หล กส ตรแกนกลางการศ กษาข นพ นฐาน 2561 คณ ตศาสตร ม.1

สสวท. ได้วิจัยและพัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัยและเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย อาทิเช่น ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กำหนดสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ออกเป็น 3 สาระ ได้แก่

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ รายวิชาท่ีเปิดสอน และคำอธบิ ายรายวิชา...................................................1.374

- กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย………………………………………………………………………………………1385

- กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์……………………………………………………………………………………3364 - กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี…………………………………………………………….5.945 - กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม……………………………………………………7.1028 กกกกลลลลุ่มุ่มุ่มมุ่ สสสสาาาารรรระะะะกกกกาาาารรรรเเเเรรรรยียียียี นนนนรรรรู้ศสููู้้้กภขุาิลารษศปงึกาะาตษ…น่าา…องแาป…ลชร…ะพี ะพ……เทล……ศศ……กึ……ษ………า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….9111....1242172263827166765 - - - -

เกกิจณกฑรรก์ มาพรจัฒบนกาาผรู้เศรียึกนษ…า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….11.3388563952 คณะกรรมการดำเนินงาน……………………………………………………………………………………………………………….1.39603 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………………..364

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเต็กก่าดรณุ ธรรม

หลกั สูตรโรงเรยี นเต็กก่าดรุณธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 2551 1

อัตลกั ษณ์ของโรงเรยี น

โรงเรียนคุณธรรมกา้ วนำ 3 ภาษา

ปรชั ญาของโรงเรยี น

คุณธรรมนำปัญญา

คตพิ จน์ของโรงเรยี น

การศกึ ษาคือชีวิต

พนั ธกิจ

1. จัดการศึกษาเพื่อตอบสนองต่อหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)

2. จดั การศึกษามงุ่ เน้นพัฒนาคณุ ธรรม นำความรู้ ปลกู ฝ่งั การทำความดี จรยิ ธรรม ศีลธรรม สามารถ ดำรงอยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสขุ

3. พฒั นาการส่ือสารสูร่ ะบบสากล 3 ภาษา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน 4. พัฒนาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ ยกระดบั คุณภาพการศึกษา 5. พัฒนาการบริหารจัดการ บุคลการ งบประมาณ แหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน และสร้างสัมพันธ์

ชุมชนอย่างมีประสทิ ธิภาพโดยยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เป้าประสงค์

นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน็ คนดมี ีความรู้และมีคุณภาพได้มาตรฐานการศึกษาชาติ ดำรงชวี ติ อยู่ ในสงั คมในฐานะพลเมืองที่ดีและมีความสขุ

ระดับก่อนประถมศึกษา นกั เรียนไดร้ บั การเตรียมความพร้อมในการพฒั นาในทุกดา้ น เต็มศกั ยภาพของนักเรยี นรวมท้งั ปลูกฝงั ให้เป็นผมู้ ีความรู้ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอนั พง่ึ ประสงค์ ระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา นกั เรียนโรงเรียนเตก็ กา่ ดรุณธรรม ได้รับการพัฒนาใหเ้ ป็นผู้มีความรู้ ส่ือสารได้ มีระเบยี บวนิ ัย มี คณุ ธรรม จริยธรรม มสี ุขภาพกายใจ แขง็ แรง สามารถดำรงชวี ิตในสังคมได้อยา่ งมีความสุขและเป็นคนดี

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเต็กก่าดรณุ ธรรม

หลกั สตู รโรงเรยี นเต็กก่าดรุณธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 2551 2

วสิ ยั ทัศน์

จัดการศกึ ษาทกุ ช่วงวยั ใฝ่คณุ ธรรม เพ่อื กา้ วนำ 3 ภาษา

หหลักลสกั ูตกราแรกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน มหี ลักการที่สำคญั ดังน้ี

๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เปา้ หมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความ เปน็ ไทยควบค่กู ับความเป็นสากล ๒. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ท่ปี ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และ มคี ณุ ภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถน่ิ ๔. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาท่ีมโี ครงสรา้ งยืดหยนุ่ ทง้ั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ๕. เปน็ หลักสตู รการศึกษาท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

จดุ มงุ่ หมาย

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นให้เปน็ คนดี มปี ัญญา มคี วามสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ดงั น้ี

