ประโยชน ส งส ดของระบบสารสนเทศท ม ต อการศ กษา

Page 74 - ทรัพยากรสารสนเทศลักษณะพิเศษ

  1. 74

` 5-64 ทรพั ยากรสารสนเทศลกั ษณะพเิ ศษ ตอนที่ 5.3 การบริการและการเผยแพร่เอกสารและสารสนเทศ จากเอกสารจดหมายเหตุ โปรดอ่านหัวเรอื่ ง แนวคดิ และวัตถุประสงคข์ องตอนท่ี 5.3 แล้วจงึ ศึกษารายละเอียดตอ่ ไป หัวเร่ือง

      5.3.1   การบรกิ ารเอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุ  
      5.3.2   การเผยแพร่เอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุ
แนวคิด

  1. ห นว่ ยงาน/งานจดหมายเหตสุ ามารถประยกุ ตห์ ลกั การตลาดหรอื สว่ นผสมการตลาด 4P
             ในการวางแผนการบรกิ ารเอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตไุ ด้ โดยเทยี บเคยี ง  
             ผลิตภณั ฑ์หรอื สนิ คา้ คอื เอกสารจดหมายเหตุทอ่ี ย่ใู นระบบ สถานที่ คือ พน้ื ท่นี ั่งอา่ น  
             และทุกท่ีที่สามารถเช่ือมต่อระบบสารสนเทศและจดหมายเหตุของหน่วยงาน/งาน  
             จดหมายเหตุ ราคา คอื คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรกิ ารบางประเภท และผลลพั ธห์ รอื มลู คา่ ทไี่ ด้  
             จากการใชป้ ระโยชนจ์ ากเอกสารจดหมายเหตแุ ลว้ ประสบผลสำ� เรจ็ และการสง่ เสรมิ การขาย  
             คอื การจดั กจิ กรรมและการประชาสมั พนั ธเ์ พอื่ สง่ เสรมิ การใชบ้ รกิ ารเอกสารและสารสนเทศ  
             จากเอกสารจดหมายเหตุ
  2. การบริการเพ่ือให้ผู้ใช้ได้ใช้และเข้าถึงเอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุ เกยี่ วขอ้ งกบั ประเดน็ สำ� คญั คอื การกำ� หนดนโยบาย กฎ ระเบยี บการบรกิ าร การบรหิ าร จดั การการบรกิ าร และการจดั บรกิ ารประเภทตา่ งๆ เพอ่ื ใหม้ กี ารใชเ้ อกสารจดหมายเหตุ
  3. การเผยแพร่เอกสารและสารสนเทศจากจดหมายเหตุ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม ให้ผใู้ ช้ไดใ้ ชแ้ ละเข้าถึงเอกสารและสารสนเทศจากจดหมายเหตุ และการประชาสัมพันธ์ เพ่ือสื่อสารข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ชักชวน ช้ีแจงถึงการบริการ แนะน�ำหน่วยงานและ งานจดหมายเหตุ รวมถึงการจดั กิจกรรมของหนว่ ยงาน/งานจดหมายเหตผุ ่านช่องทาง และวิธกี ารต่างๆ วัตถุประสงค์
          เมอ่ื ศกึ ษาตอนท่ี 5.3 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ  
  4. อธบิ ายหลกั การตลาด 4P ในการบรกิ ารเอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตไุ ด้
  5. อธิบายการบรกิ ารเอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตไุ ด้
  6. อธิบายการเผยแพร่เอกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุได้
  7. ระบกุ จิ กรรมเพ่ือสง่ เสริมการใชเ้ อกสารและสารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุได้ `

ความหมายของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศเป็นการทางานเกย่ี วกับขอ้ มูลและสารสนเทศอยา่ งเป็นลาดบั ขนั้ ตอนจนทาให้ เกิดระบบสารสนเทศข้ึน ข้อมูล สารสนเทศ และระบบสารสนเทศมีความหมาย ดังนี้

ข้อมลู (Data) คอื ขอเทจ็ จริงท่ีไดจ้ ากการรวบรวมข้อมูล ซง่ึ มที ้ังท่ีอยใู่ นรูปแบบตัวอักษร, ขอ้ ความ, ตัวเลข, เสยี ง รปู ภาพ และ ภาพเคล่อื นไหว

สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมลู ที่ผา่ นการประมวลผล เพื่อนาไปใช้ในการตัดสินใจ เช่น เกรดเฉล่ียของนักเรียน,ยอดขายประจาเดือน และ สถติ กิ ารขาดงาน

ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ ระบบทสี่ ามารถจัดการขอ้ มลู ตงั้ แตก่ าร รวบรวมและตรวจสอบขอ้ มูล การประมวลผลข้อมลู รวมถึงการดแู ลรักษาขอ้ มูลเพอื่ ใหไ้ ด้สารสนเทศ ท่ถี ูกต้องและทนั ตอ่ ความตอ้ งการของผู้ใช้ และผใู้ ชส้ ามารถนาสารสนเทศทไ่ี ด้ไปประกอบการ ตดั สินใจได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศประกอบด้วยกระบวนการทางานหลักๆ ดงั ต่อไปน้ี

