บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด

เป็นพระราชสวามีของพระนางโสมา พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Hùntián (混塡) หรือ Hùnhuì (混湏) เป็นตำนานพระทอง-นางนาค3

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
– ศตวรรษที่ 2 – 2ไม่ปรากฏพระนาม4
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าฮุน ปัน ฮวง (พระนามในบันทึกเอกสารจีน)ศตวรรษที่ 2 – พ.ศ. 741พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Hùnpánkuàng (混盤況)5
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าปัน ปาน (พระนามในบันทึกเอกสารจีน)พ.ศ. 741 – 744 (3 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Pánpán (盤盤)6
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าศรีมารญะ พ.ศ. 744 – 768 (24 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า ฟ่าน ชือม่าน (范師蔓)7
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าฟ่าน จินเซิง (พระนามในบันทึกเอกสารจีน)พ.ศ. 768 – 768 (น้อยกว่า 1 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า ฟ่าน จินเซิง (范金生)8
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าศรีธรณีนทรวรมัน พ.ศ. 768 – 787 (19 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า ฟ่าน จาน (范旃)9
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าฟ่าน เฉิง (พระนามในบันทึกเอกสารจีน)พ.ศ. 787 – 787 (น้อยกว่า 1 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า ฟ่าน เฉิง (范長)10
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอัสรชัย พ.ศ. 787 – 832 (45 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า ฟ่าน สุน (范尋)11
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้า ฟ่าน เทียนจู (พระนามในบันทึกเอกสารจีน)พ.ศ. 832 – 900 (68 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า ฟ่าน เทียนจู12
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าเจิน ท่าน (พระนามในบันทึกเอกสารจีน)พ.ศ. 900 – 953 (53 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Zhāntán (旃檀)13
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าเกาฑิณยะชัยวรมันที่ 2 พ.ศ. 953 – 978 (25 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Qiáochénrú (僑陳如)14
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าศรีอินทรวรมัน พ.ศ. 977 – 978 (1 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Chílítuóbámó (持梨陀跋摩)15
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
– พ.ศ. 978 – 981 (3 ปี) ไม่ปรากฏพระนาม16
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
– พ.ศ. 981 – 1027 (46 ปี) ไม่ปรากฏพระนาม17
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าเกาฑิณยะชัยวรมันที่ 3 พ.ศ. 1027 – 1057 (30 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Qiáochénrú Shéyébámó (僑陳如闍耶跋摩) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเกาฑิณยะชัยวรมันที่ 218
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้ารุทรวรมัน พ.ศ. 1057 – 1093 (36 ปี) พระนามในบันทึกเอกสารจีนว่า Liútuóbámó (留陁跋摩) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรฟูนานพระองค์สุดท้าย และพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรจามปา เป็นพระราชโอรสของ พระเจ้าเกาฑิณยะชัยวรมันที่ 3 ที่ประสูติจากพระสนม เมื่อพระราชบิดาสวรรคตพระองค์ก็ทำการแย่งชิงราชสมบัติและสังหาร เจ้าชายกุณณะวรมัน รัชทายาทโดยชอบธรรมที่ประสูติจากพระนางกุลประภาวดี พระอัครมเหสี จึงมีการทำสงครามยืดเยื้อกับพระนางกุลประภาวดี เป็นสาเหตุให้อาณาจักรฟูนานอ่อนแอและล่มสลายลงในที่สุด เมื่อพระเจ้าภววรมันที่ 1 ร่วมกันกับเจ้าชายจิตรเสน (พระเจ้ามเหนทรวรมัน) พระอนุชา ทำสงครามเพื่อชิงราชสมบัติและบุกยึดราชธานีวยาธปุระได้สำเร็จสงครามอาณาจักรฟูนาน – อาณาจักรเจนละ (พ.ศ. 1093 – 1170) –
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าปวีรักษ์วรมัน พ.ศ. 1093 – 1143 (50 ปี)สงครามอาณาจักรฟูนาน – อาณาจักรเจนละ –
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้ามเหนทรชัยวรมัน พ.ศ. 1143 – 1158 (15 ปี)สงครามอาณาจักรฟูนาน – อาณาจักรเจนละ –
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้านเรนทรวรมัน พ.ศ. 1158 – 1170 (12 ปี)สงครามอาณาจักรฟูนาน – อาณาจักรเจนละ

อาณาจักรเจนละ

(พ.ศ. 1093 – 1345)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อาณาจักรเจนละ (พ.ศ. 1093 – 1256)–