๑. มคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏบิ ัตติ นตาม หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มสี ขุ นิสยั และรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรกั ชาติ มจี ติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวิถชี วี ิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิต สาธารณะที่มงุ่ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ทด่ี ีงามในสังคม และอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมอย่างมคี วามสขุ

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเต็กก่าดรุณธรรม

หลกั สตู รโรงเรียนเต็กกา่ ดรุณธรรม พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 2551 3

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น

โรงเรยี นเต็กก่าดรุณธรรม มุง่ พัฒนาผเู้ รยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมุ่งเน้นพัฒนา ผเู้ รียนใหม้ คี ุณภาพตามาตรฐานท่กี ำหนด ซึ่งจะชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขดั แยง้ ต่างๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ ับขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลักเหตุผล และความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลือกใชว้ ิธีการส่อื สารทม่ี ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ผลกระทบท่มี ตี ่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพอื่ นำไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพอ่ื การตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้ อย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมี การตัดสินใจทม่ี ีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเี่ กิดขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดล้อม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวนั การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริมความสมั พันธ์อันดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ ส่ี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื กและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และ มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การส่อื สาร การทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสม และมคี ุณธรรม

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนเต็กก่าดรณุ ธรรม

หลักสูตรโรงเรียนเตก็ ก่าดรุณธรรม พุทธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 2551 4

คณุ ลักษณะอนั พึง่ ประสงค์

โรงเรียนเตก็ ก่าดรุณธรรม มุ่งพัฒนาผูเ้ รยี นให้มีคุณลกั ษณะอนั พึ่งประสงค์ เพื่อให้สามารถอยูร่ ่วมกับ ผูอ้ ืน่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานดังนี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ การเปน็ พลเมืองดีของชาติ ธำรง ไว้ซ่ึงความเปน็ ชาตไิ ทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย์

2. ซ่อื สัตย์สจุ ริต หมายถึง คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการยึดมน่ั ในความถูกต้อง ประพฤติตรงตาม ความเป็นจรงิ ตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน ทัง้ ทางกาย วาจา ใจ

3. มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรยี น และสงั คม

4. ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ที่มีลักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่าง สม่ำเสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

5. อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มี เหตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม มีภมู คิ ุม้ กนั ในตัวทีด่ ี และปรบั ตัวเพอื่ อยูใ่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

6. มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถงึ ความตั้งใจ และรับผิดชอบในการทำ หน้าที่การงานดว้ ยความเพยี รพยายาม อดทน เพ่อื ใหง้ านสำเร็จตามเป้าหมาย

7. รกั ความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์ สบื ทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรม ใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม

8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะท่แี สดงออกถงึ การมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมหรือสถานการณ์ที่ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวัง ผลตอบแทน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเต็กก่าดรุณธรรม

หลักสตู รโรงเรียนเตก็ กา่ ดรุณธรรม พุทธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 2551 5

มาตรฐานการเรียนรู้

การพัฒนาผูเ้ รยี นให้เกดิ ความสมดุล ต้องคำนงึ ถึงหลกั พฒั นาการทางสมองและพหปุ ัญญา หลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน จึงกำหนดให้ผเู้ รียนเรยี นรู้ 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดงั นี้

1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตร์ 4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชพี 8. ภาษาตา่ งประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป่าหมายสำคัญของการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อน พัฒนาการศกึ ษาทัง้ ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าตอ้ งการอะไร จะสอนอยา่ งไร และ ประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการ ประเมินคณุ ภาพภายในและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา และ การทดสอบระดับชาตริ ะบบการตรวจสอบเพอ่ื ประกนั คุณภาพดังกล่าวเปน็ สง่ิ สำคัญท่ชี ่วยสะท้อนภาพการจัด การศึกษาว่าสามารถพัฒนาผเู้ รยี นให้มีคณุ ภาพ ตามทม่ี าตรฐานการเรยี นร้กู ำหนดเพยี งใด

ตวั ช้วี ดั

ตวั ช้ีวดั ระบุสิ่งทนี่ ักเรียนพงึ รู้และปฏิบัตไิ ด้ รวมทัง้ คณุ ลักษณะของผู้เรยี นในแต่ละระดับชั้นซ่ึงสะท้อน ถึงมาตรฐานการเรียนร้มู ีความเฉพาะเจาะจงและมคี วามเป็นรูปธรรม นำไปใชใ้ นการกำหนดเนื้อหาจัดทำหน่วย การเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเปน็ เกณฑส์ ำคัญสำหรับการวัดประเมินผล เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตวั ช้วี ัดชั้นปจี งึ เป็นเปา่ หมายในการพัฒนาผ้เู รยี นแต่ละชัน้ ปีในระดับการศึกษาภาคบังคบั

หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเตก็ ก่าดรุณธรรม

หลักสตู รโรงเรียนเตก็ กา่ ดรณุ ธรรม พุทธศักราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 2551 6

สาระการเรยี นรู้

สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ซึ่งกำหนดใหผ้ ู้เรียนทกุ คนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำเป็นตอ้ งเรียนรู้โดยแบง่ เป็น 8 กลุ่ม สาระ การเรียนรู้ดังนี้

คณิตศาสตร:์ การนำความรทู้ กั ษะ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี: สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม : และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ การนำความรูแ้ ละกระบวนการทาง การอยู่รว่ มกันในสังคมไทยและสงั คม ในการแกป้ ัญหา การดำเนนิ ชวี ติ และ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปใชใ้ น โลกอย่างสนั ติสุข การเปน็ พลเมอื งดี ศึกษาต่อการมเี หตมุ ผี ล มีเจตคตทิ ีด่ ตี ่อ การศึกษา ค้นคว้าหาความรู้และ ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา คณติ ศาสตร์พฒั นาการคิดอยา่ งเปน็ แก้ปัญหาอยา่ งเป็นระบบ การคดิ การเหน็ คณุ ค่าของทรัพยากร และ ระบบและสร้างสรรค์ อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล คดิ วเิ คราะห์ ส่งิ แวดล้อม ความรักชาติและภมู ใิ จ คดิ สรา้ งสรรคแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ในความเป็นไทย

ภาษาไทย : ความรูท้ กั ษะ องค์ความรทู้ กั ษะสำคัญ สขุ ศึกษาและพลศึกษา : ความรูท้ ักษะ และวัฒนธรรมการใช้ภาษา และคุณลักษณะในหลักสตู ร และเจตคติในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ เพอื่ การส่ือสาร ความชน่ื ชม แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พลานามัยของตนเอง และผู้อ่นื การเห็นคุณค่าภมู ปิ ัญญาไทย การป้องกนั และปฏิบัติตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ และภมู ใิ จในภาษาประจำชาติ ที่มผี ลตอ่ สขุ ภาพอย่างถูกวธิ ีและทักษะ ในการดำเนนิ ชีวิต

ภาษาต่างประเทศ : ความรทู้ กั ษะ การงานอาชพี : ความรู้ทกั ษะ ศิลปะ : ความร้แู ละทักษะในการ เจตคตแิ ละวฒั นธรรมการใชภ้ าษา และเจตคตใิ นการทำงานการจัดการ คดิ รเิ ริ่ม จนิ ตนาการ สรา้ งสรรค์ ตา่ งประเทศในการส่ือสาร การแสวงหา การดำรงชวี ิต การประกอบอาชพี งานศลิ ปะ สุนทรียภาพและการ ความรแู้ ละการประกอบอาชพี เห็นคุณคา่ ทางศิลปะ

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเต็กก่าดรณุ ธรรม

หลักสตู รโรงเรยี นเตก็ ก่าดรุณธรรม พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2551 7

ความสมั พนั ธ์ของการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

วสิ ยั ทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทกุ คน ซึ่งเป็นกำลังของชาติใหเ้ ป็นมนุษย์ที่มีความ สมดลุ ทั้งด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเปน็ พลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อ การศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยม่งุ เน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญบนพน้ื ฐานความเชื่อว่า ทุกคน สามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

จดุ มุ่งหมาย ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถอื ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชวี ติ ๓. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มสี ขุ นิสัย และรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทำ ประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ีดีงามในสงั คม และอย่รู ว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน คุณลักษณะอนั พงึ่ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 3. มีวินัย 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มุ่ง.มั่นในการทำงาน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 7. รัก.ความเป็นไทย 1.ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8. มจี .ติ สาธารณะ 4.สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5.สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6.ศลิ ปะ 7.การงานชพี 8.ภาษาต่างประเทศ .

.

.

. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น . 1. กจิ กรรมแนะแนว

2. กจิ กรรมนักเรยี น 3. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธรณะประโยชน์

คณุ ภาพของผู้เรียนในระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตก็ ก่าดรุณธรรม

หลักสตู รโรงเรยี นเต็กกา่ ดรณุ ธรรม พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน 2551 8

โครงสร้างเวลาเรยี น

โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดับประถมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น ระดับประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

• กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200 160 160 160 200 200 200 160 160 160 ภาษาไทย 120 120 120 120 120 120 คณติ ศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (40) (40) (40) (40) (40) (40) • สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม o ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม 40 40 40 40 40 40 o ภมู ิศาสตร์ 40 40 40 80 80 80 o เศรษฐกจิ 40 40 40 80 80 80 o หน้าที่พลเมือง 40 40 40 40 40 40 o ประวตั ศิ าสตร์ 120 120 120 120 120 120 840 840 840 840 840 840 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ 80 การงานอาชีพ 80 ภาษาตา่ งประเทศ รวมเวลาเรียน ( พน้ื ฐาน ) 30

• รายวิชาเพ่ิมเติม 80 80 80 80 80 40 80 80 80 80 80 40 o ภาษาจีน 10 รวมเวลาเรยี น ( เพ่ิมเตมิ ) 120 1,040 • กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน

o กจิ กรรมแนะแนว 30 30 30 30 30

o กิจกรรมนักเรยี น 40 40 - ชุมนมุ 40 40 40 40 10 120 - ลกู เสือ - ยวุ กาชาด 40 40 40 40 1,040

o กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธาณประโยชน์ 10 10 10 10

• รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120 120 120 120

รวมเวลาเรียน 1,040 1,040 1,040 1,040 1. ผเู้ รียน เรียนรายวิชาท่เี สริมพเิ ศษตามอัตลกั ษณข์ องโรงเรยี นทมี่ ุ่ง 3 ภาษา - ภาษาจนี ป. 1 – ป. 6 (2 ช่วั โมง/สัปดาห์)

หมายเหตุ 2. .ผู้เรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยน์ ในกจิ กรรมลูกเสอื ยุวกาชาด และชุมนุน

หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นเต็กกา่ ดรุณธรรม

หลักสูตรโรงเรียนเต็กกา่ ดรุณธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 2551 9

- โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศกึ ษา

กลุ่มสาระการเรียนรู/้ กิจกรรม เวลาเรยี น ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ม.1 ม.2 ม.3

• กลุ่มสาระการเรยี นรูร้ ายวิชาพนื้ ฐาน 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) ภาษาไทย 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) 160 (4 นก.) คณติ ศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) o ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม o ภูมิศาสตร์ o เศรษฐศาสตร์ o หนา้ ท่พี ลเมือง o ประวตั ิศาสตร์ สุขศกึ ษาและพลศึกษา

ศลิ ปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) การงานอาชีพ 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) 40 (1 นก.) ภาษาตา่ งประเทศ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.)

รวมเวลาเรียน (พ้ืนฐาน) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.) 880 (22 นก.)

• รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 200 (5 นก.) 200 (5 นก.) 200 (5 นก.) รวมเวลาเรยี น (เพิม่ เตมิ )

• กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน

o กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40

o กิจกรรมนกั เรยี น 40 40 30 30 - ชุมนุมวิชาการ 40 10 10 120 120 - ลกู เสือ/เนตรนาร/ี ยวุ กาช่าด 30 1,200 1,200

o กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 120

รวมเวลาเรยี น 1,200

หมายเหตุ 1. ผเู้ รยี น เรียนรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามแผนกลมุ่ สาระการเรียน

2. นะดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ผูเ้ รียนปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี

ยวุ กาชาดและชุมนุม

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นเต็กก่าดรณุ ธรรม

หลักสูตรโรงเรียนเตก็ ก่าดรุณธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 2551 10

โครงสร้างหลกั สตู รช้นั ปี ระดบั ประถมศกึ ษา

โครงสร้างหลกั สตู ร ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1

รายวิชา/กจิ กรรม เวลาเรียน (ซม./ปี) รายวิชาพื้นฐาน 840 ท 11101 ภาษาไทย 200 ค 11101 คณติ ศาสตร์ 200 ว 11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 ส 11101 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (หน้าท่พี ลเมอื ง) 40 ส 11102 ประวัติศาสตร์ 40 พ 11101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 ศ 11101 ศลิ ปะ 40 ง 11101 การงานอาชพี 40 อ 11101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 120 รายวชิ าเพิ่มเตมิ 80