1.การนาเขา้ ขอ้ มูล (Input) เปน็ การนาขอ้ มลู ดบิ (Data) ท่ไี ดจ้ ากการเก็บรวบรวมเขา้ สรู่ ะบบ เพอื่ นาไปประมวลผลให้เปน็ สารสนเทศ เช่น การบันทกึ การขายรายวัน,บนั ทกึ คะแนนเกบ็ ของนักเรยี น ฯลฯ

2.การประมวลผลข้อมูล (Process) เป็นการคิด คานวณ หรอื เปล่ยี นแปลงข้อมูลดิบใหเ้ ปน็ สารสนเทศ อาจทาไดด้ ว้ ยการเรยี งลาดับ การคานวณ การจดั รปู แบบ และการเปรยี บเทยี บตัวอยา่ ง การประมวลผล เช่น การคานวณรายไดข้ องผ้ปู กครอง การนบั จานวนวันหยดุ ราชการบนปฏทิ นิ ฯลฯ

3.การแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธท์ ่ไี ด้จากการประมวลผลมาแสดงในรูปแบบท่ี ผู้ใชต้ ้องการ เพื่อสง่ เสรมิ หรือช่วยในการตดั สนิ ใจ

4.การจัดเกบ็ ขอ้ มลู (Storage) เป็นการจดั เก็บข้อมูลดิบหรือสารสนเทศท้งั หมดทีเ่ กย่ี วข้อง กับระบบสารสนเทศ เนื่องจากการนาขอ้ มูลดบิ เขา้ สู่ระบบมกี ารจดั เกบ็ จนถงึ ระยะยาวระยะหน่งึ แล้ว จึงนาไปประมวลผล

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

องคป์ ระกอบท่สี าคญั ของระบบสารสนเทศมี 5 สว่ นคอื

1. ฮารด์ แวร(์ เครื่องจักรอุปกรณ์) 2. ซอฟตแ์ วร์ 3. ข้อมลู 4. บคุ ลากร 5.ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน

สว่ นประกอบทั้งห้าส่วนนท้ี าใหเ้ กิดสารสนเทศได้ หากขาดส่วนประกอบใด หรอื ส่วนประกอบ ใดไมส่ มบรู ณ์ ก็อาจทาให้ระบบสารสนเทศ ไม่สมบูรณ์ เชน่ ใช้เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ไมเ่ หมาะสมกับงาน ก็จะทาใหง้ านล่าชา้ ไม่ทันตอ่ การใช้งาน การดาเนนิ การระบบสารสนเทศจึงตอ้ งให้ความสาคัญ กับ ส่วนประกอบท้งั ห้าน้ี

1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถงึ เคร่ืองคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ เปน็ เครอ่ื งมือทีช่ ่วยในการจดั การ สารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ชว่ ยประมวลผล คดั เลือก คานวณ หรือพมิ พ์รายงาน ผลตามท่ตี ้องการ คอมพิวเตอร์เป็นอปุ กรณ์ที่ทางานได้รวดเร็ว มีความแม่นยาในการทางาน และทางานได้ตอ่ เน่ือง คอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ตา่ งๆ สามารถแบ่งเป็น 3 หนว่ ย คือ

- หน่วยรบั ขอ้ มูล (Input unit) ไดแ้ ก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ ไมโครโฟน

- หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)

- หน่วยแสดงผล (Output unit) ไดแ้ ก่ จอภาพ ลาโพง เคร่อื งพมิ พ์

2. ซอฟตแ์ วร์ (Software) คอื ลาดับข้นั ตอนคาสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทางานตาม วตั ถุประสงค์ทว่ี างไว้ ซอฟต์แวร์ จงึ หมายถึงชุดคาส่งั ทีเ่ รียง เป็นลาดับขน้ั ตอนสัง่ ใหค้ อมพวิ เตอร์ ทางานตามตอ้ งการ และประมวลผลเพอื่ ใหไ้ ดส้ ารสนเทศที่ตอ้ งการ ซอฟต์แวร์หรอื ชุดคาสั่ง คอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ 2ประเภท คือ

- ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ คอื ซอฟต์แวรท์ ใ่ี ช้จัดการกับระบบคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ ต่างๆ ท่มี อี ยู่ในระบบ เช่น ระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวส์ ระบบปฏิบัตกิ ารดอส ระบบปฏิบตั ิการยนู ิกซ์

- ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟตแ์ วร์ทพ่ี ัฒนาขน้ึ เพ่ือใช้งานด้านต่างๆ ตามความต้องการ ของผใู้ ช้ เชน่ ซอฟต์แวรก์ ราฟกิ ซอฟตแ์ วรป์ ระมวลคา ซอฟตแ์ วร์ตารางทางาน