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าศรุตวรมัน พ.ศ. 1093 – 1098 (5 ปี) ทรงปลดแอกอาณาจักรเจนละจากการปกครองของอาณาจักรฟูนานในศตวรรษที่ 5 พระองค์สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์กัมโพช-สุริยวงศ์ ซึ่งเป็นราชวงศ์ของพราหมณ์กัมพูสวยัมภูวะกับพระนางอัปสรเมราพระองค์ทรงเป็นพระราบิดาในพระเจ้าเศรษฐวรมัน–
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าเศรษฐวรมัน พ.ศ. 1098 – 1103 (5 ปี) เป็นพระโอรสของพระเจ้าศรุตวรมัน เป็นผู้สถาปนาเมืองเศรษฐปุระเป็นเมืองหลวง ที่เชิงเขาซึ่งเป็นที่ตั้งของปราสาทหินวัดพู พระองค์ทรงเป็นพระราชบิดาในพระนางกัมพุชราชลักษมี–
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าวีรวรมัน พ.ศ. 1103 – 1118 (15 ปี)–
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระนางกัมพุชราชลักษมี พ.ศ. 1118 – 1123 (5 ปี) เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าเศรษฐวรมัน ต่อมามอบราชสมบัติให้แก่พระเจ้าภววรมันที่ 1 ซึ่งเป็นพระราชสวามีของพระนาง19
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าภววรมันที่ 1 พ.ศ. 1123 – 1143 (20 ปี) เป็นเชษฐาของพระเจ้ามเหนทรวรมัน พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์ในอาณาจักรฟูนานที่ปกครองเมืองภวปุระ พระองค์ได้ร่วมมือกันกับเจ้าชายจิตรเสน ยกกองทัพเข้าชิงราชสมบัติจากพระเจ้ารุทรวรมัน เพราะเห็นว่าพระเจ้ารุทรวรมันขาดความชอบธรรมในการขึ้นครองราชสมบัติโดยหลังจากที่พระเจ้าเกาฑิณยะชัยวรมันที่ 3สวรรคต พระเจ้ารุทรวรมันก็ทำการสังหารรัชทายาทที่ชอบธรรมที่ประสูติจากพระอัครมเหสี แล้วขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งฟูนาน ซึ่งพระเจ้าภววรมันที่ 1 ก็ได้รับชัยชนะเหนือพระเจ้ารุทรวรมันและยึดราชธานีวยาธปุระได้สำเร็จ20
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้ามเหนทรวรมัน พ.ศ. 1143 – 1159 (16 ปี) เป็นอนุชาของพระเจ้าภววรมันที่ 121
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1 พ.ศ. 1159 – 1178 (19 ปี) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้ามเหนทรวรมัน22
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าภววรมันที่ 2 พ.ศ. 1182 – 1200 (18 ปี)23
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 พ.ศ. 1200 – 1224 (24 ปี) สวรรคตโดยไม่มีรัชทายาทที่เป็นชายหลงเหลืออยู่เลย พระมเหสีของพระองค์ คือ พระนางชยเทวี จึงสืบราชสมบัติต่อ และทำให้เกิดการแบ่งแยกดินแดนออกเป็นภาคส่วนต่าง ๆ 24
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระนางชยเทวี พ.ศ. 1224 – 1256 (32 ปี) เป็นพระมเหสีของพระเจ้าชัยวรมันที่ 1อาณาจักรเจนละ ถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 อาณาจักร คือ อาณาจักรเจนละบกและอาณาจักรเจนละน้ำ[ต้องการอ้างอิง] อาณาจักรเจนละน้ำ (พ.ศ. 1256 – 1345)25
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าพลาทิตย์ พ.ศ. 1256 – 1256 (น้อยกว่า 1 ปี)26
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้านรีประทินวรมัน พ.ศ. 1256 – 1259 (3 ปี)27
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าบุษกรักษา พ.ศ. 1259 – 1273 (14 ปี)28
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าสัมภูวรมัน พ.ศ. 1273 – 1303 (30 ปี) ทรงรวมเจนละเข้าเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้ง[ต้องการอ้างอิง] 29
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 1 พ.ศ. 1303 – 1323 (20 ปี)30
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้ามหิปติวรมัน พ.ศ. 1303 – 1345 (42 ปี) สวรรคตจากการโดนพระเจ้าสัญชัยตัดพระเศียร เมื่อ พ.ศ. 1345อาณาจักรศรีวิชัย เข้ายึดครองอาณาจักรเจนละ (พ.ศ. 1345)

