2024 ทำไม หน วยงานราชการต องม เคร องเส ยงแบบเอาท ดอ

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ สกู่ ารสร้างรายไดข้ องผู้สงู อายุ กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกา

คานา

สังคมไทยกาลังเผชิญกับการเปล่ียนแปลงทางด้านประชากร เน่ืองจากโครงสร้างประชากรของไทยมีแนวโนม้ กา้ วเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุ (เพิ่มสูงข้ึนอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง และคาดว่า จะเพ่มิ ขน้ึ ทาใหป้ ระเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุเพ่ิม สูงขึ้น ครอบครัว ต้องรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ขณะที่ ผู้สูงอายุเองเม่ือมีอายุยืนยาวข้ึนก็ย่ิงต้องเผชิญกับปัญหาการขาด แคลนรายไดห้ รอื มรี ายไดไ้ ม่เพียงพอแกก่ ารดารงชีพ รวมถึงความเส่ียง จากการเจ็บป่วยด้วยโรคเร้ือรังต่าง ๆ ความพิการหรือทุพพลภาพ จะเพ่ิมขึ้นตามอายุและต้องการพ่ึงพาบุคคลอื่นมากข้ึน การเป็นสังคม ที่มีประชากรสูงอายุจานวนมาก ประกอบกับการพัฒนาท่ีเน้นคุณภาพ คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มีการเตรียมความพร้อมของระบบ การดูแลผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของ ผู้สูงอายุเพ่ือคงความสามารถของผู้สูงอายุ และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีคุณภาพและมีความผาสุก เปน็ กาลงั สาคญั ในการพัฒนาประเทศได้

การจัดการความรู้ หรือ () คือ การบริหารจัดการในทุกขั้นตอนของการจัดการองค์ความรู้ เป็นความรู้ ที่มีอยู่ในตัวของบุคคล เช่น ประสบการณ์ พรสวรรค์ สัญชาตญาณ หรอื ไหวพรบิ ของแต่ละคนในการท่ีจะทาความเข้าใจกับงานหรือข้อมูล

สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมท้องถิ่นสู่การสร้างรายได้ของผ้สู งู อายุ กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกา

ต่างๆ ซ่ึงความรู้พวกนี้ไม่สามารถท่ีจะถ่ายทอดผ่านตัวอักษรออกมา ได้ง่ายๆ จึงสามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ความรู้แบบนามธรรม การจัดการองค์ความรู้ ก็เปรียบเหมือนการสร้างเคร่ืองจักรเพ่ือมาช่วย ในการผลิตสินค้า กล่าวคือ การจัดการความรู้จะช่วยให้องค์กรหรือ บริษทั สามารถบรรลเุ ปา้ หมายได้งา่ ยข้ึน 

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าการจัดการความรู้ หรือ () เร่ือง นวัตกรรมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่การสร้างรายได้ของ ผู้สูงอายุ กลุ่มผลิตภัณฑ์จากช้างและเชือกปะกา เป็นแนวทาง เสริมสร้างคุณค่าทางภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และสามารถเป็น ผถู้ า่ ยทอดภมู ิปัญญา วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ให้ ดารงสืบไป

 

กลุม่ การวิจยั และการพฒั นาระบบเครือข่าย สานกั งานส่งเสรมิ สนับสนนุ วชิ าการ 4 กันยายน 2563

สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถนิ่ สู่การสร้างรายได้ของผู้สงู อายุ กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกา

สารบญั หนา้

บทนา 1 ความเปน็ มา 5 ความสาคัญของช้างไทย 7 ลกั ษณะตา่ งๆของช้าง 9 บรบิ ทพื้นที่ 16 กล่มุ ผลติ ภัณฑ์จากช้างและเชอื กปะกา 21 ตะขอชา้ ง 31 ภาพวาดจากมูลช้าง 33 ผา้ ไหม 37 เรื่องเลา่ ประสบการณจ์ ากตวั แทนกลุม่ ผลิตภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกา 44 ตวั แทนจากองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลกระโพ 52 การนาไปใช้ประโยชน์ 58 ภาพกจิ กรรม 59

สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวตั กรรมภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ สู่การสรา้ งรายไดข้ องผ้สู ูงอายุ 1

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

บทนำ ความสำคัญของการถอดบทเรยี น

สั ง ค ม ปั จ จุ บั น เป็ น สั ง ค ม แ ห่ ง ก า รเรี ย น รู้ ท่ี มี ก า ร แ ข่ ง ขั น อย่างรุนแรง สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ให้ความสำคัญ ต่อการจัดการความรู้โดยใช้วิธีหลากหลายท่ีนำความรู้ท้ังภายใน และภายนอกองค์กรมาสร้างพลังในการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ และภารกิจขององค์กร เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมายเป็นองค์กรแห่ง การเรยี นรู้

ปัจจุบันจำนวนประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพ่ิมมากข้ึน และ กลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์กำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จากรายงาน ระบบสถิติการทะเบียน กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทยปีพ.ศ.2559 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์) มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ 15.10 % ของประชากรทั้งหมด (ประชากรผู้สูงอายุมีจำนวน 1,007,642 คน ประชากร รวมท้ังหมด 6,670,292 คน) เป็นไปตามเกณฑ์การแบ่งระดับการเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุขององค์การสหประชาชาติ (United. Nations : UN ) ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ(Aging society) คือสังคมหรือ ประเทศ ท่ีมีประชากรอายุ 60 ปี ข้ึนไปมากกว่าร้อยละ 10 และจำนวน ประชากร วัยเด็กและวัยแรงงานลดลงจึงต้องมีการวางแผนเตรียมความ พร้อมให้กับผู้สูงอายุ ซ่ึงในปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีสุขภาพแข็งแรง เน่ืองจากสาธารณสุขที่ทันสมัยเข้าถึงชุมชน การจัดเตรียมรวบรวม ข้อมูล คลังปัญญาของผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญเพื่อสามารถถ่ายทอด ภูมิปัญญาใหก้ ับคนทกุ กลุ่มวยั

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวตั กรรมภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นส่กู ารสร้างรายได้ของผู้สงู อายุ 2

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ผู้สูงอายุ ถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญอย่างย่ิงของสังคมและ ประเทศชาติเป็นต้นทุนทางสังคมท่ีมีค่ามาก โดยเฉพาะอย่างย่ิง สังคมไทยที่นับถอื ผ้สู งู อายุ ในฐานะผู้มปี ระสบการณม์ าก่อน และเป็นผู้ ส่งั สมภมู ิปญั ญาของทอ้ งถน่ิ ในด้านตา่ ง ๆ เพื่อสบื ทอดถึงบุคคลรนุ่ หลงั นอกจากน้ีผู้สูงอายุยังเปรียบเสมือนศูนย์รวมจิตใจของลูกหลานท่ีคอย ให้ความอบอุ่น คำแนะนำสั่งสอนแก่บุคคลรุ่นหลังในครอบครัว โดยในปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เป็นท่ีเรียบร้อยแล้วสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี ตลอดจนวิทยาการสมัยใหม่เป็นกลไกสำคัญ ในการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน ส่งผลให้ประชากรไทยมีอัตราการ เจรญิ พนั ธุ์ ลดลงและประชากร มีอายุขัยเฉล่ยี สงู ขึ้น ปัจจัยดังกล่าวทำ ใหโ้ ครงสรา้ งประชากรของประเทศไทยมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งต่อเนือ่ ง ซ่ึงหากประชากรผู้สูงอายุที่มีจำนวนมากข้ึนอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง เหล่าน้ีสามารถพ่ึงพาตนเองได้ดี และสามารถดำรงชีวิตด้วยตนเองได้ อย่างมีคุณค่าแม้ว่า จะอยู่ในวัยสุดท้ายของชีวิตก็ตาม ผู้สูงอายุก็ยัง จดจำได้ว่า เป็นกลุ่มประชากรที่เป็นพลังสำคัญแทนที่จะเป็นภาระของ ครอบครัว ชุมชน และสังคม สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 เล็งเห็นความสำคัญของนวัตกรรมจากภูมิปัญญาท่ีผู้สูงอายุได้คิดค้น หรือประมวลทักษะชีวิต และประสบการณ์จากการดำเนินชีวิต มาจัดทำเป็นองค์ความรู้มาไว้ถ่ายทอด และทำให้เห็นคุณค่าของ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีควรสืบสานต่อ หรือนำไปปรับใช้ กบั บุคคล กลมุ่ หรอื หนว่ ยงานต่างๆ เพ่อื ให้มคี ณุ ค่าและมคี ณุ ภาพที่ดขี ้นึ

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นสกู่ ารสรา้ งรายได้ของผู้สูงอายุ 3

