้คาประพันธ์ ประเภทกาพย์และเพ่ือเน้นอารมณ์ความรู้สึกมากก็จะใช้ฉันท์ ดัง ตอนท่ี สุเทษณต์ ดั พอ้ นางมัทนา และนางมัทนาเจรจาโต้ตอบซ่ึงใช้ วสนั ตดิลกฉนั ท์ ทาใหม้ ีจงั หวะรวดเร็ว เสริมการโตต้ อบให้ลีลาฉับไว ดงั น้ี สเุ ทษณ์ : รกั จรงิ มิจริงฤก็ไฉน อรไทบ่แจง้ การ? มทั นา : รักจริงมจิ ริงก็สุระชาญ ชยะโปรดสถานใด? สุเทษณ์ : พี่รกั และหวังวธรุ ะรัก และบทอดทิ้งไป? มทั นา : พระรกั สมัครณพระหทัย ฤจะทอดจะทง้ิ เสยี ? สุเทษณ์ : ความรกั สมัครณพระหทัย เพราะมิอาจจะคลอเคลยี มทั นา : ความรักระทดอรุ ะละเห่ยี ฤจะหายเพราะเคลียคลอ สเุ ทษณ์ : โอ้โอก๋ ระไรนะมะทะนา บมิตอบพะจพี อ? มทั นา : โอ้โอ๋กระไรอะมระงอ้ มะทะนามพิ อดี

คุณค่าท่ีไดร้ บั จากเรื่องมัทนะพาธา

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

๓. การใช้โวหารในการตัดพ้อเก่ียวกับความรักระหว่าง

เทพบุตรสุเทษณ์และนางมัทนาแสดงการใช้รสวรรณคดีแบบนารี

ปราโมทย์ที่ไพเราะและสละสลวยมาก แสดงถึง ความรักที่สุเทษณ์

เทพบุตรมีต่อนางมัทนาอยา่ งล้นพน้ ดังนี้

อา้ ยอดสเิ นหา มะทะนาวสิ ทุ ธศิ รี,

อย่าทรงพระโศกี วรพกั ตร์จะหม่นจะหมอง.

พีน่ น้ี ะรักเจา้ และจะเฝา้ ประคับประคอง

คู่ชิดสนทิ น้อง บม่ ิให้ระคางระคาย.

พรี่ ักวะธุนวล บ่มิควรระอาละอาย,

อนั นารกิ ับชาย ฤกค็ วรจะร่วมจะรกั .

รปู เจา้ วิไลราว สรุ ะแสรง้ ประจติ ประจักษ์,

มิควรจะร้างรกั เพราะพะธพู ิถีพถิ ัน;

ธาดาธสรา้ งองค์ อรเพราะพสิ ทุ ธิสรรพ์

ไว้เพ่ือจะผูกพัน ธนะจิตตะจองฤดี.

อนั พ่สี ิบญุ แล้ว ก็เผอญิ ประสบสรุ ี

คุณค่าท่ีไดร้ บั จากเร่ืองมัทนะพาธา

คุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์

๔. การใชถ้ อ้ ยคาทสี่ น้ั และกะทัดรัดแตส่ ามารถส่ือความ

ได้ครบถ้วน ดังพิจารณาได้จากคาอธิบายคุณสมบัติของกุหลาบท่ี

มายาวินทูลแนะนาสุเทษณ์ เน้นการใช้ภาษาท่ีอธิบายลักษณะของ

กหุ ลาบได้อยา่ งชัดเจน ดังนี้

มายาวนิ ไมเ้ รยี กผะกากุพฺ ชะกะสอี รุณแสง

ปานแกม้ แฉล้มแดง ดรุณณี ยามอาย;

ดอกใหญแ่ ละเกสร สวุ คนธะมากมาย,

อยทู่ นบวางวาย มธรุ สขจรไกล;

อีกท้งั สะพร่ังหนาม ดจุ ะเขม็ ประดับไว้

ผงึ้ เขยี วสิบินไขว่ บมิใครจ่ ะหา่ งเหิน.