อาณาจักรพระนคร

(พ.ศ. 1345 – 1974)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อาณาจักรพระนคร (พ.ศ. 1345 – 1974)สถาปนา มเหนทรบรรพต เป็นเมืองหลวง สถาปนา หริหราลัย เป็นเมืองหลวง 31

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 พ.ศ. 1345 – 1378 (33 ปี) ประกาศอิสรภาพกัมพูชาจากการยึดครองของอาณาจักรศรีวิชัย สถาปนาอาณาจักรพระนคร และรับการอภิเษกเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ณ พนมกุเลนและริเริ่มลัทธิเทวราชขึ้นเป็นครั้งแรกในกัมพูชา32พระเจ้าชัยวรมันที่ 3 พ.ศ. 1378 – 1420 (42 ปี) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชัยวรมันที่ 233
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 พ.ศ. 1420 – 1432 (12 ปี) ภาคิไนยในพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 พระองค์ได้สร้างปราสาทพระโค โดยอุทิศแด่พระราชบิดาและพระอัยกา และสร้างปราสาทบากองสถาปนา ยโศธรปุระ เป็นเมืองหลวง 34
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้ายโศวรมันที่ 1 พ.ศ. 1432 – 1453 (21 ปี) พระราชโอรสในพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 พระองค์ได้สร้างปราสาทโลเลย ย้ายราชธานีไปตั้งที่กรุงยโศธรปุระล้อมรอบด้วยพนมบาเค็ง อีกทั้งยังทรงโปรดให้ขุดบารายตะวันออก35
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1 พ.ศ. 1453 – 1466 (13 ปี) พระราชโอรสในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 พระองค์ได้สร้างปราสาทปักษีจำกรุง36
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2 พ.ศ. 1466 – 1471 (5 ปี) พระราชโอรสในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 พระเชษฐาในพระเจ้าหรรษวรมันที่ 1 พระองค์มีบทบาทในการชิงพระราชบัลลังก์พระมาตุลาของพระองค์เอง (พระเจ้าชัยวรมันที่ 4) พระองค์โปรดให้สร้างปราสาทกระวานสถาปนา เกาะแกร์ เป็นเมืองหลวง 37
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 4 พ.ศ. 1471 – 1484 (13 ปี) พระราชนัดดาในพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 (ประสูติแต่พระนางมเหนทรเทวี พระธิดาในพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1) พระองค์ได้อภิเษกสมรสกับพระนางชยเทวี พระขนิษฐาในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 พระองค์ทรงราชาภิเษกโดยอ้างสิทธิ์ทางสายพระราชมารดา และเป็นผู้สถาปนาเกาะแกร์เป็นราชธานี38
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2 พ.ศ. 1484 – 1487 (3 ปี) พระราชโอรสในพระเจ้าชัยวรมันที่ 4สถาปนา ยโศธรปุระ เป็นเมืองหลวง 39
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 พ.ศ. 1487 – 1511 (24 ปี) เป็นพระปิตุลาและพระภาดาของพระเจ้าหรรษวรมันที่ 2 พระองค์ได้ชิงพระราชบัลลังก์จากพระเจ้าหรรษวรมันที่ 2และทรงย้ายราชธานีกลับมาที่เมืองพระนคร ทรงโปรดให้สร้างปราสาทแปรรูปและปราสาทแม่บุญตะวันออก, ทรงเริ่มทำสงครามกับอาณาจักรจามปาในปี ค.ศ. 946สถาปนา พระนคร เป็นเมืองหลวง 40
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 พ.ศ. 1511 – 1544 (33 ปี) พระราชโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่คือเมืองชัยเยนทรนครและปราสาทตาแก้ว ให้เป็นศูนย์กลางแทนเมืองศรียโศธรปุระ41
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 1 พ.ศ. 1544 – 1549 (5 ปี) เป็นยุคแห่งความวุ่นวาย เนื่องจากมีพระมหากษัตริย์ 3 พระองค์ครองราชย์พร้อมกันทำให้เกิดความขัดแย้ง42
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 พ.ศ. 1549 – 1593 (42 ปี) ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ ดำเนินนโยบายเป็นพันธมิตรกับราชวงศ์โจฬะและสู้รบกับอาณาจักรตามพรลิงก์ โปรดให้สร้างปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย พระองค์ได้หันมานับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน43
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 พ.ศ. 1593 – 1609 (16 ปี) ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ พระองค์สืบราชสันตติวงศ์แต่พระมเหสีในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 โปรดให้สร้างปราสาทบาปวน โปรดให้ขุดบารายตะวันตกและโปรดให้สร้างปราสาทแม่บุญตะวันตกและปราสาทสด็อกก็อกธม44
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าหรรษวรมันที่ 3 พ.ศ. 1609 – 1623 (14 ปี) แย่งราชบัลลังก์จากพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 ตั้งศูนย์กลางพระนครที่ปราศาทบาปวน การรุกรานของอาณาจักรจามปาในปี พ.ศ. 1617 และ 162545
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรรมันที่ 6 พ.ศ. 1623 – 1650 (27 ปี) พระองค์ชิงราชบัลลังก์จากวิมายปุระ เป็นปฐมกษัตริย์ต้นสายราชสกุลมหิธรปุระ โปรดให้สร้างปราสาทพิมาย46
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1 พ.ศ. 1650 – 1656 (6 ปี) ชิงราชบัลลังก์ของพระเจ้าชัยวรมันที่ 647
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 พ.ศ. 1656–1688 (32 ปี) ลอบปลงพระชนม์พระปัยกาและแย่งชิงเพื่อขึ้นครองราชสมบัติต่อ และยังโปรดให้สร้าง ปราสาทนครวัด, บันทายสำเหร่, ธรรมนนท์, เจ้าสายเทวดา และ บึงมาลา อีกทั้งยังทำศึกสงครามรุกรานกับอาณาจักรไดเวียต และ จามปา48
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2 พ.ศ. 1693 – 1703 (10 ปี) เป็นลูกพี่ลูกน้องของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 249
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้ายโศวรมันที่ 2 พ.ศ. 1703 – 1710 (7 ปี) ถูกยึดอำนาจโดยพระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน50
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน พ.ศ. 1710 – 1720 (10 ปี) อาณาจักรจามปาได้เข้ามารุกรานเมื่อปี พ.ศ. 1720 จนกระทั่งเสียพระนครให้แก่จามปาในรัชสมัยพระเจ้าชัยอินทรวรมันที่ 4 กษัตริย์แห่งอาณาจักรจามปา ในอีกหนึ่งปีต่อมา คือเมื่อปี พ.ศ. 1721ถูกรุกรานโดยอาณาจักรจามปา (ว่างเว้นกษัตริย์ พ.ศ. 1721 – 1724) สถาปนา นครธม เป็นเมืองหลวง 51
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พ.ศ. 1724 – 1761 (37 ปี) เป็นผู้นำกองทัพชาวพระนครในการกอบกู้เอกราชของอาณาจักรพระนครให้พ้นจากการปกครองของอาณาจักรจามปา จนได้รับชัยชนะและเป็นเอกราชอีกครั้งในปี พ.ศ. 1734 หลังจากประสบความสำเร็จจากการทำศึกครั้งนั้นแล้ว จึงได้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจที่สำคัญเช่น การสร้างอโรคยศาลา พระราชวัง สระน้ำหลวง รวมไปถึงปราสาทองค์สำคัญ เช่น ปราสาทตาพรหม, ปราสาทพระขรรค์, ปราสาทบายน ใน นครธม และ ปราสาทนาคพันธ์ เป็นต้น52
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอินทรวรมันที่ 2 พ.ศ. 1762 – 1786 (24 ปี) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในรัชสมัยของพระองค์นั้นได้สูญเสียดินแดนทางฝั่งตะวันตกโดยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้ทำการฟื้นฟูอาณาจักรสุโขทัยขึ้น และดินแดนทางฝั่งตะวันออกนั้น อาณาจักรจามปา ก็ยังได้ประกาศเอกราชขึ้นมาอีกในรัชสมัยเดียวกัน53
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 8 พ.ศ. 1786 – 1838 (52 ปี) ถูกชาวมองโกลนำโดยกุบไลข่าน รุกรานในปี พ.ศ. 1826 และทำสงครามกับอาณาจักรสุโขทัย54
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอินทรวรมันที่ 3 พ.ศ. 1838 – 1851 (13 ปี) ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าชัยวรมันที่ 8 ผู้เป็นพระสัสสุระ ทำให้พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ มีการรับนักการทูตชาวจีนหยวน โจว ต๋ากวาน (พ.ศ. 1839 – 1840)55
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าอินทรวรมันที่ 4 พ.ศ. 1851 – 1870 (19 ปี)56
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าชัยวรมันที่ 9 พ.ศ. 1870 – 1879 (9 ปี) มีพระนามปรากฏในศิลาจารึกภาษาสันสกฤตเป็นพระองค์สุดท้าย สิ้นสุดการปกครองโดยราชสกุลมหิธรปุระหลังจากที่ได้ปกครองอาณาจักรมาอย่างยาวนานกว่า 300 ปี57พระเจ้าแตงหวาน พ.ศ. 1879 – 1883 (4 ปี) ต้นสายราชสกุลตระซ็อกประแอม58
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมนิพพานบท พ.ศ. 1883 – 1889 (6 ปี)59
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระสิทธานราชา พ.ศ. 1889 – 1890 (1 ปี)60
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมลำพงษ์ราชา พ.ศ. 1890 – 1896 (6 ปี)อาณาจักรอยุธยา ตีนครธมแตก แต่ยังคงมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป 61
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาสาต (พระบากระษัตร) พ.ศ. 1896 – 1899 (3 ปี)62
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาอาต (พระบาอัฐ) พ.ศ. 1899 – 1900 (1 ปี)63
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระกฎุมบงพิสี พ.ศ. 1900 (น้อยกว่า 1 ปี)64
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีสุริโยวงษ์ พ.ศ. 1900 – 1906 (6 ปี)65
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมรามา พ.ศ. 1906 – 1916 (10 ปี)66
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระธรรมาโศกราช พ.ศ. 1916 – 1936 (20 ปี)อาณาจักรอยุธยา นำโดยสมเด็จพระราเมศวร ตีนครธมแตกครั้งที่ 2 แต่ยังคงมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป 67
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระอินทราชา (พญาแพรก) พ.ศ. 1931 – 1964 (33 ปี)สถาปนา จตุรมุข เป็นเมืองหลวง