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

วตั ถุประสงค์การถอดองค์ความรู้ 1. เพ่ือค้นหา ถ่ายทอด สบื สานภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ให้คงอยู่ 2. เพอ่ื ใหค้ ณุ ค่าและภูมิปญั ญาของผู้สูงอายุ 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมีโอกาสได้แสดงศักยภาพ ภูมิความรู้

ที่เปน็ การบำเพ็ญตนใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อผอู้ นื่ 4. เพื่อถอดบทเรียนนวัตกรรมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่น

สู่การสรา้ งรายไดใ้ ห้ผสู้ งู อายุในพน้ื ที่ ขอบเขตในการถอดองคค์ วามรู้ กลุ่มผลิตภัณฑ์จากช้างและเชือกปะกำ ตำบลกระโพ อำเภอท่าตูม

จงั หวดั สรุ นิ ทร์ ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รับจากการถอดองคค์ วามรู้ ประชาชน : ผู้สงู อายุ ผพู้ ิการ ผู้ดอ้ ยโอกาส และบุคคลท่ีสนใจไดเ้ รยี นรู้

เกย่ี วกบั การประกอบอาชพี อิสระ ส่วนราชการ : ได้เอกสารวิชาการไว้ให้ผู้สนใจศึกษา และได้รวบรวม

องค์ความรู้นวตั กรรมภมู ิปัญญาไวใ้ หค้ นรนุ่ หลัง นิยามศพั ท์เฉพาะ การเรียนรู้ หมายถึง การศึกษาเพื่อหาแนวทางปรับปรุง

เปลี่ยนแปลงและพัฒนาต่อไปข้างหน้าและพัฒนาต่อไปเร่ือยๆ ไม่มี ท่ีสิ้นสุดเป็นกระบวนการค้นหาทางไปสู่อนาคตที่พึงปรารถนาด้วยการ ทบทวนตวั ตนและภูมปิ ญั ญาในอดตี

การจัดการความรู้ หรือ KM = Knowledge Management หมายถึง เคร่ืองมือในการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 3 ประการ ได้แก่ บรรลุ เป้าหมายของงาน การพัฒนาคน และการพัฒนาองค์กรไปสู่การเป็น องคก์ รแห่งการเรยี นรู้

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมท้องถิน่ ส่กู ารสรา้ งรายไดข้ องผู้สูงอายุ 4

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้อันเกิดจากความสามารถ ประสบการณ์ และความฉลาดในการประดิษฐ์คิดค้น กระทั่งกลายเป็น วิธีการเป็นเทคนิคเป็นองค์ความรู้ ท่ีมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตและ การถ่ายทอดสืบตอ่ กนั มาจากบรรพบุรษุ จนถึงคนร่นุ ปัจจุบนั

วัฒนธรรม หมายถึง วิถีแห่งการดำรงชีวิตในแต่ละวันของคน ในสงั คมนนั้ ๆ เช่น การกิน การแตง่ กาย การพักผ่อน การทำงาน และ ก ารอ ยู่ ร่ ว ม กั น เป็ น ห มู่ ค ณ ะ โด ย วิ ถี ชี วิ ต นั้ น ด ำรงซึ่ งไว้ สิ่ งส ว ย งา ม คนส่วนใหญเ่ ห็นด้วยและปฏิบัติสืบตอ่ กันมาตราบช่วั ลกู ชว่ั หลาน

ช้าง หมายถงึ สัตวส์ เ่ี ทา้ ตวั โตกว่าสตั ว์ส่เี ทา้ ท้งั ปวง มีงวงและงา เป็นสัตว์กินพืช ช่ือต้นไม้ป่าชนิดหน่ึง ใช้ทำยาได้.และช้างสามารถใช้ เรียกได้ ห ลาย อย่ าง เช่ น กุ ญ ชร,ไอ ยรา,พ ล าย ,พั ง,หั สดิ น , หัตถี,คชา,คช,คชสาร

สิริมงคล หมายถึง คำว่า สิริ (อ่านว่า สิ-หฺริ) เป็นคำท่ีมาจาก ภาษาบาลี มีความหมายเหมือนกับคำว่า ศรี ซ่ึงไทยรับมาจากภาษา สันสกฤตในภาษาไทย ใช้คำว่า สริ ิ หมายถึง ความรุ่งเรือง ความสว่าง สุกใส ความงาม ความเจริญ มักใช้คู่กับคำว่า มงคล เช่น คู่บ่าวสาว ไดร้ ับพระราชทานน้ำสงั ข์ ถอื เปน็ สิริมงคลอย่างย่ิง

ของขลัง หมายถึง สิ่งของท่ีเช่ือกันว่าศักดิ์สิทธิ์ อาจบันดาลสิ่ง ตา่ ง.ๆ ได้ดังต้องการ

เคร่อื งราง หมายถึง ของทน่ี ับถือวา่ ป้องกันอันตราย ยิงไม่ออก ฟันไมเ่ ข้าเชน่ ตระกรดุ ผา้ ยนั ต์ เหล็กไหล เคร่อื งรางถอื เปน็ วัตถุมงคล ประเภทหนงึ่ ของขลงั คอื ของท่ถี ือวา่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ สกู่ ารสรา้ งรายไดข้ องผ้สู งู อายุ 5

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

วัตถุมงคล หมายถงึ เคร่ืองรางของขลังที่เชื่อว่าจะนำความสุข ความเจริญเป็นต้นมาให้หรือป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ เช่น ตะกรุด ผ้าประเจยี ด, ดงิ่ , วตั ถมุ งคล สำหรบั ห้อยสายลูกประคำ มลี กั ษณะกลม เป็นพูๆ ความเป็นมา

จังหวัดสุรินทร์ต้ังอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ห่างจากกรุงเทพมหานคร 450 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดอุดรมีชัย ราชอาณาจักรกัมพูชา โดยมีจุดผ่านแดนถาวร ช่องจอม – โอร์เสม็ด เปน็ เสน้ ทางหลักในการเดนิ ทางท่องเทย่ี ว ตดิ ตอ่ ค้าขายกับประเทศเพอ่ื นบา้ น

จังหวัดสุรินทร์ได้รับการสันนิษฐานจากนักประวัติศาสตร์ว่า พื้นท่ีเป็นที่ต้ังเมืองสุรินทร์ในปัจจุบันนี้ เดิมเคยมีชุมชนอาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปี ล่วงมาแล้ว ในสมัยที่พวกขอมเรืองอำนาจเม่ือขอมเสื่อมอำนาจลง พ้นื ที่แห่งน้ี ไดถ้ กู ท้ิงร้างไว้จนกลายเป็นปา่ ดงอยูน่ าน จนกระทง่ั ใน สมัยกรงุ ศรี อยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2260 ชาวพืน้ เมืองกลุ่มหนึ่ง ทเี่ รยี กตัวเองว่า กวย หรือ กูย ซ่ึงอาศัยอยู่แถบเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำปาศักดิ์ ซึ่งขณะน้ัน เป็นดินแดนของไทย ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถในการจับช้างป่ามาเล้ียง ไว้ใช้งานเป็นอย่างมาก ได้พากันอพยพข้ามลำน้ำโขงมาสู่ฝั่งขวาของ แมน่ ำ้ โขง โดยได้แยกย้ายกนั ไปตั้งชมุ ชนอยูท่ ี่บ้านเมืองลีง (อำเภอจอมพระ จังหวัดสุรินทร์) บ้านโคกลำดวน (อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ) บ้านอัจจะปะน่ึง (อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์) และบ้านกุดปะไท (อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์) โดยแต่ละบ้านจะมีหัวหน้าควบคุมอยู่ จนกระทั่งประมาณ ปีพ.ศ. 2300 บรรพบุรุษของชาวสรุ ินทร์ คือ เชยี งปมุ กับ พวกได้ใช้ภูมิปัญญาวิชาคชศาสตร์จับช้างเผือกแตกโรงจากกรุงศรีอยุธยา

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวตั กรรมภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นสกู่ ารสร้างรายไดข้ องผ้สู ูงอายุ 6

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

นำน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายคืนสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 พระที่น่ังสุริยามรินทร์ จึงได้รับบำเหน็จความชอบโปรดเกล้าโปรด กระหมอ่ มใหเ้ ป็น “หลวงสุรนิ ทรภักดี”