3. ขอ้ มูล (Data) เปน็ วัตถดุ บิ ที่ทาให้เกิดสารสนเทศ ขอ้ มูลท่ีเปน็ วตั ถุดบิ จะต่างกนั ขึ้นกบั สารสนเทศที่ต้องการ เช่น ในสถานศกึ ษามกั จะต้องการ สารสนเทศทเ่ี กย่ี วข้องกับข้อมูล นักเรียน ขอ้ มูลผลการเรยี น ข้อมูลอาจารย์ ขอ้ มูลการใช้จา่ ยต่าง ๆ ขอ้ มลู เปน็ ส่ิงทีส่ าคญั ประการหน่ึง ทม่ี บี ทบาทต่อการให้เกดิ สารสนเทศ

4. บคุ ลากร (Peopleware) เป็นส่วนประกอบท่ีสาคัญ เพราะบุคลากรทีม่ ีความรู้ ความสามารถ และเข้าใจวิธกี ารใหไ้ ดม้ าซง่ึ สารสนเทศ จะเป็นผู้ดาเนนิ การ ในการทางานทง้ั หมด บคุ ลากรจงึ ต้องมีความรูค้ วามเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ บคุ ลากรภายในองค์กรเป็น สว่ นประกอบทีจ่ ะทาใหเ้ กดิ ระบบสารสนเทศด้วยกนั ทกุ คน เช่น ร้านขายสนิ คา้ แหง่ หนึ่ง บคุ ลากรท่ี ดาเนนิ การในร้านค้าทกุ คน ตัง้ แตผ่ ้จู ัดการถึงพนกั งานขาย เปน็ สว่ นประกอบทจ่ี ะทาให้เกดิ สารสนเทศ ได้

5. ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน (Procedure) ขนั้ ตอนการปฏิบัติงาน เป็นระเบียบวธิ ีการ ปฏิบตั ิงานในการจดั เกบ็ รักษาขอ้ มลู ใหอ้ ยู่ในรปู แบบที่จะทาให้เป็นสารสนเทศได้ เช่น กาหนดให้ มี การปอ้ นขอ้ มลู ทุกวัน ปอ้ นขอ้ มูลให้ทันตามกาหนดเวลา มีการแก้ไขขอ้ มูลให้ถกู ตอ้ งอยเู่ สมอ กาหนดเวลาในการประมวลผล การทารายงาน การดาเนินการ ตา่ ง ๆ ต้องมีขั้นตอน หากข้ันตอนใดมี ปญั หาระบบกจ็ ะมปี ัญหาดว้ ย เพราะทุกขัน้ ตอนมีผลต่อระบบสารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศ

ระบบสารสนเทศสามารถจาแนกไดต้ ามลกั ษณะการดาเนินงานไดด้ งั น้ี

1.ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ (TPS : Transaction Processing Systems) เปน็ ระบบสารสนเทศทเี่ กยี่ วกับการบันทกึ และประมวลขอ้ มลู ทเี่ กดิ จาก ธุรกรรมหรอื การ ปฏิบัตงิ านประจาหรืองานขน้ั พืน้ ฐานขององค์การ เช่น การซ้ือขายสนิ คา้ การบนั ทึกจานวนวัสดุคงคลงั เมอ่ื ใดก็ตามที่มกี ารทาธรุ กรรมหรือปฏบิ ัติงานในลกั ษณะดังกล่าวขอ้ มลู ที่เกี่ยวข้องจะเกิดขนึ้ ทันที เช่น ทกุ คร้งั ที่มกี ารขายสนิ ค้า ขอ้ มลู ทเี่ กิดข้ึนกค็ อื ช่อื ลูกค้า ประเภทของลูกค้า จานวนและราคาของสนิ ค้า ท่ขี ายไป รวมทั้งวิธกี ารชาระเงนิ ของลกู ค้า

2.ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจดั การ (MIS : Management Information System) คอื ระบบที่ให้สารสนเทศ ท่ผี ู้บรหิ ารต้องการ เพือ่ ใหส้ ามารทางาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยจะ รวมทง้ั สารสนเทศภายในและภายนอกสารสนเทศทีเ่ กยี่ วพนั กบั องคก์ รทงั้ ในอดตี และปัจจุบัน

นอกจากนีร้ ะบบน้ีจะตอ้ งใหส้ ารสนเทศในช่วงเวลาทเ่ี ปน็ ประโยชน์ เพ่ือใหผ้ ู้บรหิ ารสามารถตัดสินใจใน การวางแผนการควบคมุ และการปฏบิ ตั กิ ารขององค์กรไดอ้ ยา่ ง ถูกต้อง แม้วา่ ผบู้ ริหารทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชน์จากระบบนี้สงู สดุ คือผู้บริหารระดับกลาง แตโ่ ดยพื้นฐานของระบบนี้แลว้ จะเป็นระบบที่ สามารถสนบั สนุนขอ้ มลู ให้ผบู้ ริหารท้ังสาม ระดับ คอื ทงั้ ผู้บริหารระดบั ตน้ ผ้บู รหิ ารระดับกลางและ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู โดยระบบน้ีจะให้รายงานท่ีสรุปสารสนเทศซึง่ รวบรวมจากฐานข้อมูลทัง้ หมดของ บรษิ ทั