อาณาจักรเขมรจตุมุข

(พ.ศ. 1974 – 2083)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อาณาจักรเขมรจตุมุข (พ.ศ. 1974 – 2083)พ.ศ. 1974 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 แห่งอาณาจักรอยุธยา เสด็จยกทัพมาตีนครธม ได้สำเร็จ และทรงแต่งตั้งพระอินทราชา พระราชโอรสครองเมืองนครธมต่อไป ในฐานะประเทศราช ต่อมาอาณาจักรอยุธยาได้แต่งตั้งให้เจ้าพระยาแพรก พระราชโอรสอีกพระองค์ในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 มาครองนครธม จนกระทั่งถูกเจ้าพระยาญาติ เชื้อพระราชวงศ์วรมันกอบกู้เอกราชได้สำเร็จ พระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 ส่วนเจ้าพระยาแพรกถูกปลงพระชนม์ สถาปนา จตุมุข เป็นเมืองหลวง 68

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 (พระบรมราชาเจ้าพญาญาติ) พ.ศ. 1916 – 1976 (60 ปี) ย้ายราชธานีมายังกรุงจตุมุข เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรจตุมุขย้ายเมืองหลวงกลับมาที่ พระนคร 69
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระนารายณ์รามาธิบดี (พระนารายณ์ราชาที่ 1 , พญาคำขัด) พ.ศ. 1976 – 1980 (4 ปี) ย้ายราชธานีกลับมาเมืองพระนคร70
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีราชา พ.ศ. 1980 - 1981 (1 ปี) ถูกพระศรีสุริโยไทยราชา พระอนุชาชิงราชสมบัติ71
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีสุริโยไทยราชา (เจ้าพญาเดียรราชา) พ.ศ. 1981 – 2019 (38 ปี) เป็นพระราชโอรสเจ้าพญาญาติ กับพระอิทรมิตรา (พระราชธิดาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 แห่งอาณาจักรอยุธยา) ถูกพระพระธรรมราชาชิงราชสมบัติย้ายเมืองหลวงกลับมาที่ จตุมุข 72
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระธรรมราชาธิราชรามาธิบดีที่ 1 (พระศรีธรรมราชาที่ 1) พ.ศ. 2011 – 2047 (36 ปี) เป็นพระราชโอรสพระศรีสุริโยไทยราชา กับธิดาขุนทรงพระอินทร์ (ขุนนางอยุธยาที่ถูกส่งมาเป็นเจ้าเมืองโพธิสัตว์) ถูกพระอนุชาก่อกบฏ แต่สามารถขอกำลังอยุธยาปราบกบฏได้ทัน และย้ายราชธานีกลับมาเมืองจตุรมุขอีกครั้งสถาปนา บาสาณ เป็นเมืองหลวง 73
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีสุคนธบท (พญางามขัต , เจ้าพระยาฎำขัตราชา) พ.ศ. 2047 – 2055 (8 ปี) สถาปนาบาสาณเป็นราชธานี74
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระเจ้าไชยเชษฐาฐิราช (เจ้ากน, ขุนหลวงพระเสด็จ) พ.ศ. 2055 – 2068 (13 ปี) ชิงราชสมบัติพระศรีสุคนธบทอาณาจักรเขมรจตุมุข เปลี่ยนมาเป็นอาณาจักรเขมรละแวก และได้ตกเป็นประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา

อาณาจักรเขมรละแวก

(พ.ศ. 2083 – 2140)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อาณาจักรเขมรละแวก (พ.ศ. 2083 – 2140)สถาปนา ละแวก เป็นเมืองหลวง 75

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทร์) พ.ศ. 2059 – 2109 (50 ปี) ย้ายราชธานีมายังกรุงละแวก เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรละแวก76
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก, ปรมินทราชา) พ.ศ. 2109 – 2119 (10 ปี) ประกาศอิสรภาพจากกรุงศรีอยุธยา, ทำสงครามและเข้าโจมตีกรุงศรีอยุธยาสมเด็จพระบรมราชาที่ 3ทรงประกาศอิสรภาพจากกรุงศรีอยุธยา อาณาจักรเขมรละแวกได้เอกราชจากกรุงศรีอยุธยา 77
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) พ.ศ. 2119 – 2137 (18 ปี) ครองราชย์ร่วมกับพระราชโอรสสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพมาตีกรุงละแวกได้สำเร็จ อาณาจักรเขมรละแวกได้ตกเป็นประเทศราชกรุงศรีอยุธยา) เป็นครั้งที่สอง 78
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระไชยเชษฐาที่ 1 (นักพระสัตถา) พ.ศ. 2127 – 2137 (10 ปี) ครองราชย์ร่วมกับพระราชบิดา และพระบรมราชาที่ 579 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชาที่ 5 (พญาตน) พ.ศ. 2127 – 2137 (10 ปี) ครองราชย์ร่วมกับพระราชบิดา และพระไชยเชษฐาที่ 1

อาณาจักรเขมรศรีสันธร

(พ.ศ. 2140 – 2162)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อาณาจักรเขมรศรีสันธร (พ.ศ. 2140 – 2162)สถาปนา ศรีสันธร เป็นเมืองหลวง 80

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทรามเชิงไพร (พระรามที่ 1) พ.ศ. 2137 – 2139 (2 ปี) ย้ายราชธานีมายังกรุงศรีสันธร เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรศรีสันธร81
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระรามที่ 2 (พญานูร) พ.ศ. 2139 – 2140 (1 ปี)79 (2)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชาที่ 5 (พญาตน) พ.ศ. 2140 – 2142 (2 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 282
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชาที่ 6 (พญาอน) พ.ศ. 2142 – 2143 (1 ปี)83
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระแก้วฟ้าที่ 1 (เจ้าพญาโญม) พ.ศ. 2143 – 2145 (2 ปี)84
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชาที่ 7 (ศรีสุริโยพรรณ, พระศรีสุพรรณมาธิราช) พ.ศ. 2145 – 2162 (17 ปี)

อาณาจักรเขมรอุดง

(พ.ศ. 2162 – 2384)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อาณาจักรเขมรอุดง (พ.ศ. 2162 – 2384)สถาปนา อุดงมีชัย เป็นเมืองหลวง 85