ในปี พ.ศ. 2306 หลวงสรุ ินทรภักดี หรือ เชยี งปุม หัวหน้าหมู่บ้านเมอื งที ได้ขอให้ เจ้าเมืองพิมาย กราบบังคมทูลขอพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จาก สมเด็จพระบรมราชาท่ี 3 พระที่น่ังสุริยามรินทร์ ย้ายหมู่บ้านจาก บ้านเมืองที มาต้ังอยู่ที่บริเวณบ้านคูประทาย ซ่ึงเป็นท่ีตั้งเมืองสุรินทร์ ในปัจจุบันน้ี เนื่องจากเห็นว่าเป็นบริเวณที่มีชัยภูมิเหมาะสม มีกำแพงค่าย คูล้อมรอบ 2 ชั้น มีน้ำอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบอาชีพและอยู่ อาศัย ต่อมาหลวงสุรินทร์ภักดี ได้กระทำความดีความชอบเป็นที่โปรดปราน สมเด็จพระบรมราชาท่ี 3 พระท่ีนั่งสุริยามรินทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านคูประทายเป็นเมืองประทายสมันต์ และเล่ือนบรรดาศักด์ิ หลวงสุรินทร์ภักดีเป็น พระยาสุรินทรภักดีศรีณรงค์จางวาง ให้เป็น เจ้าเมืองปกครองในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนช่ือเมืองประทายสมนั ต์เป็น เมอื งสุรนิ ทร์ ตามสรอ้ ยบรรดาศักด์ิเจ้าเมอื งเมอื งสุรินทร์

อนสุ าวรยี พ์ ระยาสุรนิ ทร์ภักดีศรณี รงค์จางวาง (ปม)

สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ สู่การสรา้ งรายไดข้ องผู้สงู อายุ 7

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

จังหวัดสุรินทร์มีความภาคภูมิใจในการเป็นดินแดนท่ีมีประวัติศาสตร์ ความเป็นมาที่ยาวนาน เป็นศูนย์กลางการเช่ือมโยงอารยธรรมขอมโบราณ และเป็นท่ีมาของวัฒนธรรมการทอผ้าไหมที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาจาก บรรพบุรุษ ซึ่งได้รับอิทธิพลจากกัมพูชาและผ้าไหมสุรินทร์ท่ีกำลังมี ช่ือเสียงเป็นท่ีสนใจอยู่ในขณะน้ี คือ ผ้าไหมยกทองโบราณ บ้านท่าสว่าง อำเภอเมืองสุรินทร์ ที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นผ้าไหมที่ใช้ตัดเส้ือ ให้ผู้นำเขตเศรษฐกิจเอเปค นอกจากนี้ จังหวัดสุรินทร์ยังเป็นดินแดน ท่ีมีการปลูกข้าวหอมมะลิท่ีดีท่ีสุดในประเทศและของโลกจนคณะรัฐมนตรี มีมติให้จังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดนำร่องในเรื่องการเกษตรอินทรีย์ของ ประเทศไทยเมื่อปพี .ศ.2544

ช้างเป็นสัตว์ที่เป็นมงคล เฉลียวฉลาด ชื่อสัตย์ อดทน กล้าหาญ ในอดีตช้างเคยเป็นพาหนะของพระมหากษัตริย์ในการทำศึกสงคราม ในปัจจุบันช้างเป็นสัตว์ท่ีเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และการเจริญ สัมพันธไมตรีระหว่างประเทศเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย จนกระทั่ง คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อปี พ.ศ. 2544 ให้ช้างเป็นสัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ ประจำชาติไทยจังหวัดสุรินทร์เป็นที่รู้จักกันโดยท่ัวไป ของนักท่องเท่ียวชาวไทย และชาวต่างประเทศในนาม “สรุ นิ ทร์ เมอื งช้าง”มีงานแสดงชา้ งสรุ นิ ทร์ เป็นงานประจำปี ความสำคัญของช้างไทย

ช้างเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ไทย ช้างเป็นสัตว์ที่ดำรงอยู่ คู่กับประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สยามประเทศเคยใช้ธงชาติเป็น รูปช้างเผือก ชาวไทยเชื่อกันว่าช้างเผือกเป็นสัตว์คู่บารมีของพระมหากษัตริย์ ช้างเผอื กจึงไดร้ บั การยกย่องเสมือนเจ้านายช้นั เจา้ ฟ้า

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถ่ินสกู่ ารสรา้ งรายไดข้ องผู้สงู อายุ 8

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ช้างเป็นผู้ปกป้องเอกราชแห่งชาติไทย ประวัติศาสตร์ชาติไทย ได้จารึกไว้ว่าช้างได้เข้ามามีส่วนในการปกป้องเอกราชและความเป็นชาติ ให้แก่ชาวไทยหลายยุคหลายสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชได้ทำยุทธหัตถี จึงทรงประกาศเอกราชและความเป็นชาติ ซึ่งช้างทรงในสมเด็จพระนเรศวรนับว่าเป็นช้างไทยท่ีได้รับเกียรติอันสูงสุด โดยได้รบั พระราชทานยศให้เป็นถงึ "เจ้าพระยาปราบหงสาวดี"

ช้างสร้างความสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสสิงคโปร์ และเบตาเวีย (จาการ์ตา) ประเทศอินโดนีเซีย ไดพ้ ระราชทานชา้ งสำรดิ ให้แก่ท้ัง 2 ประเทศนี้ ชา้ งเอเชยี

ช้างเอเชีย หรือเรียกว่า ช้างอินเดีย (Elephas maximus) มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกามาก มีหูเล็กกว่า และท่ีสังเกตได้ชัดเจน คอื มเี พยี งเพศผูเ้ ท่าน้ันที่มงี าขนาดใหญโ่ ผล่ออกมาใหเ้ หน็

❖ ช้างไทย

❖ ช้างแอฟริกา

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวตั กรรมภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถน่ิ สกู่ ารสร้างรายได้ของผู้สงู อายุ 9

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ลกั ษณะต่างๆของช้าง งวง : สตั วก์ ินพืชส่วนใหญ่มีฟันท่อี อกแบบมาเพ่ือตัดและฉีกสว่ นตา่ ง ๆ

ของพืช อย่างไรก็ตาม ยกเว้นช้างวัยอ่อนมาก ช้างมักจะใช้งวง ฉกี อาหารแล้วจึงนำมาวางไว้ที่ปาก พวกมันจะกนิ หญา้ หรอื เอือ้ มงวงขึ้น ไปบนต้นไม้เพื่อฉีกเอาใบไม้ ผลไม้หรือกิ่งไม้ทั้งก่ิง หากอาหารท่ีต้องการน้ัน อยู่สูงเกินเอื้อม ช้างจะพันงวงของตัวเข้ากับต้นไม้หรือกิ่งไม้และเขย่า เอาอาหารลงมาหรืออาจล้มต้นไม้ท้ังต้นลงเลยทีเดียว งวงยังสามารถ ใช้สำหรับการดื่มได้ด้วย ช้างจะดูดน้ำเข้าไปในงวง ซึ่งสามารถดูด เข้าไปได้มากที่สุดถึง 14 ลิตร ในคราวหน่ึง จากน้ันจึงพ่นน้ำเข้าไปในปาก ช้างยังสามารถดูดน้ำมาเพ่ือพ่นใส่ร่างกายของตัวระหว่างการอาบน้ำได้ด้วย นอกเหนือไปจากการดูดน้ำแล้ว ช้างยังอาจพ่นดินและโคลน ซึ่งตัว จะแหง้ และทำหนา้ ท่ีเหมือนกับสารกนั แดดขณะว่ายนำ้ งวงเป็นท่อชว่ ย หายใจที่ยอดเยี่ยม งวงยังมีบทบาทสำคัญในปฏิสัมพันธ์ทางสังคม หลายอย่าง ช้างที่คุ้นเคยกนั จะทักทายกันโดยการพันงวงรอบงวง ของ อีกฝ่ายหน่ึง ซึ่งคล้ายกับการจับมือของมนุษย์มาก นอกจากนี้ช้างยัง สามารถใช้งวงในการเล่นมวยปล้ำ โดยการสัมผัสระหว่างการเกี้ยวพา ราสีและปฏิสัมพันธ์ระหว่างแม่-ลูก และสำหรับการแสดงความ เหนือกว่า การชูงวงข้ึนสามารถเป็นได้ท้ังการเตือนหรือการคุกคาม ขณะท่ีงวงท่ีลดลงสามารถเป็นสัญลักษณ์ของการจำยอม ช้างยัง สามารถป้องกันตนเองได้เป็นอย่างดีโดยการเคล่ือนไหวงวงไปมา ท่ผี รู้ ุกรานหรือโดยการจบั และขว้างออกไป

งา : งาของช้างเป็นฟันตัดขากรรไกรบนคู่ท่ีสอง งาจะโตข้ึน อย่างต่อเนื่อง งาของช้างเพศผู้เติบโตในอัตรา 17 เซนติเมตรต่อปี งาใช้ในการขุดหาน้ำเกลือหรือรากไม้ เพ่ือขูดเปลือกไม้เพื่อท่ีจะกิน

สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ สูก่ ารสร้างรายไดข้ องผูส้ ูงอายุ 10