3.ระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจ (DSS : Decision Support System) เป็นระบบที่ พัฒนาขึ้นจากระบบ MIS อีกระดบั หน่ึง เนื่องจาก ถงึ แมว้ า่ ผทู้ ่ีมหี นา้ ท่ีในการตดั สนิ ใจจะสามารถใช้ ประสบการณห์ รอื ใชข้ ้อมูลทม่ี อี ยูแ่ ลว้ ในระบบเอ็มไอเอส ของบรษิ ัท สาหรบั ทาการตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพในงานปกติ แต่บ่อยคร้งั ท่ีผูต้ ดั สนิ ใจ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงผู้บรหิ ารในระดับสูงและ ระดบั กลางจะเผชิญกับการตดั สนิ ใจท่ีประกอบด้วยปจั จยั ท่ีซับซอ้ นเกนิ กว่าความสามารถของมนุษยท์ ี่ จะประมวล เขา้ ด้วยกันไดอ้ ยา่ งถูกต้อง จงึ ทาใหเ้ กดิ ระบบน้ีขึ้น ซึ่งเป็นระบบทส่ี นับสนนุ ความตอ้ งการ เฉพาะของผบู้ รหิ ารแต่ละคน (made by order) ในหลายๆสถานการณ์ ระบบ นม้ี หี น้าทช่ี ว่ ยให้การ ตัดสินใจเป็นไปได้อยา่ งสะดวก

4.ระบบสนบั สนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GDSS : Group Decision Support System) เป็นระบบยอ่ ยหนง่ึ ในระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ โดยทร่ี ะบบสนบั สนุนการตัดสินใจจะ ช่วยผู้บริหารในเร่ืองการตดั สินใจในเหตกุ ารณ์หรอื กิจกรรมทางธุรกิจทีไ่ ม่มโี ครงสร้างแน่นอน หรือก่ึง โครงสรา้ ง ระบบสนบั สนุนการตัดสนิ ใจอาจจะใชก้ ับบคุ คลเดยี วหรอื ช่วยสนบั สนุนการตดั สินใจเป็น กลุ่ม นอกจากนนั้ ยงั มีระบบสนบั สนนุ ผู้บริหารเพื่อช่วยผู้บรหิ ารในการตดั สินใจเชงิ กลยุทธ์

5.ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System) ระบบ สารสนเทศภูมศิ าสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือกระบวนการทางาน เกย่ี วกบั ขอ้ มลู ในเชงิ พน้ื ท่ีดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ ทใี่ ชก้ าหนดขอ้ มลู และสารสนเทศ ทมี่ ีความสัมพนั ธ์ กับตาแหนง่ ในเชิงพืน้ ที่ เช่น ทอ่ี ยู่ บา้ นเลขที่ สัมพนั ธ์กับตาแหนง่ ในแผนท่ี ตาแหนง่ เสน้ รงุ้ เส้นแวง ข้อมูลและแผนที่ใน GIS เปน็ ระบบขอ้ มูลสารสนเทศท่อี ยใู่ นรปู ของตารางข้อมูล และฐานข้อมลู ท่ีมี

สว่ นสมั พันธ์กับขอ้ มลู เชงิ พืน้ ท่ี (Spatial Data) ซ่ึงรปู แบบและความสมั พันธ์ของขอ้ มลู เชิงพ้ืนท่ี ทั้งหลาย จะสามารถนามาวเิ คราะห์ด้วย GIS และทาให้สือ่ ความหมายในเร่ืองการเปล่ียนแปลงท่ี สมั พันธ์กบั เวลาได้ เชน่ การแพร่ขยายของโรคระบาด การเคล่ือนย้าย ถ่ินฐาน การบกุ รุกทาลาย การ เปลย่ี นแปลงของการใช้พ้นื ที่ ฯลฯ ขอ้ มลู เหล่านี้ เมือ่ ปรากฏบนแผนที่ทาใหส้ ามารถแปลและสอ่ื ความหมาย ใช้งานไดง้ า่ ย

6.ระบบสารสนเทศเพื่อผบู้ รหิ ารระดบั สงู (EIS : Executive Information System) เปน็ ระบบที่สร้างข้ึน เพือ่ สนบั สนนุ สารสนเทศและการตดั สนิ ใจสาหรบั ผูบ้ รหิ ารระดบั สงู โดยเฉพาะ หรอื สามารถกลา่ วได้ว่าระบบน้คี อื สว่ นหนึง่ ของ DSS ทแ่ี ยกออกมา เพือ่ เน้นการให้สารสนเทศที่ สาคัญตอ่ การบรกิ ารแก่ผู้บริหาร

7. ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ระบบท่ีทาให้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ กลายเป็นผูช้ านาญการ ในสาขาใดสาขาหนง่ึ คลา้ ยกับมนุษย์ ระบบผู้เชย่ี วชาญมสี ่วนคลา้ ยคลงึ กบั ระบบอน่ื ๆ คอื เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยผู้บรหิ ารแกไ้ ขปญั หาหรือทาการ ตดั สินใจได้ดีขึ้น อยา่ งไร ก็ดีระบบผูเ้ ชย่ี วชาญจะแตกต่างกับระบบอื่นอยู่มาก เนอ่ื งจากระบบผู้เชย่ี วชาญจะเกยี่ วขอ้ งกับการ จดั การ ความรู้ (Knowledge) มากกว่าสารสนเทศ และถกู ออกแบบใหช้ ่วยในการตดั สนิ ใจโดยใชว้ ิธี เดยี วกบั ผู้เชีย่ วชาญที่ มนษุ ย์ โดยใช้หลกั การทางานด้วยระบบ ปญั ญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence)

8.ระบบสานกั งานอตั โนมตั ิ (OAS : Office Automation System) เปน็ ระบบที่ใช้ บุคลากรน้อยทส่ี ดุ โดยอาศัยเคร่อื งมอื แบบอัตโนมัตแิ ละระบบสื่อสารเชื่องโยงขา่ วสารระหวา่ ง เครอ่ื งมือเหล่านนั้ เข้าดว้ ยกัน QAS มจี ุดมุง่ หมายใหเ้ ป็นระบบทไ่ี ม่ใชก้ ระดาษ (Paperless System) ส่งข่าว สารถงึ กันดว้ ยข้อมูลอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange) แทน ซึ่งมรี ูปแบบใน การใชง้ าน 2 ลักษณะคอื

รปู แบบของระบบงานพิมพ์และการประมวลผลทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Publishing & Processing System) ได้แกก่ ารสือ่ สารด้วยขอ้ ความ รูปภาพ จดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Mail : E-Mail) โทรสาร (FAX)หรอื เสยี งอเิ ล็กทรอนิกส์ (Voice Mail) เปน็ ต้น

รูปแบบการประชุมทางไกลดว้ ยระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Meeting System) เป็นเทคนิคท่ี ทาใหก้ ลมุ่ คนท่ัวโลกสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารกนั ได้ คล้ายการพูดคุยกันโดยตรง เช่น การประชุมทางไกล แบบมีแตเ่ สยี ง (Audio Conferencing),การประชุมทางไกลแบบมที ง้ั ภาพและเสยี ง (Video Conferencing) หรอื ทัง้ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ โทรสาร และ เสยี งอิเล็กทรอนิกส์รวมกัน เปน็ ต้น

ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

เทคโนโลยี (Technology) หมายถงึ การนาความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์มาประยุกต์ใน การพฒั นาเคร่อื งมือ เครอื่ งใช้ อุปกรณ์ วิธกี ารและกระบวนการต่างๆ เพื่อให้การดารงชวี ติ ของมนษุ ย์ ง่ายและสะดวกยิ่งขน้ึ

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ผลลพั ธท์ ี่เกดจากการนาข้อมูลมาผา่ น กระบวนการต่างๆ อย่างมรี ะบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การนาความรู้ ทางด้านวทิ ยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อสรา้ งหรือจดั การสารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบและรวดเร็ว โดย อาศยั เทคโนโลยที างด้านคอมพวิ เตอร์

ประเภทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศทมี่ อี ยู่ในโลก ณ ปจั จุบนั สามารถแบ่งออกได้ เป็น 4 ประเภท คอื 1. เทคโนโลยีด้านการรบั ข้อมลู (Sensing Technology) เป็นอปุ กรณท์ ี่ชว่ ยให้เรา

สามารถเกบ็ รวบรวมข้อมลู ข่าวสารท่อี ยู่รอบตวั เราแล้วเปลยี่ นใหอ้ ยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอรส์ ามารถ

เข้าใจได้ อปุ กรณเ์ หลา่ นไ้ี ด้แก่ เครอื่ งสแกนภาพ(image scanners) เคร่อื งอา่ นรหัสแถบ(bar code scanners) และ อปุ กรณร์ ับสญั ญาณ(Sensors) เป็นตน้

2. เทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร (Communication Technology) เช่น โทรสาร โทรศพั ท์ไร้สาย เครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN)

3. เทคโนโลยวี ิเคราะห์ (Analyzing Technology) ได้แก่ คอมพิวเตอร์ตา่ งๆ ทัง้ ส่วน ท่เี ปน็ Hardware และ Software

4. เทคโนโลยกี ารแสดงผล (Display Technology) เชน่ จอภาพ เครือ่ งพมิ พ์ โปรเจคเตอร์

ประโยชนแ์ ละตวั อยา่ งของการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

1. ดา้ นการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารถูกนามาใช้เพอ่ื อานวยความ สะดวกในการบรหิ ารด้านการบริหารดา้ นการศกึ ษา เชน่ ระบบการลงทะเบียน และระบบการจัด ตารางสอน นอกจากนยี้ งั ใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการเพมิ่ โอกาสทางด้านการศกึ ษาและเพม่ิ ประสิทธภิ าพ การเรยี นการสอน

2. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารถูกนามาใช้เรม่ิ ต้ังแต่ การทาทะเบียนคนไข้ การรกั ษาพยาบาลทัว่ ไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคตา่ งๆไดอ้ ยา่ ง รวดเรว็ และแมน่ ยา นอกจากนีย้ ังใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ งานศึกษา โมเลกลุ สารเคมี สามารถคน้ ควา้ ข้อมูลทางการแพทย์ รกั ษาคนไข้ด้วยระบบการรกั ษาทางไกล ตลอดเวลาผ่านเครอื ข่ายการสื่อสาร เครือ่ งเอกซเรยค์ อมพิวเตอรท์ ี่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ (EMI scanner) ถูกนามาถา่ ยภาพสมองมนษุ ย์เพ่ือตรวจหาความผิดปกติในสมอง

3. ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารถกู นามาใช้ ประโยชน์ในด้านเกษตรกรรม เชน่ การจัดทาระบบข้อมูลเพ่อื การเกษตรและพยากรณ์ผลผลติ ด้าน การเกษตร นอกจากนีย้ งั ชว่ ยพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านอตุ สาหกรรม การประดิษฐ์ห่นุ ยนต์เพือ่ ใช้ ทางานบา้ น และหนุ่ ยนตเ์ พอื่ งานอุตสาหกรรมที่ตอ้ งเส่ียงภยั และเป็นอันตรายต่อสขุ ภาพ เช่น โรงงาน สารเคมี โรงผลิตและการจา่ ยไฟฟา้ รวมถงึ งานที่ต้องทาซ้าๆ

4. ดา้ นการเงินธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารถกู นามาใช้ในด้านการเงินและ การธนาคาร โดยใช้ชว่ ยดา้ นการบัญชี การฝากถอนเงิน โอนเงิน บรกิ ารสนิ เชื่อ และเปลีย่ นเงินตรา บรกิ ารขา่ วสารธนาคาร การใช้คอมพวิ เตอรด์ ้านการเงินการธนาคารท่ีรูจ้ ักและนิยมใชก้ นั ทวั่ ไป เชน่ บรกิ ารฝากถอนเงนิ การโอนเงินแบบอิเลก็ ทรอนิกส์

5. ด้านความม่ันคง มีการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารกนั อยา่ งแพรห่ ลาย เชน่ ใช้ ในการควบคมุ ประสานงานวงจรสือ่ สารทหาร การแปลรหัสลบั ในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การ สง่ ดาวเทียมและการคานวณวถิ ีโคจรของจรวดไปสู่อวกาศ สานกั งานตารวจแห่งชาตขิ องประเทศไทยมี ศูนย์ประมวลข่าวสาร มีระบบจัดทาทะเบียนปืน ทะเบียนประวตั อิ าชญากร ทาให้เกิดความสะดวก และรวดเรว็ ในการสบื ค้นขอ้ มูลเพอ่ื การสบื สวนคดีตา่ งๆ

6. ดา้ นการคมนาคม มีการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในสว่ นท่ีเก่ียวกับการ เดินทาง เชน่ การเดินทางโดยรถไฟ มกี ารเชื่อมโยงขอ้ มูลการจองท่ีนง่ั ไปยงั ทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อ ผ้โู ดยสาร การเชค็ อนิ ของสายการบิน ได้จดั ทาเคร่ืองมอื ท่สี ะดวกต่อลกู ค้า ในรูปแบบของการเช็คอิน ดว้ ยตนเอง

7. ดา้ นวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรม มกี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการ ออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรบั แรงส่ันสะเทือนของอาคารเมอื่ เกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคยี งความจรงิ

8 ด้านการพาณิชย์ องคก์ รในภาคธุรกจิ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ในการบริหารจดั การ เพื่อชว่ ยเพิม่ ความยืดหยุ่นใหก้ บั องคก์ รในการทางาน ทาให้การประสานงานหรอื การทากจิ กรรมตา่ งๆ ของแต่ละหนว่ ยงานในองค์กรหรอื ระหว่างองค์กรเปน็ ไปได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ มากข้นึ นอกจากนี้ยงั สามารถใช้ปรบั ปรงุ การใหบ้ ริการกบั ลกู คา้ ทวั่ ไป สง่ิ เหล่านี้นบั เป็นการสร้าง โอกาสความได้เปรยี บในการแขง่ ขันให้กับองค์กร

แนวโนม้ การใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร

1. ด้านอปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เมื่อพจิ ารณาเครือข่ายการส่อื สารทวั่ ไป จากอดีตจนถึงปจั จุบัน เห็นไดช้ ัดว่ามนุษยใ์ ช้อปุ กรณ์การสื่อสารแบบพกพามากข้ึนเร่ือยๆ เรม่ิ จากวิทยุ เรยี กตวั (pager) ซ่ึงเป็นเครือ่ งรบั ขอ้ ความ มาเปน็ ถึงโทรศพั ท์เคลอ่ื นท่ี อุปกรณ์สื่อสารชนิดน้ีได้ถูก พัฒนาจนสามารถใช้งานดา้ นอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคล่อื นที่ร่นุ ใหม่สามารถใช้ ถ่ายรปู ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดโู ทรทศั น์ บันทึกขอ้ มูลส้ันๆ บางรนุ่ มลี กั ษณะเป็นเครอื่ งช่วยงานสว่ นบุคคล