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระไชยเชษฐาที่ 2 (พระชัยเจษฎา) พ.ศ. 2162 – 2170 (8 ปี) ย้ายราชธานีมายังกรุงอุดงมีชัย เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรอุดง86
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีธรรมราชาที่ 2 (พญาตู) พ.ศ. 2170 – 2175 (5 ปี)87
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระองค์ทองราชา (องค์ทอง) พ.ศ. 2175 – 2183 (8 ปี)88
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระปทุมราชาที่ 1 (องค์นน) พ.ศ. 2183 – 2185 (2 ปี)89
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระรามาธิบดีที่ 1 (พระยาจันทร์) พ.ศ. 2185 – 2201 (16 ปี)90
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบรมราชาที่ 8 (นักองค์สูร) พ.ศ. 2202 – 2215 (13 ปี)91
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระปทุมราชาที่ 2 (พระศรีชัยเชษฐ์) พ.ศ. 2215 – 2216 (1 ปี)92
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระแก้วฟ้าที่ 2 (นักองค์ชี) พ.ศ. 2216 – 2220 (4 ปี)93 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระไชยเชษฐาที่ 3 (นักองค์สูร) พ.ศ. 2220 – 2238 (18 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 194
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระรามาธิบดีที่ 2 (นักองค์ยง) พ.ศ. 2238 – 2239 (1 ปี)93 (2)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระไชยเชษฐาที่ 3 (นักองค์สูร) พ.ศ. 2239 – 2243 (4 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 295 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระแก้วฟ้าที่ 3 (นักองค์อิม) พ.ศ. 2243 – 2244 (1 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 193 (3)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระไชยเชษฐาที่ 3 (นักองค์สูร) พ.ศ. 2244 – 2245 (1 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 396 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีธรรมราชาที่ 3 พ.ศ. 2245 – 2247 (2 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 193 (4)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระไชยเชษฐาที่ 3 (นักองค์สูร) พ.ศ. 2247 – 2250 (3 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 496 (2)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีธรรมราชาที่ 3 พ.ศ. 2252 – 2258 (6 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 295 (2)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระแก้วฟ้าที่ 3 (นักองค์อิม) พ.ศ. 2258 – 2265 (7 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 297 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระสัตถาที่ 2 (นักองค์ชี) พ.ศ. 2265 – 2272 (7 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 195 (3)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระแก้วฟ้าที่ 3 (นักองค์อิ่ม) พ.ศ. 2272 – 2272 (น้อยกว่า 1 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 397 (2)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระสัตถาที่ 2 (นักองค์ชี) พ.ศ. 2272 – 2280 (8 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 296 (3)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีธรรมราชาที่ 3 พ.ศ. 2281 – 2293 (12 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 398
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีธรรมราชาที่ 4 (นักองค์อิ่ม) พ.ศ. 2293 – 2293 (น้อยกว่า 1 ปี)99 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระรามาธิบดีที่ 3 (นักองค์ทอง) พ.ศ. 2293 – 2294 (1 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 197 (3)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระสัตถาที่ 2 (นักองค์ชี) พ.ศ. 2294 – 2294 (น้อยกว่า 1 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 3100
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระศรีไชยเชษฐ์ (นักองค์สงวน) พ.ศ. 2294 – 2300 (6 ปี)99 (2)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระรามาธิบดีที่ 3 (นักองค์ทอง) พ.ศ. 2301 – 2303 (2 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 2101
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระนารายน์ราชารามาธิบดี (นักองค์ตน) พ.ศ. 2303 – 2318 (15 ปี)อาณาจักรเขมรอุดงได้ตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรธนบุรี (หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรอยุธยาล่มสลายเมื่อ พ.ศ. 2310 และถูกฟื้นฟูขึ้นใหม่ในนามอาณาจักรธนบุรี)102
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระรามราชาธิราช (นักองค์โนน) พ.ศ. 2318 – 2322 (4 ปี)103
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดีศรีสุริโยพรรณ (นักองค์เอง) พ.ศ. 2322 – 2325 (3 ปี)อาณาจักรเขมรอุดงได้ตกเป็นประเทศราชของอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรธนบุรีสิ้นสภาพจากการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และมีการสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร์ขึ้นแทนที่ใน พ.ศ. 2325)เกิดสงครามขึ้นระหว่างอาณาจักรรัตนโกสินทร์ กับราชวงศ์เหงียน เพื่อแย่งชิงอิทธิพลเหนือกัมพูชา นำไปสู่สงครามอานัมสยามยุทธ 104
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระอุไทยราชาธิราชรามาธิบดี (นักองค์จัน) พ.ศ. 2349 – 2377 (28 ปี)105
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
กษัตรีองค์มี (นักองเม็ญ) พ.ศ. 2349 – 2377 (28 ปี) พระนางได้รับการสนับสนุนจากเวียดนามให้พระนางได้สถาปนาเป็นพระเจ้ากรุงกัมพูชาเพื่อถ่วงดุลกับสยามในช่วงอานัมสยามยุทธ106
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง) พ.ศ. 2384 – 2403 (19 ปี)ตำแหน่งว่าง พ.ศ. 2383 – 2384 (1 ปี)