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

เปลือกไม้ เพื่อขดุ เข้าไปในต้นบัลบับเพ่ือเอาผลไม้ทีอ่ ยขู่ ้างใน เพื่อย้าย ตน้ ไม้และกงิ่ ในการเปดิ เส้นทาง นอกเหนอื จากนชี้ ้างยงั ใชท้ ำสญั ลกั ษณ์ บนตน้ ไม้ เพอ่ื สร้างอาณาเขตและในบางคร้ังใช้เปน็ อาวุธด้วย

ผิวหนัง : ช้างอาจถูกเรียกว่า สัตว์หนังหนา (pachyderms) ซ่ึงมาจากการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ด้ังเดิม หนังของช้างน้ัน มีความหนามาก ปกคลุมส่วนใหญ่ของร่างกาย และวัดความหนาได้ ประมาณ 2.5-3 เซนติเมตร อย่างไรก็ตาม หนังรอบปากและด้านในหู นั้นค่อนข้างบาง ผิวหนังของช้างมีขนขึ้นอยู่บ้างเล็กน้อย โดยจะ สามารถเห็นได้ชัดเจนมาก ในช้างอายุน้อย แต่เมื่อช้างมีอายุมากขึ้น ขนจะมจี ำนวนลดลงและบางลง แต่ขนจะยังคงปกคลุมอย่ทู ่ีหวั และหาง ของพวกมัน ผิวหนังของมันถงึ แม้จะหนาแต่ก็มคี วามละเอียดอ่อนมาก โดยสามารถสัมผัสถึงแมลง และความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมได้ ช้างทุกชนิดแท้จริงแล้วจะมีผิวหนังสีเทา แต่มักพบว่ามีสีน้ำตาลหรือ แดงตามดินแถบน้ันเพราะแช่ตัว อยู่ในปลักโคลน โคลนทำหน้าที่ เสมือนครีมกันแดด ซึ่งปกป้องผิวหนังของมันจากรังสีอัลตราไวโอเล็ต ที่รุนแรง นอกจากน้ีการแช่ตัวในโคลน ยังช่วยให้ผัวหนังสามารถรักษา อุณหภูมิของร่างกายไว้ได้และป้องกันแมลงกัดต่อย ท้ังน้ี ช้างเป็นสัตว์ ทไ่ี ม่มตี อ่ มเหงอ่ื ผวิ หนังของช้างมีรอยย่น เพ่ือเพ่ิมพ้ืนที่ผิวสมั ผัส ซึ่งจะ ชว่ ยให้ความเย็นและเกบ็ กักความชืน้ ไวไ้ ด้

ฟัน : ฟันของช้างแตกต่างไปจากฟันของสัตว์เล้ียงลูกด้วย น้ำนมอ่ืนส่วนใหญ่ โดยปกติช้างจะมีฟันอยู่ 28 ซี่ ซ่ึงประกอบด้วยฟัน ตัดคู่ ที่สองขากรรไกรบน เป็นงา ฟันน้ำนมท่ีขึ้นกอ่ นงา ฟันกรามน้อย 12 ซี่ โดยมี 3 ซ่ีอยู่ในขากรรไกรแต่ละข้าง และฟันกราม 12 ซ่ี โดยมี 3 ซี่ อยู่ในขากรรไกร แต่ละข้างเช่นเดียวกัน ขณะท่ีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินสกู่ ารสรา้ งรายได้ของผู้สูงอายุ 11

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ส่วนใหญ่เม่ือโตขึ้น ฟันน้ำนมจะถูกแทนที่ด้วยชุดฟันแท้ถาวร แต่ช้าง กลับมีวัฏจักรสับเปลี่ยนหมุนเวียนฟันเกิดขึ้นตลอดช่ัวชีวิต ช้างมีฟัน น้ำนม ซึ่งจะหลุดไปและงา จะเข้ามาแทนท่ีเมื่ออายุได้หนึ่งปีแต่ฟันเคี้ยว อาจสามารถมีได้ถึงห้า หรือท่ีพบได้น้อยครั้งมากหกคร้ัง ตลอดช่วง ชีวิตของช้าง ช้างใช้ฟันกรามและฟันกรามน้อยเพียงสี่ซ่ี หรือหน่ึงซี่ใน ขากรรไกร แต่ละขา้ งเทา่ นน้ั เปน็ หลกั ในช่วงชวี ติ

หู : หูท่ีสามารถกระพือได้ขนาดใหญ่ของช้างน้ันยังมีความสำคัญ ต่อการรักษาสมดุลอุณหภูมิรา่ งกายช้างด้วย หชู ้างเป็นหนงั ช้ันบางมาก ซึ่งถูกขึงอยู่เหนือกระดูกอ่อนและเครือข่ายหลอดเลือดจำนวนมาก ในวันที่มี อากาศร้อน ช้างจะกระพือหูอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงจะสร้างลมอ่อนๆ ข้ึน ลมนี้ช่วยลดอุณหภูมิหลอดเลือดพ้ืนผิว และจากน้ันเลือดท่ีถูกทำให้เย็นลง น้ันจะหมุนเวียนไปทั่วส่วนท่ีเหลือของร่างกายช้าง เลือดท่ีเข้าสู่หูน้ัน สามารถลดอณุ หภมู ิลงไดถ้ ึง 6 องศาเซลเซียสก่อนที่จะหมนุ เวียนไปยัง ส่วนอื่นของรา่ งกาย ชา้ งแอฟริกาและช้างเอเชยี มีขนาดใบหแู ตกต่างกัน ซ่ึงบางส่วนสามารถอธิบายได้ด้วยการกระจายพันธุ์ทางภูมิศาสตร์ ชา้ งแอฟริกามถี ่ินท่ีอยใู่ กล้กบั เส้นศนู ยส์ ตู ร

หาง : มีลักษณะยาวและส่วนปลายหางของช้างมีขนยาว ใช้สำหรับปัดแมลงและช่วยในการทรงตวั ของชา้ ง

สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นส่กู ารสรา้ งรายไดข้ องผสู้ งู อายุ 12

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ลักษณะของชา้ งท่ีดีตอ้ งประกอบด้วย 1. ศีรษะ โต แก้มไม่ตอบ หน้าผากว้างและกลม ลักษณะ

ของศรี ษะทด่ี จี ะแสดงถึงความแข็งแรง ความขยนั และความฉลาดดว้ ย 2. ตา แจ่มใส สะอาด ไมข่ ุ่นมัว มนี ำ้ ตาหล่อเลย้ี งพอสมควร

ถ้าตาเล็ก แสดงถึงเป็นช้างโลเล ไม่แน่นอน ตามีอาการมองเขม็ง แสดงถึงความดรุ ้าย โกงและพยศ

3. งวง ยาว โคนงวงใหญ่ ล่ำสันตลอดลำ ฝาปดิ เปิดปลายงวงปิดได้ สนทิ งวงตอนโคนงา ถ้าเป็นโหนกใหญ่และหนา แสดงว่าเปน็ ชา้ งทแ่ี ขง็ แรง

4. หู ใหญ่ ปลายใบหหู มุ้ ลง ถา้ มีใบหใู หญ่มักจะมศี รี ษะใหญด่ ว้ ย 5. คอ ส้นั ใหญ่ ลำ่ สนั รับกับศีรษะ 6. อก กว้างมีกล้ามเน้ือหนา บ่ายกนูนใหญ่ จะเป็นช้างท่ีแข็งแรง แตถ่ า้ ชา้ งมีอกทีเ่ ป็นรอ่ งแสดงวา่ เป็นชา้ งทีอ่ ่อนแอ 7. ขา ขาหน้ามีส่วนโค้ง ไปข้างหน้า และยาวกว่าข้างหลัง ตามลำขาเต็มไปด้วยกล้ามเน้ือ ถ้าข้อเท้าเล็กและบานออก แสดงถึง ความชรา 8. หลั ง กว้าง โค้ งล าด ล งไป ข้ างห น้ าแ ล ะข้ างห ลั ง แบง่ ออกได้ 3 ประเภท

ก. แปก้านกล้วย เป็นลักษณะที่ดีท่ีสุด คือกระดูกสันหลัง สงู กว่าตรงกลางเลก็ น้อย แลว้ ลาดลงทางหาง ในลกั ษณะสมำ่ เสมอ

ข. แปปราสาท คือสันหลังโค้งสูงมาก เป็นช้างท่ีดี รองจากช้างแปกา้ นกลว้ ย

ค. แปขาด คือสันหลังบุบ แนวไม่สม่ำเสมอ เป็นร่อง เป็นลักษณะไม่ดีในตำราของพม่า จะแบ่งลักษณะหลังช้างออกเป็น 5 ประเภท โดยเพิม่ ประเภท หลงั ตรง และหลงั หมู

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ สู่การสรา้ งรายไดข้ องผสู้ งู อายุ 13