จ 11201 ภาษาจนี 80 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 120 30 ก 11902 กิจกรรมแนะแนว

• กิจกรรมนักเรยี น 40 ก 11901 ลกู เสือ - ยวุ กาชาด 40 ก 11903 ชมุ นุม 10 ก 11904 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 1,040

รวมเวลาเรยี น

หมายเหตุ : ผู้เรยี นปฏิบตั กิ จิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชนใ์ นกจิ กรรมลูกเสือ ยุวกาชาด และชุมชน

หลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนเตก็ ก่าดรุณธรรม

หลักสูตรโรงเรยี นเต็กกา่ ดรณุ ธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 9

โครงสร้างหลกั สูตร ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2

รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ซม./ป)ี

รายวชิ าพ้นื ฐาน 840

ท 12101 ภาษาไทย 200

ค 12101 คณติ ศาสตร์ 200

ว 12101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120

ส 12101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (หน้าท่พี ลเมอื ง) 40

ส 12102 ประวตั ศิ าสตร์ 40

พ 12101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40

ศ 12101 ศิลปะ 40

ง 12101 การงานอาชพี 40

อ 12101 ภาษาองั กฤษ 120

รายวิชาเพม่ิ เตมิ 80

จ 12201 ภาษาจีน 80

กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 120

ก 12902 กิจกรรมแนะแนว 30

• กิจกรรมนกั เรียน

ก 12901 ลูกเสอื - ยวุ กาชาด 40

ก 12903 ชมุ นุม 40

ก 12904 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรียน 1,040

หมายเหตุ : ผเู้ รยี นปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชนใ์ นกจิ กรรมลูกเสอื ยุวกาชาด และชมุ ชน

หลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นเต็กกา่ ดรุณธรรม

หลักสตู รโรงเรยี นเตก็ ก่าดรณุ ธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 2551 10

โครงสร้างหลักสูตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ซม./ปี)

รายวชิ าพ้นื ฐาน 840

ท 13101 ภาษาไทย 200

ค 13101 คณิตศาสตร์ 200

ว 13101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120

ส 13101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (หน้าทีพ่ ลเมือง) 40

ส 13102 ประวัตศิ าสตร์ 40

พ 13101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 80

ศ 13101 ศิลปะ 80

ง 13101 การงานอาชพี 40

อ 13101 ภาษาอังกฤษ 120

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 80

จ 13201 ภาษาจีน 80

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120

ก 13902 กิจกรรมแนะแนว 30

• กจิ กรรมนกั เรียน

ก 13901 ลูกเสือ - ยวุ กาชาด 40

ก 13903 ชมุ นมุ 40

ก 13904 กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรียน 1,040

หมายเหตุ : ผเู้ รยี นปฏิบัติกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในกจิ กรรมลูกเสือ ยวุ กาชาด และชุมชน

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเต็กกา่ ดรณุ ธรรม

หลักสตู รโรงเรยี นเตก็ ก่าดรณุ ธรรม พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน 2551 11

โครงสร้างหลักสูตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ซม./ปี)

รายวชิ าพ้นื ฐาน 840

ท 14101 ภาษาไทย 160

ค 14101 คณิตศาสตร์ 160

ว 14101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 120

ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (หน้าทีพ่ ลเมือง) 40

ส 14102 ประวตั ศิ าสตร์ 40

พ 14101 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 80

ศ 14101 ศิลปะ 80

ง 14101 การงานอาชพี 40

อ 14101 ภาษาองั กฤษ 120

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 80

จ 14201 ภาษาจีน 80

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120

ก 14902 กิจกรรมแนะแนว 30

• กจิ กรรมนกั เรียน

ก 14901 ลูกเสอื - ยวุ กาชาด 40

ก 14903 ชมุ นุม 40

ก 14904 กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 10

รวมเวลาเรียน 1,040

หมายเหตุ : ผ้เู รียนปฏิบัติกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในกจิ กรรมลูกเสือ ยวุ กาชาด และชุมชน

หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนเต็กกา่ ดรณุ ธรรม

หลักสตู รโรงเรยี นเตก็ กา่ ดรณุ ธรรม พุทธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 2551 41