อนั กพุ ชฺ ะกาหอม บรโิ ภคอร่อยเพลิน,

รสหวานสิหวานเชิญ นรล้มิ เพราะเลิศรส;

กินแล้วระงับตรี พิธะโทษะหายหมด,

คอื ลมและดลี ด ทษุ ะเสมหะเสอ่ื มสรรพ์;

อีกทัง้ เจรญิ กา- มะคุณาภิรมยน์ ันท์,

เย็นในอุราพลัน, และระงับพยาธ.ี

(อินทรวเิ ชียรฉันท์ ๑๑)

คณุ ค่าท่ไี ดร้ ับ จากเร่ืองมัทนะพาธา

คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ ๕. การใช้ภาษาโตต้ อบระหวา่ งตวั ละครก็ใช้ภาษาท่ีเข้า

ได้งา่ ย ทาให้ลกั ษณะของการสนทนาดสู มจรงิ ดังนี้ มทั นา

เทวะ,อันข้านีไ้ ซร้ มานี่อยา่ งไร บทราบสานกึ สกั นดิ ; จาได้ว่าข้าสถิต ในสวนมาลศิ และลมราเพยเชยใจ แตอ่ ย่ดู ีดที นั ใด บงั เกดิ รอ้ นใน อุระประหนงึ่ ไฟผลาญ, ร้อนจนสุดทท่ี นทาน แรงไฟในราน ก็ล้มลงส้ินสมฤดี. ฉนั ใดมาได้แหง่ นี้? หรือวา่ ไดม้ ี ผู้ใดไปอมุ้ ขา้ มา? ขอพระองคจ์ งเมตตา และงดโทษขา้ ผบู้ กุ รุกถงึ ลานใน. สเุ ทษณเ์ ทพบตุ ร อ้าอรเอกองคอ์ ไุ ร พ่ีจะบอกให้ เจา้ ทราบคดดี งั จินต์; พเ่ี องใช้มายาวนิ ให้เชิญยุพนิ มาท่ีนีด้ ว้ ยอาถรรพณ์

ขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ าก เร่อื งมทั นะพาธา

๑. ความรักมที ง้ั คณุ และโทษ ความรักมีประโยชน์ทาใหจ้ ติ ใจแชม่

ชนื่ มีความสุขและเม่อื ผิดหวังพลาดรกั อาจทาใหเ้ กิดโทษได้ ถา้

ปล่อยให้ความรักนัน้ เป็นความหลงขาดสติพจิ ารณา ไตรต่ รองอาจ

ทาใหต้ นเองและผทู้ ่ีเกีย่ วข้องเดือดร้อนได้ ดงั วา่

ความรกั เหมอื นโรคา บันดาลตาให้มืดมน

ไมย่ นิ และไมย่ ล อปุ สรรคใดใด

ความรกั เหมอื นโคถึก กาลงั คกึ ผขิ งั ไว้

ก็โลดออกจากคอกไป บ ยอมอยู่ ณ ท่ีขัง

ถึงหากจะผูกไว้ กด็ ึงไปดว้ ยกาลงั

ยง่ิ ห้ามก็ยิ่งคล่ัง บหวนคิดถงึ เจบ็ กาย

๒. ความรักที่แท้จริงควรเกิดจากใจบริสุทธิ์ บทละครพูดคาฉันท์

เรื่องมัทนะพาธามีสาเหตุมาจากความรักของสุเทษณ์เทพบุตรท่ีมี

ต่อนางมัทนาความรักของสุเทษณ์เป็นความรักท่ีเห็นแก่ตัวแฝงไป

ด้วยความอยากครอบครอง มิได้เสียสละและเข้าใจความรักอย่าง

แท้จริง ความรักที่สุเทษณ์มีต่อนางมัทนาก่อให้นางเกิดทุกข์ เม่ือ

นางไม่รับรกั ที่สาปให้นางเป็นดอกกหุ ลาบตลอดไป

ข้อคดิ ทไ่ี ด้จาก เรื่องมทั นะพาธา

๓. ความรกั ทาใหเ้ กิดทกุ ข์ ดังคากลา่ วว่า “ท่ีใดมรี กั ท่นี นั่ มีทุกข์”

สุเทษณ์เทพบุตรหลงรกั นางมทั นาเม่ือนางไม่รบั รักก็เจบ็ ปวด ดงั

ว่า

อ้าชว่ ยระงบั ดบั ทุขะพ่รี ะคายระคาง;

พรี่ ักอนงคน์ าง ผิมสิ มฤดถี วลิ

เหมอื นพมี่ ิไดค้ ง วรชีวะชีวิติน-

ทรยี ไ์ ซรบ้ ไ่ ฝ่จิน- ตะนะห่วงและห่อนนิยม

ชีพอยกู่ ็เหมอื นตาย เพราะมวิ ายระทวยระทม

ทกุ ขย์ ากและกรากกรม อุระชา้ ระกาทวี

อา้ ฟงั ดนูเถิด มะทะนาและตอบวจี

พอใหด้ นูนี้ สุขะร่ืนระเริงระรวย

ยิ่งฟ้าพะจีศรี กร็ ะตีประมวลประมลู

ยง่ิ ขัดกย็ ิ่งพนู ทขุ ะท่วมระทมหะทยั

อา้ เจา้ ลาเพาพกั ตร์ สริ ิลักษะณาวิไล

พขี่ วนจะคลงั่ ไคล้ สติเพ่ือพะวงอนงค์

ขอ้ คดิ ทีไ่ ดจ้ าก เร่ืองมทั นะพาธา

๔. การพิจารณาตัดสินเร่ืองใดควรใช้สติปัญญาประกอบกับ เหตุผลเพื่อตัดสินความ การท่ีท้าวขัยเสนฟังความจากนางค่อมท่ี ใส่ร้ายนางมัทนาและศุภางค์ทหารเอกว่า ลักลอบเป็นชู้กัน ด้วย ความโกรธพระองค์จึงตัดสินให้ประหารชีวิตโดยมิพิจารณาให้ถ่อง แท้ ทาให้นางมัทนาและศุภางค์ต้องรับทุกข์จากการตัดสินใจครั้งนี้ โชคดีท่ีผู้ท่ีมีรับส่ังให้เป็นผู้ประหารท้ังสอง มีเมตตาทาให้รอดชีวิต ในที่สุด และความจริงก็เปิดเผย แต่ในทางกลับกันถ้าท้ังสองถูก ประหารด้วยการใส่ความ การตัดสินด้วยอารมณ์ชั่ววูบอาจทาให้ ท้ังสองส้ินชีวิต แม้ความจริงจะเปิดเผยในภายหลังก็ไม่มีประโยชน์ แต่อย่างใด กลับสร้างบาปและความทุกข์ใจแก่ท้าวชัยเสนมากข้ึน อีกด้วย

ลักษณะดีเดน่ ของมทั นะพาธา

๑. การที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงริเร่ิม นาฉนั ทม์ าแตง่ เปน็ บทละครพูด ซ่ึงทรงทาได้เช่นน้ี เพราะพระองค์ทรง เปน็ นักปราชญท์ างภาษาและวรรณคดี จงึ ทรงสามารถ สรรคาท่ีงา่ ยแก่ การเข้าใจของผู้อ่านมาแต่งเป็นฉันท์ ซ่ึงเป็นร้อยกรองที่แต่งยาก เน่ืองจากบังคับ ใช้คาครุ ลหุตามฉันทลักษณ์ทุกคา ท้ังยังทรงสามารถ ผูกเป็นบทเจรจาตามลักษณะของบทละครพูดให้ดาเนินเรื่องราวตาม โครงเรื่องที่วางไว้อย่างดี จนผู้อ่านสัมผัสได้ทั้งรสคา รสความที่ไพเราะ และความงดงามทางภาษา

๒. การที่ทรงตั้งช่ือตัวละครและสถานที่อันเป็นฉากของเร่ือง ได้อย่างถูกต้องตามยุคแห่งภารตวรรษ คือ ยุคแห่งอาณาจักรพวกภา รตะซึ่งสืบเชื้อสายมาจากพระภรต พระจักรพรรดิโบราณ ของอินเดีย ตามเรื่องมหาภารตะซงึ่ เป็นมหากาพย์สาคัญเรื่องหน่ึง แต่งในประเทศ อินเดียโบราณ เป็นมหากาพย์ภาษาสันสกฤตเรื่องยาวท่ีสุดในโลก ท่ี ทรงแต่งได้เช่นน้ีก็เพราะพระองค์ทรงเช่ียวชาญทางวรรณคดีภาษา สนั สกฤตด้วย

ลกั ษณะดีเดน่

ของมัทนะพาธา

๓.ได้ทรงใช้เครื่องหมายวรรคตอนตามแบบการเขียนภาษาอังกฤษมี เครื่องหมายจุลภาค มหัพภาค ฯลฯ. ส่วนการสะกดการันต์นั้น ได้ทรงใช้ วิสรรชนีย์ (สระอะ) กากับเพื่อให้อ่านออกเสียงตาม พระราชประสงค์ เช่น ม–ณี (มณี) ดุจะ (ดจุ ) มะทะนา (มทนา) พ–ธู (พธ)ู ฯลฯ การเขียนอย่างแบบท่ีทรงใช้นี้ ปรากฏวา่ ไม่มีผู้ใดใช้ตาม สาหรับช่ือนางเอกของเรื่องนี้มีพระราชปรารภในคานา ของเรื่องฉบับ เดิมว่ามีพระราชดาริไว้ว่าจะใช้ช่ือนางเอกตามช่ือดอกไม้ แต่เม่ือ ทรงทราบว่าในภาษามคธ เรียกดอกกุหลาบว่า “กุพชก” ซ่ึงถ้าแผลงสระอะ เป็น อา จะได้ศัพท์ว่า กุพชกา ซ่ึงมีความหมายว่านางค่อม จึงไม่โปรดและได้ทรงหา คาศัพทต์ า่ ง ๆ ท่พี อจะใชเ้ ป็นนามชองสตรีก็ทรงเลอื กเอา “ มัทนา ” จากศัพท์ “ มทน” ซ่ึงมีความหมายว่าความลุ่มหลง หรือความรัก ในขณะท่ีทรงค้นหาช่ือ นางเอก ทรงพบศัพท์ “ มทนพาธา ” ซ่ึงเซอร์โมเนียร์ วิลเลียมส์ แปลไว้ว่า “ความเจ็บปวด หรือ ความเดือดร้อนแห่งรัก” ก็โปรดว่าเหมาะกับเน้ือเรื่อง จึง ทรงตัง้ ชอื่ เร่อื งนว้ี ่า “ มทั นะพาธา หรอื ตานานแห่งดอกกุหลาบ”

ที่ว่า ช่ือเรื่อง มัทนะพาธา เหมาะกับเนื้อเร่ืองก็เพราะตามเน้ือเรื่อง ตัวละครทุกตัวในเรื่องที่มีความรักต่อกัน ไม่ว่าจะเป็นความรักฉันคู่รัก ฉนั พอ่ กับ ลูก หรอื ฉันเจา้ กับขา ก็ลว้ นประสบกับความเดือดร้อนจากความรัก ตรงกับพทุ ธ โอวาทของพระพุทธองค์ ทก่ี ล่าวว่า “ ที่ใดมีรัก ท่นี ั่นมที ุกข”์

สารบัญ เมนูหลกั

ความหมายของการวิเคราะห์ วรรณกรรม

การวเิ คราะห์ หมายถึง การพิจารณาตรวจตรา แยกแยะ และประเมินค่า ซึ่งจะเกดิ ประโยชน์ต่อผู้วิเคราะหใ์ นการนาไปแสดง ความคิดเห็น อภิปรายข้อเท็จจริงให้ผู้อ่ืนทราบ ด้วยว่าใครเป็นผู้ แต่ง เป็นเร่ืองเก่ียวกับอะไร มีประโยชน์อย่างไร ต่อใครบ้าง ผู้ วิเคราะห์ มคี วามเห็นอยา่ งไร เรื่องท่ีอ่านมีคุณค่าด้านใดบ้างและแต่ ละด้านสามารถนาไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตประจาวัน อย่างไรบา้ ง

แนวในการวิเคราะห์วรรณกรรม

การวิเคราะห์วรรณกรรมมีหลักเกณฑ์การปฏิบัติอย่าง กว้าง ทั้งนี้เพ่ือให้ครอบคลุมงานเขียนทุกประเภท แต่ละประเภท ผู้ วิเคราะห์ต้องนาแนวการวิเคราะห์ไปปรับใช้ ให้เหมาะสมกับงาน เขียนแต่ละชิ้นงานซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันไป ซ่ึง ประพันธ์ เรือง ณรงค์ และคณะ (๒๕๔๕ : ๑๒๘) ได้ให้หลักเกณฑ์กว้าง ๆ ในการ วิเคราะหว์ รรณกรรม ดังน้ี

๑. ความเป็นมาหรือประวัติของหนังสือและผู้แต่ง เพื่อช่วยให้ วเิ คราะหใ์ นส่วนอ่นื ๆ ๒. ลกั ษณะคาประพันธ์ ๓. เรอ่ื งย่อ ๔. เนื้อเรื่อง ให้วิเคราะห์เรื่องในหัวข้อต่อไปนี้ตามลาดับ โดยบาง หัวข้ออาจจะมี หรือไม่มีก็ได้ตามความจาเป็น เช่น โครงเร่ือง ตัว ละคร ฉาก วิธีการแต่ง ลักษณะการเดินเรื่อง การใช้ถ้อยคา สานวนในเรื่องท่วงทานองการแต่ง วิธีคิดสร้างสรรค์ ทัศนะหรือ มุมมองของผเู้ ขยี น เปน็ ตน้ ๕. แนวคิด จุดมุ่งหมาย เจตนาของผู้เขียนที่ฝากไว้ในเร่ือง ซ่ึงต้อง วิเคราะหอ์ อกมาก ๖. คุณค่าของวรรณกรรม โดยปกติแบ่งออกเป็น ๕ ด้านใหญ่ ๆ และกวา้ ง ๆ เพือ่ ความครอบคลมุ ในทกุ ประเดน็ ซึง่ ผู้วเิ คราะห์ต้อง ไปแยกหัวข้อย่อยให้สอดคล้องกับลักษณะ ของหนังสือท่ีจะ วเิ คราะหน์ น้ั ๆ ตามความเหมาะสม

วธิ ีวิเคราะหแ์ ละวิจารณง์ านประพันธ์

ตามปกติแลว้ เม่ือจะวิจารณส์ ิ่งใด จาเป็นต้องเร่ิมวิเคราะห์ องค์ประกอบตา่ ง ๆ ใหเ้ ข้าใจ ชดั เจนเสยี ก่อนแลว้ จึงวจิ ารณแ์ สดง ความเหน็ ออกมาอยา่ งมเี หตผุ ล ให้น่าคดิ น่าฟังและเปน็ คาวิจารณ์ท่ี น่าเชือ่ ถือได้

การวิจารณ์งานประพันธ์สาหรบั ผเู้ รียนท่ีเริ่มต้นฝึกหดั ใหม่ ๆ นน้ั อาจตอ้ งใช้เวลาฝกึ หัด มากสักหน่อย อ่านตัวอย่างงานวจิ ารณ์ ของผ้อู ืน่ มาก ๆ และบ่อย ๆ จะชว่ ยไดม้ ากทเี ดียว เมื่อตัวเราเรมิ่ ฝึก วิจารณง์ านเขยี นใด ๆ อาจจะวิเคราะห์ไม่ดี มเี หตผุ ลนอ้ ยเกนิ ไป คนอน่ื เขาไมเ่ ห็นด้วย เราก็ควรย้อนกลบั มาอ่านเขยี นนั้น ๆ อีกครัง้ แล้ว พจิ ารณาเพิ่มเตมิ วิธวี เิ คราะห์ วจิ ารณ์งานประพนั ธจ์ งึ มลี ักษณะขนั้ ตอน การวเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์ โดยเริ่มต้นทผ่ี ูอ้ า่ นไปอา่ นงานวรรณกรรม เมอื่ อา่ นแล้วจงึ วเิ คราะห์แยกแยะดอู งคป์ ระกอบต่าง ๆ ลาดบั ตอ่ ไปน้จี งึ วิจารณ์กลวิธีการนาเสนอว่าน่าสนใจหรือไม่เพยี งใด แล้วผวู้ ิจารณจ์ ึง เรียบเรยี งความคดิ เหน็ แสดงออกมาดว้ ยวธิ พี ูด หรือเขียนวจิ ารณ์อยา่ งมี เหตุผล และแม้นวา่ การวิจารณจ์ ะส้ินสุดแลว้ แตผ่ อู้ า่ นกย็ ังย้อนกลบั มา สนใจงานประพนั ธ์ชิ้นเดมิ แลว้ เรม่ิ ต้นวเิ คราะห์วิจารณใ์ หมไ่ ด้อีก ตลอดเวลา

ประเด็นทใ่ี ชว้ เิ คราะห์และวิจารณ์คณุ คา่

การวเิ คราะห์และวจิ ารณง์ านประพันธเ์ ทา่ ทพี่ บเห็นทั่ว ๆ ไป นักวิจารณน์ ิยมพจิ ารณากวา้ ง ๆ ๔ ประเดน็ ๑. คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์ คือ ความไพเราะของบทประพนั ธ์ ซึ่งอาจทาให้ผ้อู ่านเกดิ อารมณ์ ความรูส้ ึกและจนิ ตนาการตาม รส ความหมายของถ้อยคาและภาษาท่ผี ู้แตง่ เลอื กใชเ้ พอ่ื ให้มี ความหมายกระทบใจผอู้ า่ น ๒. คณุ คา่ ด้านเนอื้ หาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนาเสนอ ทง้ั ๒ ประเดน็ น้ี จะอธบิ าย และยกตัวอย่างประกอบพอ เขา้ ใจ โดยจะกลา่ วควบกันไปท้ังการวเิ คราะหแ์ ละการวิจารณ์ ๓. คุณคา่ ดา้ นสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะทอ้ นให้ เหน็ สภาพของสังคมและวรรณคดที ด่ี ีสามารถจรรโลงสังคมได้ อกี ดว้ ย ๔. การนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ผอู้ ่านสามารถนา แนวคดิ และประสบการณจ์ ากเรอื่ งทอ่ี ่านไปประยุกตใ์ ชห้ รอื แก้ปญั หาในชวี ติ ประจาวันได้

การพจิ ารณาคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์

วรรณศิลป์เปน็ องค์ประกอบทสี่ าคญั ซ่ึงชว่ ยส่งเสรมิ ให้ วรรณกรรมมีคุณคา่ น่าสนใจ คาวา่ “วรรณศลิ ป์” หมายถงึ ลกั ษณะดเี ด่น ทางด้านวิธีแตง่ การเลือกใช้ถอ้ ยคา สานวน ลีลา ประโยค และความเรียง ตา่ ง ๆ ท่ปี ระณตี งดงาม หรือมีรสชาติเหมาะสมกบั เน้อื เรอ่ื งเป็นอยา่ งดี วรรณกรรมทใ่ี ช้วรรณศิลปช์ นั้ สูงนัน้ จะทาให้คนอา่ นได้รับผลในทาง อารมณ์ความรสู้ กึ เช่น เกดิ ความสดช่ืน เบิกบาน ขบขัน เพลดิ เพลนิ ขบ คิด เศร้าโศก ปลกุ ใจ หรืออารมณอ์ ะไร กต็ ามทผ่ี เู้ ขียนตอ้ งการสรา้ งให้ เกดิ ข้นึ ในตัวผอู้ ่าน น่นั คอื วรรณศลิ ป์ในงานเขยี น ทาให้ผ้อู า่ น เกิด ความรู้สกึ ในจติ ใจและเกดิ จินตนาการสรา้ งภาพคดิ ในสมองได้ดี

การวเิ คราะห์งานประพนั ธ์จึงควรพิจารณาวรรณศลิ ป์เปน็ อันดับแรกแลว้ จึงวิจารณว์ า่ มคี ณุ ค่าหรือน่าสนใจเพียงใดหากงานประพนั ธ์ นัน้ เป็นประเภทบทรอ้ ยกรอง ผู้อ่านทีจ่ ะวิเคราะห์วจิ ารณ์ ควรมคี วามรู้ บางอย่าง เช่น รู้บงั คับการแต่งบทรอ้ ยกรองรู้วธิ ีใช้ภาษาของกวี รวู้ ธิ สี รา้ ง ภาพฝันหรอื ความคดิ ของกวี เปน็ ตน้ ความรูด้ ังกล่าวนจ้ี ะชว่ ยให้เขา้ ใจบท ร้อยกรองได้มากขนึ้ ลองอ่านบทร้อยกรองงา่ ย ๆ สกั เร่อื งหนึ่ง เพื่อทดลอง วิเคราะหว์ ิจารณ์กนั