(Personal Digital Assistant : PDA) ซง่ึ สามารถเชอ่ื มต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อกี ทง้ั ยังมีหนา้ จอแบบ สัมผสั ทาใหส้ ะดวกต่อการใชง้ านมากข้ึน บางรนุ่ มีอปุ กรณ์สไตลสั (stylus)

2. ดา้ นระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ระบบเครอ่ื งข่ายคอมพวิ เตอร์ในอดีตมกั เป็น ระบบท่ีใช้ คอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์เชื่อมตอ่ ตรงโดยจุดเดยี ว (stand alone) ต่อมามกี ารเช่อื มตอ่ คอมพิวเตอร์ เข้าด้วยกนั ภายในองคก์ ร เพือ่ ทาให้สามารถใช้ขอ้ มลู รว่ มกัน หรือใชเ้ ครอ่ื งพิมพ์ร่วมกนั จนเกดิ เป็น ระบบรับและใหบ้ ริการ หรอื ทเ่ี รียกวา่ ระบบรับ-ใหบ้ ริการ (client-server system) โดยมเี คร่ือง ให้บริการ (server) และเคร่ืองรบั บริการ (client) การให้บริการบนเว็บก็นาหลกั การของระบบรบั - ใหบ้ ริการมาใชช้ ว่ ยใหก้ ารทางานงา่ ยข้นึ สะดวก รวดเร็ว เพราะสามารถทางานจากที่ใดกไ็ ด้โดยผา่ น ระบบอนิ เตอร์เนต็ โดยมีเวบ็ เซอร์เวอร์ (web server) เป็นเครื่องใหบ้ รกิ าร

3. ด้านเทคโนโลยี ระบบทางานอตั โนมตั ิทส่ี ามารถตัดสนิ ใจไดเ้ องจะเข้ามาแทนท่ีมากข้ึน เช่น ระบบแนวนาเส้นทางจราจร ระบบจอดรถ ระบบตรวจหาตาแหนง่ ของวตั ถุ ระบบควบคุมความ ปลอดภัยภายในอาคาร ระบบท่ที างานอัตโนมตั เิ ชน่ นี้ อาจกลายเปน็ ระบบหลักในการดาเนนิ การของ หน่วยงาน่ตา่ งๆ โดยเข้ามาแทนทกี่ ารทางานของมนุษย์ มกี ารเช่อื มต่ออย่างกว้างขวางไปยงั หน่วยงาน ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมากกวา่ ท่ีเป็นอยู่ในปจั จุบัน

ความเปลย่ี นแปลงจากการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร

ความกา้ วหนา้ ของอุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสรเทศและการสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพ่ือน สนองความตอ้ งการดา้ นตา่ งๆ ของผใู้ ชป้ ัจจบุ นั ซ่งึ มีจานวนผใู้ ช้งานเทคโนโลยสี ารสรเทศและการ สื่อสารทวั่ โลกประมาณพันลา้ นคน และเพ่มิ ข้นึ เรือ่ ยๆ ทุกปี ผูใ้ ช้สามารถใช้งานอปุ กรณด์ ังกลา่ วได้ทุก ที่ ทุกเวลา จึงทาให้เกิดความเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ งๆทง้ั ที่เกิดประโยชน์และโทษ เช่น

1. ดา้ นสังคม สภาพเสมือนจรงิ การใช้อินเตอรเ์ นต็ เชื่อมโยงการทางานตา่ งๆ จนเกิดเปน็ สงั คม ท่ีตดิ ตอ่ ผา่ นทางอนิ เตอรเ์ นต็ หรอื ที่รู้จกั กันว่า ไซเบอรฺ์สเปช (cyber space) ซึง่ มกี ิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การชอ้ื สนิ ค้า และบริการ การทางานผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ าให้เกิดสภาพทีเ่ สมอื น

จริง (virtual) เชน่ เกมเสมือนจรงิ หอ้ งเรยี นเสมือนจริง ซ่ึงทาให้ลดเวลาในการเดินทางและสามารถใช้ งานได้ทกุ ที่ทุกเวลา

2. ดา้ นเศรษฐกิจ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารสง่ ผลให้เกดิ สงั คมโลกาภิวตั น์ (globalization) เพราะสามารถชมข่าว ชมรายการโทรทัศนท์ ่สี ง่ กระจายผา่ นดาวเทียมของประเทศ ตา่ งๆ ไดท้ ่วั โลก สามารถรับรขู้ า่ วสารไดท้ ันที ใช้อินเทอรเ์ นต็ ในการติดต่อส่ือสารระหว่างกัน ระบบ เศรษฐกิจซงึ่ แตเ่ ดมิ มขี อบเขตจากดั ภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกจิ โลก เกิดกระแสการ หมนุ เวยี นแลกเปลีย่ นสินค้าและบรกิ ารอยา่ งรวดเร็วและกว้างขวาง ระบบเศรษฐกิจของทกุ ประเทศใน โลกจึงเชอ่ื มโยงและผูกพันกนั มากขึ้น

