พรบ.ค มครองผ บร โภค 2522 แก ไขเพ มเต ม 2541

Page 34 - การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง

  1. 34
``` 15-24 การเขยี นบทวิทยุกระจายเสียง
   1.3    กฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สอ่ื มวลชน ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั แิ ละระเบยี บทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การโฆษณา
พระราชบญั ญตั ลิ ขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 (และฉบบั แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ฉบบั ที่ 2 และ 3 พ.ศ. 2558) และพระราชบญั ญตั ิ วา่ ดว้ ยความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2558 มปี ระเดน็ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ผเู้ ขยี นบทวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ดงั นี้
   พระราชบัญญัติและกฎหมายท่ีเก่ียวกับโฆษณา  
   เรอ่ื งการโฆษณา มกี ฎหมายและระเบยี บทเี่ กี่ยวข้องหลายฉบับ ทีย่ กมาประกอบดว้ ย พระราช-  
บัญญตั ิคมุ้ ครองผ้บู ริโภค พระราชบญั ญตั ิวา่ ด้วยอาหาร พระราชบญั ญตั ยิ า พระราชบญั ญัตเิ คร่อื งส�ำอาง ในกฎหมายต่างๆ ขา้ งตน้ มีสาระสำ� คัญทเี่ กีย่ วกับผเู้ ขยี นบทวทิ ยกุ ระจายเสียง ดงั น้ี
        กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 (แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2556)2  
        สาระสำ� คญั
             ผ้บู รโิ ภคมสี ิทธิได้รับความคมุ้ ครองตามกฎหมาย ดังน้ี  
             (1)    สทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ บั ขา่ วสารรวมทงั้ คำ� พรรณนาคณุ ภาพทถ่ี กู ตอ้ ง และเพยี งพอเกย่ี วกบั  
สนิ คา้ หรอื บริการ
             (2) สิทธิทจ่ี ะมอี สิ ระในการเลือกหาสินคา้ และบรกิ าร  
             (3) สิทธทิ ี่จะได้รบั ความปลอดภัยจากการใชส้ นิ ค้าและบรกิ าร  
             (4) สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั ความเปน็ ธรรมในการทำ� สญั ญา  
             (5) สิทธทิ ่จี ะได้รบั การพิจารณาและชดเชยความเสยี หาย  
        การคุ้มครองผู้บริโภค มีหลายด้าน ในท่ีนี้ขอยกเฉพาะกรณีการคุ้มครองผู้บริโภคในด้าน  
โฆษณา ซึ่งมคี วามสำ� คญั ต่องานของผเู้ ขียนบทวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ดงั น้ี
             การคุม้ ครองผ้บู รโิ ภคในด้านโฆษณา  
  1. การโฆษณาตอ้ งไม่ใช้ขอ้ ความที่ไม่เปน็ ธรรมต่อผู้บรโิ ภค ไดแ้ ก่
                      1.1 ไม่ใช้ข้อความอันเป็นเท็จหรือเกินความเป็นจริง โดยการอวดอ้างสรรพคุณ  
    
    คุณสมบัติ หรือคุณภาพ หรือกล่าวอ้างอิงสถาบัน หรือหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน หรือการกล่าวอ้าง

    ตัวเลขสถิติ อันเป็นเท็จหรือเกินความจริง เช่น เม่ือใช้แชมพูไข่มุกแล้ว ท�ำให้รากผมมีความแข็งแรงจน สามารถนำ� ไปยกรถสบิ ลอ้ ทงั้ คนั ได้ หรอื เมอื่ ใชผ้ งซกั ฟอกขาวจงั สามารถขจดั คราบไดห้ มดจดโดยไมต่ อ้ งขยี้ ถือว่าเปน็ การใช้ขอ้ ความทเี่ ป็นเท็จหรือเกินความเปน็ จรงิ ไม่สามารถนำ� มาเขียนเปน็ บทวิทยกุ ระจายเสียง ได้

                      ในขอ้ 1.1 มขี อ้ ยกเวน้ คอื ขอ้ ความทใ่ี ชใ้ นการโฆษณาทบี่ คุ คลทว่ั ไปสามารถรไู้ ด้  
    
    วา่ เปน็ ขอ้ ความที่ไมอ่ าจเป็นความจริงโดยแนแ่ ท้ ไมถ่ ือวา่ ผดิ ตามขอ้ น้ี (พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผ้บู ริโภค พ.ศ. 2541 มาตรา 22) เชน่ เมอ่ื ด่ืมนมตราหมนี อ้ ย ท�ำใหเ้ ดก็ ตัวเลก็ ๆ สงู ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ จนสงู กวา่ พชี่ าย คนโต ส่งิ เหล่านีค้ นท่ัวไปยอ่ มรู้ได้ว่าเป็นเพียงการเปรยี บเทยี บ ซงึ่ ไม่มีทางเปน็ ความจริง เปน็ ตน้
         2 ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค (ฉบับท่ี 4) และพระราชบัญญัติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการจัดต้ังองค์กรที่มี  
    
    ความเป็นอิสระ อ�ำนาจในการเป็นตัวแทนของผู้บริโภคและการสนับสนุนด้านการเงินจากรัฐ ตามมาตรา 46 ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็น ติดตามข้อมูลท่ีเป็นปัจจุบันได้ท่ีเว็บไซต์ของส�ำนักงาน คณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค. สบื คน้ เมื่อ 21 ธันวาคม 2560, จาก http://www.ocpb.go.th/main.php?filename=index

    `