รัฐอารักขาของฝรั่งเศส

(พ.ศ. 2406 – 2496)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ อารักขาฝรั่งเศส (พ.ศ. 2406 – 2496)กัมพูชาตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส และกลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2406 (เข้าสู่ยุคกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส) (หมายเหตุ: กัมพูชาพ้นจากความเป็นประเทศราชของสยาม ทางฝ่ายสยามถือเป็นการเสียอิทธิพลให้ฝรั่งเศส)107

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี) พ.ศ. 2403 – 2447 (44 ปี) พระราชโอรสในสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง)108
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์) พ.ศ. 2447 – 2470 (23 ปี) พระราชโอรสในสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง) พระอนุชาต่างพระราชมารดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี)109
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์) พ.ศ. 2470 – 2484 (14 ปี) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์)110 (1)
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พ.ศ. 2484 – 2498 (14 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 1 พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์)ในปี พ.ศ. 2496 กัมพูชาได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสโดยสมบูรณ์ จึงมีการสถาปนาพระราชอาณาจักรกัมพูชาโดยใช้ระบอบสังคมราษฎรนิยม พ.ศ. 2496 – 2513 กัมพูชาเข้าสู่ยุคสังคมราษฎรนิยม

ราชอาณาจักรกัมพูชาที่ 1

(พ.ศ. 2496 – 2513)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2496 – 2513)111

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พ.ศ. 2498 – 2503 (5 ปี) เป็นพระราชบิดาของพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี)เกิดรัฐประหารปี พ.ศ. 2513 ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ถูกยกเลิก (หมายเหตุ: ยุบเลิกราชอาณาจักรกัมพูชา เปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นสาธารณรัฐเขมร พ.ศ. 2513 – 2536)

ราชอาณาจักรกัมพูชาที่ 2

(พ.ศ. 2536 – ปัจจุบัน)[แก้]

พระมหากษัตริย์ ครองราชย์ รัชกาล พระรูป พระนาม ระหว่าง หมายเหตุ ราชอาณาจักรกัมพูชา (พ.ศ. 2536 – ปัจจุบัน)ฟื้นฟูราชอาณาจักรกัมพูชาขึ้นใหม่ พ.ศ. 2536 110 (2)

บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พ.ศ. 2536 – 2547 (11 ปี) ครองราชย์ครั้งที่ 2 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต112
บ.ร กษาความภ ยปาล ม ช เค ยวร ต การ ด
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พ.ศ. 2547 – ปัจจุบัน (19 ปี+) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

อ้างอิง[แก้]

  • ศานติ ภักดีคำ. "เอกสารกัมพูชากับการศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา" (PDF). ดำรงวิชาการ. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม พ.ศ. 2564.
  • "The women who made Cambodia". The Phnom Penh Post. 19 May 2010.
  • "C. 87 Stela from Mỹ Sơn B6". Corpus of the Inscriptions of Campā.
  • សៀវភៅសិក្សាសង្គម ថ្នាកទី១០ ឆ្នាំ២០១៧ របស់ក្រសួងអប់រំ យុវជន និងកីឡា ទំព័រទី១៣៤
  • Jacobsen, Trudy, Lost goddesses: the denial of female power in Cambodian history, NIAS Press, Copenhagen, 2008
  • "SPLIT RUN: D_83499_Myova_Orgov_SP_4C.p1.pdf [US only]". Urologic Oncology: Seminars and Original Investigations. 39 (10): IFC. 2021-10. doi:10.1016/s1078-1439(21)00417-8. ISSN 1078-1439.
  • Miksic, John N. (2007). Historical dictionary of ancient Southeast Asia. Lanham, Md.: Scarecrow Press. ISBN 978-0-8108-6465-8. OCLC 263614934.
  • Coedes, George (2015-05-15). "The Making of South East Asia (RLE Modern East and South East Asia)". doi:10.4324/9781315697802.
  • Coedès, George (1968). Walter F. Vella (บ.ก.). The Indianized States of Southeast Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-0368-1.
  • Higham, Charles. Early Mainland Southeast Asia. River Books Co., Ltd. ISBN 9786167339443. เจ้าพิธีลัทธิเทวราช อยู่สด๊กก๊อกธม จ.สระแก้ว ชุมทางเครือข่ายอำนาจ.สุจิตต์ วงษ์เทศ,มติชนสุดสัปดาห์,2562