3. ด้านส่ิงแวดล้อม เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร มปี ระโยชน์ในด้านธรรมชาติและ และสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกดั เซาะชายฝ่งั โดยใช้ภาพถา่ ยดาวเทียม หรอื ภาพถา่ ยทาง อากาศ ร่วมกบั การจัดเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู ระดบั น้าทะเล ความสงู ของคล่นื จากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษา เพอื่ หาสาเหตุ และนาข้อมลู มาวางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝง่ั แต่ละแหง่ ได้ อยา่ งเหมาะสม

ตัวอยา่ งอาชพี ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร

ตลาดแรงงานต้องการผทู้ ่ีมคี วามรคู้ วามเข้าใจงานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารอย่าง แท้จรงิ ซึ่งงานดา้ นนจี้ ะรวมถงึ งานดา้ นการออกแบบโปรแกรมตา่ งๆ โปรแกรมใชง้ านบนเวบ็ งานด้าน การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ งานด้านฐานข้อมูล งานดา้ นระบบเครือข่ายทง้ั ในและนอก องคก์ ร รวมถึงการรกั ษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบคอมพิวเตอรบ์ นเครือขา่ ย ดงั นัน้ องค์กรจึงมี ความตอ้ งการบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบรหิ ารจัดการ และพฒั นาซอฟตแ์ วร์ เพื่อใช้ งานด้านตา่ งๆขององค์กร ตวั อย่างอาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เช่น

1. นกั เขียนโปรมแกรมหรอื โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ทาหน้าท่ใี นการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พ่อื ใชใ้ นงานด้านต่างๆ เชน่ โปรมแกรมเกีย่ วกับ

การซ้อื ขายสินคา้ โปรแกรมท่ใี ช้กับงานด้านบญั ชี หรือโปรแกรมทใ่ี ช้กบั ระบบงานขนาดใหญข่ อง องคก์ ร

2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) ทาหนา้ ทีใ่ นการศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ละพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวเิ คราะหร์ ะบบจะทาการ

วเิ คราะห์ระบบงานและออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน ซ่ึงอาจรวมถงึ งานด้านการออกแบบฐานขอ้ มลู ด้วย

3. ผ้ดู ูแลและบรหิ ารฐานข้อมลู (Database Administrator) ทาหน้าท่ีบริหารและจัดการฐานขอ้ มูล (database) รวมถงึ การออกแบบ บารงุ รักษาข้อมลู

และการดูแลระบบความปลอดภยั ของฐานขอ้ มูล เช่น การกาหนดบญั ชผี ู้ใช้ การกาหนดสิทธผิ์ ใู้ ช้

4. ผูด้ ูแลและบรหิ ารระบบ (System Administrator) ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้งและบารงุ รกั ษา

ระบบปฏิบตั ิการ การติดตัง้ ฮาร์ดแวร์ สรา้ ง ออกแบบและบารุงรกั ษาบัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กรขนาด เลก็ เจา้ หนา้ ท่ีความคมุ ระบบอาจต้องดูแลและบรหิ ารระบบเครอื ข่ายด้วย

5. ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือขา่ ย (Network Administrator) ทาหนา้ ทบ่ี ริหารและจัดการออกแบบระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และดูแลรักษาความ

ปลอดภยั ของระบบเครอื ขา่ ยขององคก์ ร เช่น ตรวจสอบการใชง้ านเครอื ขา่ ยของพนกั งานและติดตัง้ โปรแกรมปอ้ งกนั ผู้บกุ รุกเครอื ข่าย

6. ผพู้ ัฒนาและบรหิ ารระบบเว็บไซต์ (Webmaster) ทาหน้าทอี่ อกแบบพัฒนา ปรับปรุงและบารงุ รกั ษาเวบ็ ไซตใ์ หม้ คี วามทันสมัย โดยเฉพาะอยา่ ง

ยิ่งตอ้ งมีการปรับปรุงข้อมูลใหเ้ ป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

7. เจ้าหนา้ ท่เี ทคนคิ (Technician) ทาหน้าทซ่ี ่อมบารงุ รักษาเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ตดิ ตั้งโปรแกรม หรือติดต้ังฮารด์ แวร์ตา่ งๆและ

แก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดจากการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในองค์กร

8. นกั เขียนเกม (Game maker) ทาหนา้ ท่ีเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพวิ เตอรใ์ นปจั จบุ ันน้กี ารเขียนโปรมแกรม

คอมพวิ เตอร์เป็นอาชพี ได้รบั ความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย