การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

ข้อความแสดงให้เห็น บุคคลแต่ละคนจะมีคุณลักษณะที่เหนือคนอื่น ๆ การยอมรับการคิดและการตัดสินใจสะท้อนถึงการทำงานร่วมกันระหว่างคนที่มีความแตกต่างกัน

Show
  • 4. ความสามารถในการเข้าใจภาษา

    (4) ควรเติมสำนวนใดลงในช่องว่างต่อไปนี้ “ประไพเป็นคนชอบพูดตรง ๆ แบบ___________จึงไม่มีใครชอบ แม้ว่าจะเป็นเรื่องจริงที่มาจากความจริงใจ”

    คำตอบ 1.ปากไม่มีหูรูด 2.ขวานผ่าซาก 3.โขมงโฉงเฉง 4.ปากเปราะเราะร้าย 5.ไม่กลัวหน้าอินทร์หน้าพรหม

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถในการเข้าใจภาษา

    ระดับความยาก ปานกลาง

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    เป็นสำนวนที่มีความหมายสอดคล้องกับข้อความ
  • ความสามารถทางจำนวน

    ข้อสอบความสามารถทางจำนวน มี 4 ด้าน คือ

    1) อนุกรมมิติ

    2) การเปรียบเทียบเชิงปริมาณ

    3) ความเพียงพอของข้อมูล

    4) โจทย์ปัญหา

    ดังตัวอย่างต่อไปนี้

    ตัวอย่างข้อสอบ

    1. อนุกรมมิติ

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1.68 2.72 3.78 4.84 5.90

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : อนุกรมมิติ

    ระดับความยาก ง่าย

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    ตัวเลขเรียงเพิ่มขึ้นทีละ 12 ฉะนั้น ตัวเลขที่ขาดหายไปในช่อง ? จึงเป็น 72 ข้อนี้จึงเลือกตอบตัวเลือก 2
  • 2. การเปรียบเชิงปริมาณ

    ให้เปรียบเทียบปริมาณทั้งสามนี้แล้วตอบตามตัวเลือก ดังนี้

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1.ปริมาณในสดมภ์ ก. มากที่สุด 2.ปริมาณในสดมภ์ ข. มากที่สุด 3.ปริมาณในสดมภ์ ค. มากที่สุด 4.ปริมาณทั้ง 3 สดมภ์เท่ากัน 5.ข้อมูลที่กำหนดให้ไม่เพียงพอที่จะเปรียบเทียบ

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถในการใช้ภาษา

    ระดับความยาก ง่าย

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    เมื่อคำนวณค่าของแต่ละสดมภ์ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้ ได้ผลลัพธ์ดังนี้ สดมภ์ ก. มีค่า 50 สดมภ์ ข. มีค่า 52 สดมภ์ ค. มีค่า 41 ดังนั้น สดมภ์ ข. มีค่ามากสุด จึงเลือกตอบตัวเลือก 2
  • 3. ความเพียงพอของข้อมูล

    ข้อมูล (ก) และ (ข) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ใช้ในการแก้ปัญหาให้นักเรียนพิจารณาว่าต้องใช้ข้อมูลใดบ้างจึงจะเพียงพอที่จะตอบคำถามนั้นได้ และตัดสินใจเลือกตอบดังนี้ (3) สนามกีฬารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่เท่าใด ข้อมูล ก สี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาวรอบรูป 48 เมตร ข้อมูล ข สี่เหลี่ยมจัตุรัส มีเส้นทแยงมุมยาว

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
    เมตร

    คำตอบ 1.ใช้ข้อมูล ก เพียงข้อเดียวก็ตอบคำถามได้ แต่ข้อมูล ข ใช้ตอบไม่ได้ 2.ใช้ข้อมูล ข เพียงข้อเดียวก็ตอบคำถามได้ แต่ข้อมูล ก ใช้ตอบไม่ได้ 3.ต้องใช้ข้อมูล ก และ ข ทั้ง 2 ข้อ จึงจะเพียงพอสำหรับตอบคำถาม 4.ใช้ข้อมูล ก หรือ ข เพียงข้อใดข้อหนึ่งก็ตอบคำถามได้ 5.ใช้ข้อมูลทั้ง ก และ ข ก็ไม่เพียงพอที่จะตอบคำถามได้

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถในการอ่าน

    ระดับความยาก ปานกลาง

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    ปัญหานี้หาคำตอบได้โดยการแก้สมการ ข้อมูล ก สามารถใช้แก้สมการเพื่อหาค่าความยาวด้านแล้วนำไปหาพื้นที่ได้ หรือใช้ข้อมูล ข ในการหาคำตอบโดยใช้เส้นทแยงมุมหาได้เลย ข้อนี้จึงเลือกตอบตัวเลือก 4 เพราะใช้ข้อมูล ก หรือข้อมูล ข เพียงข้อใดข้อหนึ่งก็ตอบคำถามได้
  • 4. โจทย์ปัญหา

    (4) การสอบครั้งหนึ่งมีจำนวนผู้เข้าสอบผู้ชายต่อจำนวนผู้เข้าสอบผู้หญิงเป็น 1 : 2 ถ้ามีผู้เข้าสอบผู้ชาย 100 คน จะมีจำนวนผู้เข้าสอบผู้หญิงกี่คน

    คำตอบ 1.120 2.150 3.180 4.200 5.240

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถในการเข้าใจภาษา

    ระดับความยาก ง่าย

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    จำนวนผู้เข้าสอบผู้ชายต่อจำนวนผู้เข้าสอบผู้หญิงเป็น 1 : 2 ถ้ามีผู้เข้าสอบผู้ชาย 100 คน ดังนั้นจะมีจำนวนผู้เข้าสอบผู้หญิง 200 คน ข้อนี้จึงเลือกตอบตัวเลือก 4
  • ความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์

    ข้อสอบความสามารถทางมิติสัมพันธ์ประกอบด้วย

    1) แบบพับกล่อง

    2) แบบหาภาพต่าง

    3) แบบหมุนภาพสามมิติ

    4) แบบประกอบภาพ

    ดังตัวอย่างต่อไปนี้

    ตัวอย่างข้อสอบ

    1. แบบพับกล่อง

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : แบบพับกล่อง

    ระดับความยาก ปานกลาง

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    จากรูปที่กำหนดให้เพื่อพับกล่องโจทย์พบว่าตรงกับตัวเลือก 2
    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
  • 2. แบบหาภาพต่าง

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : แบบหาภาพต่าง

    ระดับความยาก ยาก

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    จากภาพที่กำหนดให้ เมื่อนำภาพจากโจทย์มาหมุนในทิศทางต่าง ๆ พบว่า ภาพตัวเลือก 2 เป็นภาพที่แตกต่างจากโจทย์ เพราะหางที่ชี้ขึ้นด้านบนยาวไม่เท่ากับโจทย์
    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
  • 3. แบบหมุนภาพสามมิติ

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถในการอ่าน

    ระดับความยาก ปานกลาง

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    จากโจทย์ที่กำหนดให้ภาพมีการหมุนจากซ้ายไปขวาดังนั้น ตัวเลือกที่ตรงกับโจทย์ที่กำหนดให้คือตัวเลือก 4
    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
  • 4. แบบประกอบภาพ

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถในการเข้าใจภาษา

    ระดับความยาก ยาก

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    เมื่อนำชิ้นส่วนที่กำหนดให้มาประกอบกับตัวเลือก 1 แล้วหมุนจะตรงกับโจทย์ที่กำหนดให้
    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง
  • ความสามารถทางเหตุผล

    ข้อสอบความสามารถทางจำนวน มี 4 ด้าน คือ

    1) อนุกรมภาพ

    2) อุปมาอุปไมยภาพ

    3) สรุปความ

    4) วิเคราะห์ข้อความ

    ดังตัวอย่างต่อไปนี้

    ตัวอย่างข้อสอบ

    1. แบบอนุกรมภาพ

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถด้านเหตุผล

    ระดับความยาก ง่าย

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    จากภาพหาระบบได้ว่า ภาพที่กำหนดเป็นรูปสี่เหลี่ยมใหญ่และมีรูปสี่เหลี่ยมเล็กสีขาวและสีดำอยู่ภายใน -เพิ่มรูปสี่เหลี่ยมเล็กสีขาว ภาพละ 1 รูป จาก 1 รูป เป็น 2 รูป เป็น 3 รูป จนภาพสุดท้ายจะเป็น 4 รูป ส่วนรูปสี่เหลี่ยมเล็กสีดำทั้ง 2 รูป จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ฉะนั้นภาพต่อไปใน ? ตามตัวเลือก 1 จึงจะถูกต้อง
  • 2. แบบอุปมาอุปไมยภาพ

    การบรรยายสร ปม ก ข นตอน ม ก ข นตอนอะไรบ าง

    คำตอบ 1. 2. 3. 4. 5.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถด้านเหตุผล

    ระดับความยาก ง่าย

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    ความสัมพันธ์ของภาพคู่แรกที่กำหนดให้คือ ภาพของรูปทรงที่มีรูปขนาดเล็กอยู่ภายในรูปขนาดใหญ่ โดยทั้งรูปเล็กและรูปใหญ่มีรูปทรงเดียวกัน ความสัมพันธ์คือภาพเล็กภายในเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีดำ แต่ไม่มีการเปลี่ยนรูปทรง ภาพที่มีความสัมพันธ์เช่นเดียวกับภาพที่กำหนดคือตัวเลือก 1
  • 3. แบบสรุปความ

    คำชี้แจง โปรดใช้ข้อมูลต่อไปนี้สำหรับการตอบคำถาม ครอบครัวของฉันมีพี่น้อง 4 คน คือ ฉัน เจน ก้อย นนท์ เจนเป็นน้องของฉัน และมีอายุมากกว่าก้อยและนนท์ ก. ฉันเป็นพี่คนโต ข. นนท์เป็นผู้ชาย ค. ก้อยอายุมากกว่านนท์ ข้อสรุปใดถูกต้อง

    คำตอบ 1.ข้อ ก. ข้อเดียว 2.ข้อ ข. ข้อเดียว 3.ข้อ ค. ข้อเดียว 4.ข้อ ก. และ ข. 5.ข้อ ข. และ ค.

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถด้านเหตุผล

    ระดับความยาก ง่าย

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    เจนมีอายุมากกว่าก้อยและนนท์ เจนจึงเป็นพี่ของก้อยและนนท์ เมื่อเจนเป็นน้องของฉัน ก้อยและนนท์ จึงเป็นน้องของฉันด้วย และครอบครัวของฉันมีพี่น้องรวมกัน 4 คน จึงสรุปได้ว่าฉันเป็นพี่คนโต ตามข้อสรุป ก.จะไปคิดว่านนท์ต้องเป็นผู้ชาย ตามข้อสรุป ข. หรือ ก้อยอายุมากกว่านนท์ ตามข้อสรุป ค. ไม่ได้ เพราะโจทย์ไม่ได้กำหนดไว้ ฉะนั้นคำตอบที่ถูกต้องคือ ตัวเลือก 1
  • 4. แบบวิเคราะห์ข้อความ

    คำชี้แจง โปรดใช้ข้อมูลต่อไปนี้สำหรับการตอบคำถาม ข้อ (0) ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด A B C D เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาและระดับชั้นมัธยมศึกษา โดยมีรายละเอียดของข้อมูลดังนี้
  • A และ B เป็นนักเรียนระดับชั้นเดียวกัน
  • C และ D เป็นนักเรียนคนละระดับชั้นกัน
  • D เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา

    ในการตัดสินใจเลือกตอบ มีเงื่อนไข ดังนี้ (0) (ก) C เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา (ข) A เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษา

    คำตอบ 1.ข้อสรุปทั้ง ก. และ ข. ถูก 2.ข้อสรุปทั้ง ก. และ ข. ผิด 3.ข้อสรุปทั้ง ก. และ ข. ไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าถูกหรือผิดตามเงื่อนไข 4.ข้อสรุป ก. ถูก ส่วนข้อสรุป ข. ผิด หรือไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าถูกหรือผิด 5.ข้อสรุป ข. ถูก ส่วนข้อสรุป ก. ผิด หรือไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าถูกหรือผิด

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เนื้อหาที่วัดตามโครงสร้าง : ความสามารถด้านเหตุผล

    ระดับความยาก ปานกลาง

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    โจทย์กำหนดให้ D เป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และอยู่คนละระดับชั้นกับ C ฉะนั้น C จึงเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ส่วน A และ B อยู่ระดับชั้นเดียวกัน แต่ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าเป็นนักเรียนระดับชั้นใด ฉะนั้น ข้อสรุป (ก) จึงถูก ส่วนข้อสรุป (ข) ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัดว่าถูกหรือผิด คำตอบที่ถูกต้องคือ ตัวเลือก 4