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

8.1 ลำตัว หนา ล่ำสัน สมำ่ เสมอไม่สัน้ เกนิ ไป 8.2 ตะโพก กลม เต็มไปดว้ ยกลา้ มเน้อื 8.3 เท้ากลม ขนาดเท่าลำขา ไม่แบน ไม่เล็กเกินไป พ้ืนเท้าแข็ง ปราศจากรอยแตกหรือรูเล็กๆ ช้างท่ีมีพื้นเท้าแดงเร่ือๆ และบางมักจะไดร้ ับอนั ตราย จากการถกู ไม้ หรอื หินทมิ่ ตำไดง้ า่ ย 8.4 เล็บ โค้งนูน ใสสะอาด ไม่แตก ไม่แข็งกระด้าง ช้างเล็บคุ้มมักข้ึนดอยได้ดี ส่วนช้างเล็บบานมักขึ้นดอยไม่เก่ง ช้างที่มี ร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง จะมีเหงื่อท่ีออกจากเล็บมาก ช้างส่วนมาก จะมีเล็บเท้าหน้าข้างละ 5 เล็บ แต่ช้างที่มีเท้าหน้าข้างหนึ่ง 4 เล็บ และ เท้าหน้าอีกข้างละ 5 เล็บ ถือว่าเป็นช้างอุบาทว์ ส่วนช้างที่เล็บครบ 5 เล็บ ทง้ั 4 เท้า ซ่ึงหายากมาก สว่ นมากมักจะเปน็ ชา้ งเผือก 8.5 หาง ยาวแต่ไม่จรดดิน ปลายหางเป็นแผงใหญ่ ขนหางยาว ช้างที่ดีหางยาวถึงข้อเท้า (ปัดธรณี) ช้างที่หางจรดดิน ถอื วา่ อุบาทว์ 8.6 หนัง อ่อน ย่นและหนาเป็นมันเลื่อม สีค่อนข้างดำ มองดูคล้ายชุ่มชน้ื อยูเ่ สมอ ช้างที่มีหนังหนา คล้ายหนังแรด เป็นช้างท่ี นยิ มกันมาก และเช่ือวา่ เป็นชา้ งท่ีอดทนแข็งแรง 8.7 งา ล่ำสัน แน่นหนาดี ไม่ยาวเกินไปนัก งาท้ังคู่ โตเสมอกันไม่บิดเบี้ยว ช้างบางตัว มีงาข้างเดียว อาจมีข้างซ้ายหรือ ข้างขวา งาปลี คอื งาใหญเ่ หมอื นกลว้ ย งาเครอื คือ.งาเลก็ เรียวยาว งาจะ มีเฉพาะในช้างตัวผู้เท่านั้น ส่วนช้างที่ไม่มีงา เรียกว่าช้างสีดอ เขี้ยวที่ โผล่เห็นสั้นๆ ทเี่ ดยี วกับงา เรยี กวา่ ขนาย 9. รตู อ่ มนำ้ มันใกลห้ ู ใหญ่ แสดงว่าเปน็ ช้างท่ีแข็งแรง

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถิน่ ส่กู ารสร้างรายไดข้ องผู้สงู อายุ 14

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

10. ความสูง ช้างที่โตเต็มท่ีแล้ว (วดั จากพ้ืนถึงไหล)่ ควรจะ มีส่วนสูงไม่ต่ำกว่า 8 ฟุต สำหรับช้างพลาย และ 7 ฟุต 6 นิ้วสำหรับ ช้างพัง (วิธีคำนวณส่วนสูงของช้าง ชาวบ้านใช้วัดรอบรอยเท้าหน้า แล้วคูณด้วย 2 จะได้สว่ นสูงของช้างเจา้ ของรอยเท้า)

11. น้ำหนัก ช้างพลายที่สมบูรณ์ (สูง 8 ฟุต 3 น้ิว) จะมี น้ำหนักประมาณ 3 ตัน ถ้าช้างสูงกว่าสูง 8 ฟุต 3 น้ิว จะมีน้ำหนัก เฉลีย่ เพ่มิ ข้ึน 50 กิโลกรัม ทกุ ๆ ความสูงท่เี พิม่ ขึน้ 1 นิว้ ถ้าช้างตำ่ กว่า 8 ฟุต 3 น้ิว จะมีน้ำหนักเฉล่ียลดลง 37.5 กิโลกรัม ทุกๆความสูงที่ ลดลง 1 น้ิว

12. ลักษณะอืน่ ๆ ช้างท่ีดี มักจะกินหญ้าจุ และไว ถ้าเป็นช้างพลาย ที่มีงา

จะไม่รอให้หญ้าหมดปาก มักหยิบมาเหน็บไว้ระหว่างงากับงวง ถ้าเป็น ช้างพัง ที่ไม่มีงาก็ใช้งวงหยิบมาเตรียมไว้ แสดงว่าช้างสมบูรณ์แข็งแรง ช้างพังท่ีจะเป็นแม่ช้างท่ีดีไว้ทำพันธุ์ดีจะต้องมีฐานนมใหญ่ ช้างท่ีมีแต่ หัวนมเฉยๆ แสดงวา่ ให้ลกู ไมด่ ี

อวัยวะชา้ งทีน่ ยิ มนำมาทำเครอื่ งราง ของขลัง 1.งา เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์และความเป็นมงคล

มีความหมายถึง พลังอำนาจเพ่ิมข้ึนในตัวของผู้ท่ีครอบครอง เป็นเจ้าของ ช่วยให้ฟันฝ่าอุปสรรค และมีชัยเหนือศัตรู วิธีรับพลังจากงา สวมเครอื่ งประดบั ที่ทำจากงาช้าง หรอื พกพาในรูปของเคร่ืองราง

2.กระดูก ความเช่ือมานับพันปีของคนจีนเร่ืองกระดูกช้างดำ งาช้างดำใช้ช่วยปรับสมดุลของร่างกายได้ยอดเย่ียม มีพลังเย็น มีพลัง ช่วยขจัดปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายอัปมงคลออกจากตัว ช่วยในการปรับสมดุล

สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ สู่การสร้างรายได้ของผสู้ ูงอายุ 15

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ของร่างกายจะปรับโดยอตั โนมตั ิ จึงเป็นยอดมหาบำบัด สำหรบั ชาวจีน และใช้เป็นสัญลักษณ์แห่งโชคลาภเสริมอำนาจวาสนาให้สูงส่งใหญ่โต ป้องกันส่ิงอัปมงคลเสนียดจัญไรทั้งหลาย ควรค่าแก่การเสาะแสวงหา เม่ือนำมาแกะเป็นองค์พระด้วยแล้วอานุภาพสูงส่งย่ิงข้ึน ใช้ได้ ครอบจกั รวาลเปน็ มหาสริ มิ งคล จะมแี ตค่ วามเจริญรงุ่ เรอื งตลอดไป

3.หนังช้าง ปะกำช้าง ป้องกันคุณไสย์ ลมเพลมพัด เวลาเดินป่า ให้ติดท่ีเข็มขัดไปด้วย พระธุดงค์ คนเดินป่า ฤาษีจะมีไว้ทุกคน ถือเป็นของมงคลอาถรรพ์ เป็นเคร่ืองรางชนิดหนึ่งท่ีทำมาจากหนังช้าง สมัยก่อนหมอควาญช้างจะนำหนงั ช้างมาคว่ันเป็นรูปวงกลมและทำพิธี เพื่อนำไปคล้องช้างป่าที่เรียกว่าช้างจับช้าง ซ่ึงเป็นพิธีกรรมท่ีทำได้ยากมาก และนำมาตัดเป็นช้ินเล็กๆดังรูปภาพเป็นเครื่องรางของขลังพุทธคุณไว้ สำหรับป้องกันสัตว์ร้ายต่างๆและอาถรรพ์ตามป่าเขา-ภูตผีปีศาจ และคุณไสยต่างๆและยังมีด้านเมตตามหานิยมอีกด้วยเป็นเครื่องราง ทห่ี ายากและนับเปน็ ของแปลกอีกชิ้นหนึง่ ทน่ี ่ามีไวต้ ิดตัว

4.รกช้าง เป็นของมหศั จรรย์ ประเภทหน่ึง ทีจ่ ดั อยู่ในประเภท "ของขลัง" ท่ีเกิดข้ึนตาม "ธรรมชาติ" จากสัตว์ (กล่าวคือ ไม่ใช่เป็นส่ิง ที่มนุษย์สร้าง หรือ ประดิษฐ์ ข้ึนมา) ซึ่งคนโบราณ หรือ ผู้เฒ่าผู้แก่ เชื่อกันว่า ผู้ใดได้ครอบครองหรือพกพา "รกช้าง" ไว้ "รกช้าง " จะบันดาลโชคลาภข้ันสูง เรียกโชค เรียกลาภ และยังสามารถเร่งโชค เร่งลาภ เข้ามาสู่ตัวผู้ครอบครอง หรือ ผู้พกพาอย่างน่าอัศจรรย์ใจเป็นย่ิงนัก มไี ว้ไมม่ ีคำว่า "จน" เงนิ ทองจะไหลมาเทมาเป็นระยะ ๆ ไม่ขาดสาย

5.หาง คนโบราณเช่ือว่า ช้างเป็นสัตว์ใหญ่ที่แสดงถึงอำนาจ ผู้ที่มีหางช้างพกติดตัวจะปลอดภัยแคล้วคลาดจากอันตรายต่างๆ เวลาท่ีต้องเข้าป่าและยังมีความหมายในแง่ของอำนาจ จัดเป็น

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถนิ่ สกู่ ารสร้างรายไดข้ องผสู้ งู อายุ 16

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

เคร่ืองรางอีกอย่างท่ีนิยมกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ เครื่องรางช้างท่ีทำจาก ขนหางช้าง ว่ากันว่าสามารถป้องกันคุณไสยได้ทุกชนิด จึงมีผู้นิยม นำมาทำแหวน กำไล หรือพกติตตัวไว้ ลำพังแค่ขนหางช้างอย่างเดียว ซึ่งคนโบราณไม่ได้เรียนอาคมจะพกขนจากหางช้างติดตัวอยู่เสมอ นัยว่าเป็นเครือ่ งรางของขลังปัดเป่ารังควานจากภูตผีปีศาจและสัตว์ร้าย ปอ้ งกนั คณุ ไสยต่างๆ ในยามท่ีตอ้ งเดินทางไกล คนโบราณเชอ่ื อีกว่าถ้า บูชาดีขนจากหางช้างจะทำให้สามารถหยั่งรู้พิษภัยต่างๆ ล่วงหน้าด้วย อยา่ งสมั ผัสที่หกและป้องกนั มใิ ห้เกิดข้ึนได้

บรบิ ทพนื้ ที่ บ้านตากลาง ถ่ินช้างเมืองสุรินทร์หมู่บ้านช้าง บ้านตากลาง

อยู่ห่างจากตัวเมืองสุรินทร์ ประมาณ 58 กิโลเมตร ไปทางทิศเหนือ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 เส้นทางสายสุรินทร์ – ร้อยเอ็ด เลี้ยวซ้าย เม่ือถึงกม.36 เข้าปากทางบ้านกระโพ ลึกเข้าไปตามถนนลาดยาง บนท่ีราบใกล้แม่น้ำมูล และลำห้วยน้ำชี ระยะทางประมาณ 22 กิโลเมตร ก็จะถงึ เขตหมู่บ้านช้าง พ้นื ท่ีรอบๆ หมู่บ้านชา้ งสว่ นใหญจ่ ะเป็นทนี่ าและ

สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถนิ่ สกู่ ารสรา้ งรายไดข้ องผู้สูงอายุ 17

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ป่ าละเมาะสลั บกลั บป่ าโป่ งอุ ดมสมบู รณ์ ด้ วยพื ชพั นธ์ุนานาชนิ ด ทิศตะวันออกของหมู่บ้านเป็นป่าดงดิบสายทอ ทิศตะวันตกเป็นป่าดงดิบ ภูดิน ทิศเหนือของหมู่บ้านมีแม่น้ำ 2 สายไหลมาบรรจบกัน สร้างความ อุดมสมบูรณ์ให้แก่พื้นท่ีดังกล่าวเป็นอย่างยิ่ง บริเวณนี้จึงเหมาะสม กับการเล้ยี งชา้ งอย่างท่สี ุด

ชาวกวยเป็นกลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี มายาวนาน รักสงบ รักอิสระ มีความสามัคคี เป็นคนมีระเบียบวินัย มีเอกภาพในสังคม มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง ความโดดเด่นที่เป็น เอกลกั ษณ์เฉพาะตน คอื ความอลงั การอนั นา่ อัศจรรย์ ผสมผสานระหวา่ ง คนกับช้าง ก่อนปีพุทธศักราช2500 ชาวกวยที่นี่จะมีอาชีพหลักคือ จับช้างป่ามาฝึกหัดไว้ใช้งาน ส่วนการทำนาจะทำเป็นอาชีพรองคือทำ เพียงแค่พออยู่พอกิน ในอดีตชาวกวยจะออกไปจับช้างปีละ2 – 3 คร้ังๆละ 2 - 3 เดือน ซ่ึงส่วนมากมักจะเดินทางไปจับในดินแดน ราชอาณาจกั รกัมพชู า

ชาวบา้ นตากลาง ดั้งเดมิ เป็น ชาวสว่ ย (กูย) หรือ กวย ท่มี ีความชำนาญ ในการคล้องช้างป่า ฝึกหัดช้าง และเล้ียงช้าง ส่วนมากต้องเดินทางไป ค ล้ อ งช้ างบ ริ เว ณ ช าย แ ด น ต่ อ เข ต ป ระ เท ศ กั ม พู ช าป ระ ช าธิ ป ไต ย ปัจจุบันสภาวะการเมืองระหว่างประเทศทำให้ชาวบ้านตากลาง ไม่สามารถไปคล้องช้าง เช่น แต่ก่อนได้ แต่ชาวบ้านตากลางยังคงเลี้ยงช้าง และฝกึ ชา้ งเพ่ือไปรว่ มแสดงในงานชา้ งของจังหวัดทกุ ปี

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4

นวัตกรรมภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถิน่ สูก่ ารสร้างรายได้ของผู้สูงอายุ 18

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

การเลี้ยงช้างของชาวบ้านเป็นการเลี้ยงในลักษณะที่ช้างเป็นสมาชิก ส่วนหน่ึงของครอบครัว ช้างและคนได้อยู่ด้วยกัน มีความผูกพันกัน อย่างเหนียวแน่น เหมือนการเล้ียงช้างไว้เป็นเพื่อนนอนร่วมชายคา เดียวกับตน ที่บ้านตากลาง นอกจากจะได้เห็นสภาพโรงช้างดังกล่าวแล้ว ยังจะได้สัมผัสการดำรงชีวิตของชาวส่วย พร้อมท้ังจะได้พบปะพูดคุย กับหมอช้าง ที่มีประสบการณ์ ในการคล้องช้างมาแล้วหลายคร้ังได้ ตลอดเวลา รวมทั้งยังสามารถเดินทางชมจุดบริเวณท่ีแม่น้ำชี และ แม่น้ำมูลไหลมารวมกนั ซ่ึงห่างออกไปเพียง 3 กิโลเมตร มีทัศนียภาพ ทีง่ ดงามนา่ พกั ผ่อนหยอ่ นใจ และชวนใหศ้ กึ ษา ในเชิงของธรรมชาตดิ ว้ ย

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมท้องถนิ่ สูก่ ารสรา้ งรายไดข้ องผ้สู งู อายุ 19

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ปัจจุบันแม้ชาวบ้านตากลางจะไม่ไปจับช้างแล้ว แต่ยังมีหมอช้าง ที่สืบทอดภูมิปัญญาวิชาคชศาสตร์อยู่ ผู้ที่ต้องการศึกษา เรียนรู้ท่องเท่ียว สามารถพบปะพูดคุยกับหมอช้างที่มีประสบการณ์ ในการจับช้างมา แล้วหลายคร้ังได้ตลอดเวลา ชีวิตของหมอช้างเป็นชีวิตท่ีต้อ งมี ความกล้าหาญอย่างยิ่ง ชาวบ้านตากลางเป็นผู้มีความสงบเสง่ียมสำรวม พูดน้อย ถ้าได้สนทนาด้วยแล้วจะทราบว่าเขาคือนักต่อสู้ผู้ยิ่งใหญ่ นอกจากน้ี บ้านตากลางยังเป็นสถานที่ฝึกช้างสำหรับแสดงในงาน แสดงช้างของจังหวัดสุรินทร์เป็นประจำทุกปี และบ้านตากลางยังเป็น ที่ตั้งขอ“ศูนย์คชศึกษา”พิพิธภัณ ฑ์เกี่ยวกับช้าง ภายใต้ศูนย์ มีนิทรรศการ ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านรวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีใช้ในการ คล้องช้าง เช่น เชือกประกำ เชือกคล้องชา้ งที่ทำจากหนังควาย ฯลฯ เปิดให้นักท่องเท่ียวสามารถเข้าชมได้ และช่วงท่ีน่าไปเยี่ยมหมู่บ้านช้างมาก ท่ีสุดคือ ช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคมเพราะควาญช้าง จะกลับมาเก็บเกี่ยวข้าว และนำช้างมาร่วมงานแสดงของจังหวดั ซึ่งจะ มชี า้ งกลบั มาอยบู่ า้ นเป็นจำนวนมาก

สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่นิ สกู่ ารสรา้ งรายได้ของผู้สูงอายุ 20

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ศูนย์คชศกึ ษา หรอื หมูบ่ า้ นช้าง บา้ นตากลาง จ.สุรินทร์ เปน็ ศนู ยร์ วม ของสมาชิกช้างทั้งในบา้ นกะโพ ตากลาง และจากหมู่บา้ นอื่นๆ ในจังหวัดสรุ ินทร์ มากกว่า 200 ตัว ซึ่งจัดให้เป็นวิถีชีวิตที่อยู่ในพื้นที่เดียวกันของคนกับ ชา้ งโดยมที ัง้ บา้ นเรอื นของชาวบ้านหรอื ที่เรียกว่า ควาญช้าง และมีที่อยู่ ของช้างอยู่ทั่วบริเวณเป็นวิถีชีวิตที่น่าทึ่งมากๆ ไม่ว่าเราจะเดินไป บริเวณไหนเราก็จะพบเห็นช้างอยู่แทบทุกท่ี ซ่ึงช้างแต่ละตัวก็เป็นช้างแสนรู้ น่ารัก ไม่ดุร้าย และสามารถเข้ากับคนได้ง่าย ช้างบ้านตากลางเป็นช้างท่ีเชื่อง นอนรว่ มชายคาเรอื นเดยี วกนั กับคน เปน็ สงิ่ มหศั จรรย์ท่ชี ้างกบั คนอยรู่ วมกนั ได้ อย่างมีความสุข

แม้ว่าในปัจจุบันสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติได้เปล่ียนแปลงไป ป่ารอบๆ หมู่บ้านที่เคยอุดมสมบูรณ์ในอดีต ได้เส่ือมโทรมลงตาม กาลเวลา พื้นที่เล้ียงช้างในอดีต ถูกบุกรุกจากราษฎรในพ้ืนที่เข้าปลูก ยูคาลิปตัส ทำให้พืชอาหารช้างลดลง จึงเป็นสาเหตุทำให้คนเลี้ยงช้าง ของจังหวัดสุรินทร์ ต้องนำช้างออกไปรับจ้างอยู่ตามแหล่งท่องเที่ยว ต่าง ๆ และเร่ร่อนเลี้ยงชีพอยู่ในสังคมเมือง ซ่ึงเป็นที่มาของโครงการ พั ฒ น าห มู่ บ้ าน ช้ า งสุ ริน ท ร์ซ่ึ งป ระ ก อ บ ไป ด้ ว ย แ ผ น แ ม่ บ ท พั ฒ น า หมู่บ้านช้างเลี้ยงใหญ่ที่สุดในโลก, โครงการช้างคืนถ่ินพัฒนาสุรินทร์ บ้านเกิดฯลฯ เพ่ือให้ช้างและควาญช้างได้กลับมาอยู่ที่หมู่บ้านช้าง บ้านตากลาง จังหวดั สรุ ินทร์ตลอดไป

ศาลปะกำ ท่ีเป็นเสมือนเทวาลัยสิงสถิตของวิญญาณบรรพบุรุษ และผีปะกำ ตามความเช่ือของ ชาวกวย หรือ กูย นิยมปลูกสร้างไว้ในชุมชน คุ้มบ้าน นักท่องเท่ียวสามารถไหว้ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์จาก ศาลปะกำ กันได้ ซึ่งเชื่อกนั วา่ ขอสิ่งได้ไดส้ มปรารถนาด่ังทตี่ ั้งใจไว้

สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นสกู่ ารสร้างรายได้ของผู้สูงอายุ 21

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

กลุ่มผลติ ภณั ฑ์จากชา้ งและเชอื กปะกำ ความเปน็ มาเร่มิ แรกในการจดั ตัง้ กลุม่

“บรรพบุรุษชาวกวยของเรา ต้องนำเครื่องราชบรรณาการไป ถวายให้แก่พระเจ้าแผ่นดิน คนเลยเรียกเราว่าพวกส่งส่วยหรือพวกส่วย กันจนติดปาก กวยไม่ใช่ส่วย กวยกับเขมรพูดคนละภาษา แต่สำเนียง จะคล้ายๆ กัน คนที่ไม่รู้เลย ชอบคิดว่าเป็นกลุ่มเดียวกัน” ลูกหลานชาวกวย บา้ นตากลาง ต.กระโพ อ.ทา่ ตูม จ.สรุ นิ ทร์ บอกถงึ ทม่ี าของคำซง่ึ ฝงั จำตั้งแต่ เก่าก่อน จนถกู คนเข้าใจผดิ มาถึงปัจจุบนั

“กวย” แปลตามภาษาของชาติพันธ์ุ หมายถึงมนุษย์หรือคน บ้างก็ถูกเรียกว่า เขมรป่าดง ด้วยเคยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มคนที่ต้องส่ง เคร่ืองราชบรรณาการต่อกษัตริย์ผู้ปกครองอาณาจักร จงึ มักถูกเรียกว่า พวก “ส่วย” มีพงศาวดารกล่าวถึงชาวกวยได้ช่วยคล้องช้างเผือก ที่แตกหนีจากโรงช้างหลวงกรุงศรีอยุธยา ข้ามดงพญาไฟเดินเลียบ ลำน้ำมลู จนเขา้ เขตพงไพรที่ชาวกวยอยู่อาศยั ความดีความชอบคร้งั น้นั เชียงปุ่มหัวหน้าชุมชนจึงได้รับบรรดาศักด์ิเป็นหลวงสุรินทร์ภักดี

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ สู่การสรา้ งรายได้ของผ้สู ูงอายุ 22

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

รับใช้และร่วมศึกสงครามกับทัพหลวง ต้ังแต่ปลายอยุธยามาธนบุรี ล่วงถึงรัตนโกสินทร์ และได้รับแต่งตั้งเป็นพระยาสุรินทร์ภักดีศรีณรงค์จางวาง เจ้าเมอื งสรุ นิ ทร์คนแรกในสมยั รชั กาลที่ ๑ แห่งราชวงศ์จกั รี

บ้านตากลางเชื่อว่าน่าจะก่อต้ังเป็นชุมชนมาต้ังแต่ช่วงกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย เช่นกัน บรรพบุรุษของพวกเขา เสาะหาที่อยู่จนได้ชัยภูมิ เหมาะสม น้ำท่า พืชพันธธ์ุ ัญญาหารบริบรู ณ์มีช้างชุกชุม การคลอ้ งชา้ ง ได้รับการชว่ ยเหลอื แนะนำจากตากัง คนพ้ืนถนิ่ ด้งั เดิมซึ่งชำนาญด้านนี้ เช่นเดียวกัน เม่ือลงหลักปักฐานเป็นชุมชนถาวรจึงตั้งช่ือว่าบ้านตากัง ภายหลังจึงเพี้ยนเป็นบ้านตากลาง

ปัจจุบันไม่มีการจับช้างแต่ยังคงเลี้ยงช้าง เหมือนเป็นสมาชิก คนหน่ึงในครอบครัว บ้านตากลางถูกพัฒนาหมู่บ้านเป็นแหล่ง ท่องเท่ียว เรียนรู้วิถีชีวิต บ้านเกือบทุกหลังมีโรงเรือนหลังคาสูงไว้สำหรับ ให้ช้างอาศัย ชาวกวยเช่ียวชาญในการโพนช้างหรือจับช้างป่านำมาฝึก เพือ่ ใช้งาน ผู้ที่จะร่วมออกไปคล้องชา้ งตอ้ งผ่านพิธีปะชหิ รอื แตง่ ต้ังโดย ครูบาใหญ่ การจัดลำดับช้ันของหมอช้างวัดจากจำนวนช้างท่ีจับได้ เป็นสำคัญ เร่ิมจาก มะหรือจา หมอสะเดียง หมอสะดำ ครูบาและ ครูบาใหญ่ ซึ่งอยู่ลำดับสงู สดุ มีอำนาจในการตดั สินใจทุกอย่าง หมู่บา้ น ตากลางเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว เม่ือมีนักท่องเท่ียวเข้ามาชมช้าง ชมวิถีชีวิต ชาวบ้าน แทนที่นักท่องเท่ียวจะเที่ยวชมอย่างเดียว ต้องการให้มีของที่ ระลึกติดไม้ติดมือไปด้วย ผลิตภัณฑ์จากช้าง ภาพวาดเล่าเร่ืองวิถีชีวิต ของคน ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่าน้ีเกิดข้ึนมานานแล้ว เพียงไม่ได้รับการ สนับสนุน พอเกิดการท่องเท่ียว ก็เลยดึงผลิตภัณฑ์ขึ้นมาเพราะเป็น สญั ลกั ษณ์ของชุมชน วถิ ชี มุ ชนเกย่ี วกับช้างอยแู่ ล้ว

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถ่นิ สูก่ ารสร้างรายไดข้ องผู้สูงอายุ 23

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

หน่วยงานที่เข้ามาตั้งแต่เร่ิมแรก คือ หน่วยงานของธนาคาร เพ่ือการเกษตร(ธกส.) เข้ามาสนับสนุนการค้าขาย มาประชาสัมพันธ์ การท่องเท่ียว อันดับต่อมาเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสุรินทร์ (มทร.) เข้ามาทำเก่ียวกับการท่องเที่ยวโฮมสเตย์ แหล่งเรียนรู้ให้กับหน่วยงานอื่นเข้ามาศึกษากระบวนการผลิตต้ังแต่ เร่ิมต้น จนถึงข้ันตอนท่ีเป็นผลิตภัณฑ์จากช้างและตะขอพร้อมใช้งาน พร้อมจำหน่ายบางท่ี มีหน่วยงานอน่ื ท่เี ก่ียวกบั การสง่ เสริมอาชีพ เพื่อ มาจัดอบรมดงู านกลุ่มดูแลเร่ืองอาหารท่พี กั พรอ้ มถา่ ยทอดความร้ใู หไ้ ด้

นายประดิษฐ์ ศาลางาม สมาชิกชุมชนท่องเที่ยวบ้านช้างตากลาง และประธานกลุ่มผลิตภัณฑ์จากช้างและเชือกปะกำ เล่าถึงลำดับชั้น ของหมอช้าง ต่อด้วยเร่ืองเชือกปะกำบ่วงบาศสำหรับคล้องขาเพ่ือ จับช้าง ฟั่นจากหนังควายตากแห้ง ต้องใช้หนังควาย 3 ตัวต่อเชือก ปะกำหน่ึงเส้น อาจเป็นตัวเมียสองตัวผู้หนึ่ง หรือตัวผู้สองตัวเมียหนึ่ง ห้ามใช้เฉพาะตัวผู้หรือตัวเมียอย่างเดียว ชาวกวยเชื่อว่าวิญญาณ บรรพบุรุษ หรือผีปะกำจะมาสิงสถิตอยู่ในเชือก ห้ามผู้หญิงจับหรือ สัมผัสโดยเด็ดขาด ต้องมีศาลปะกำเพ่ือเก็บรักษา ประกอบพิธีต่างๆ ใ ช้ ก ระ ดู ก ค า ง ไ ก่ ต้ ม ท่ี น ำ ม า เป็ น เค รื่ อ ง เซ่ น ใ น แ ท บ ทุ ก พิ ธี ก รร ม เป็นเคร่ืองเส่ียงทาย หากกระดูกโค้งสวยงามหมายถึงส่ิงน้ันจะสำเร็จ แตถ่ า้ บดิ งอผิดรปู จะพบอปุ สรรคควรงดหรือพักไวก้ ่อน

สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถิน่ สู่การสรา้ งรายไดข้ องผู้สงู อายุ 24

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ผลติ ภัณฑจ์ ากช้างและเชือกประกำ ประกอบดว้ ย 1. เคร่ืองประดบั สร้อยคอ แหวน กำไร ตา่ งหู 2. พระพทุ ธรปู แกะสลักจากงาชา้ ง และฟันช้าง 3. พวงกุญแจ จากหางชา้ ง และตะขอ 4. ตะขอช้าง 5. ภาพวาดจากมูลชา้ ง 6. ผา้ ไหม 1.เคร่ืองประดับ สร้อยคอ แหวน กำไล ต่างหู ผลิตภัณฑ์จากช้าง คนไทยส่วนใหญ่มีความเชื่อว่า ช้างเป็นสัตว์ใหญ่ท่ีแสดงถึงอำนาจ คนโบราณเช่ือว่าผู้ที่มี กำไลหางช้าง หรือ หางช้างไว้ติดตัว หรือ สวมใส่ จะปลอดภัยแคล้วคลาดจากภัยอันตรายต่างๆ ไม่ว่าจะเดินทางไปหนแห่งใด หรือแม้กระทั่งเวลาท่ีต้องเดินทางท่องเท่ียว เดินป่า เข้าป่า สัตว์ร้าย ต่างๆ ก็จะไม่เข้ามาใกล้ อีกท้ังยังมีความหมายในเรื่องของอำนาจอีกด้วย หางช้าง จึงจัดได้ว่าเป็นเครื่องรางท่ีนิยมมาต้ังแต่สมัยโบราณ เคร่ืองรางที่ทำจาก ขนหางช้าง เชื่อกันว่า สามารถป้องกันคุณไสยได้ เกือบทุกชนิด จึงมีผู้นิยมนำมาทำเป็นเคร่ืองประดับ อย่างเช่น แหวนหางช้าง กำไลหางช้างเพ่ือเป็นเคร่ืองประดับใส่ติดตัว แต่บางคนก็พกแบบขนหางช้าง ติดตัวไวเ้ ลย โดยใส่กรอบตะกรดุ ไว้ เพราะถือวา่ มคี วามขลังอย่ใู นตวั อยู่แลว้ ทำไมตอ้ ง เปน็ งา, กระดกู , หนงั , รก, ขนหาง 1.งา เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธ์ิและความเป็นมงคล มคี วามหมายถงึ พลังอำนาจเพ่มิ ขนึ้ ในตวั ของผ้ทู ค่ี รอบครองเปน็ เจ้าของ ช่วยให้ฟันฝ่าอุปสรรค และมีชัยเหนือศัตรู วิธีรับพลังจากงาสวม เครือ่ งประดับทีท่ ำจากงาชา้ ง หรอื พกพาในรูปของเครอื่ งราง

สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถน่ิ สูก่ ารสร้างรายได้ของผ้สู งู อายุ 25

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

2.กระดูก ความเชื่อมานับพันปีของคนจีนเรื่องกระดูกช้างดำ งาช้างดำใช้ช่วยปรับสมดุลของร่างกายได้ยอดเย่ียม มีพลังเย็น มีพลังช่วย ขจัดปัดเป่าส่ิงช่ัวร้ายอัปมงคลออกจากตัว ช่วยในการปรับสมดุลของ ร่างกายจะปรบั โดยอัตโนมัติ จึงเป็นยอดมหาบำบัดสำหรับชาวจีนและ ใช้เป็นสัญลักษณ์แห่งโชคลาภเสริมอำนาจวาสนาให้สูงส่งใหญ่โต ป้องกันส่ิงอัปมงคลเสนียดจัญไรท้ังหลาย ควรค่าแก่การเสาะแสวงหา แลเมื่อนำมาแกะเป็นองค์พระด้วยแล้วอานุภาพสูงส่งยิ่งขึ้น ใช้ได้ ครอบจักรวาลเป็นมหาสริ ิมงคล จะมีแตค่ วามเจรญิ รงุ่ เรืองตลอดไป

3.หนังช้าง ปะกำช้าง ป้องกันคุณไสย์ ลมเพลมพัด เวลาเดินป่า ให้ติดท่ีเข็มขัดไปด้วย พระธุดงค์ คนเดินป่า ฤาษี จะมีไว้ทุกคน ถือเป็น ของมงคลอาถรรพ์ เป็นเครอ่ื งรางชนิดหนึ่งท่ที ำมาจากหนงั ช้างสมัยก่อน หมอควาญช้างจะนำหนังช้างมาคว่ันเป็นรูปวงกลมและทำพิธีเพ่ือนำไป คล้องช้างป่าท่ีเรียกว่า ช้างจับช้าง ซึ่งเป็นพิธีกรรมที่ทำได้ยากมาก และนำมา ตัดเป็นชิ้นเล็กๆ เป็นเครื่องรางของขลังพุทธคุณไว้สำหรับป้องกันสัตว์ ร้ายต่างๆ และอาถรรพ์ตามป่าเขา-ภูตผีปีศาจและคุณไสยต่างๆ และ ยังมีด้านเมตตามหานิยมอีกด้วยเป็นเคร่ืองรางท่ีหายาก และนับเป็น ของแปลกอกี ชิน้ หนงึ่ ทีน่ า่ มไี วต้ ิดตัว

4.รกช้าง เป็น "ของมหัศจรรย์" ประเภทหน่ึง ท่ีจัดอยู่ใน ประเภท "ของขลัง" ที่เกิดขึ้นตาม "ธรรมชาติ" จากสัตว์ (กล่าวคือ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้าง หรือ ประดิษฐ์ข้ึนมา) ซึ่งคนโบราณ หรือ ผู้เฒ่าผู้แก่เช่ือกันว่า ผู้ใดได้ครอบครองหรือพกพา "รกช้าง" ไว้ "รกชา้ ง" จะบันดาลโชคลาภขน้ั สงู เรียกโชค เรียกลาภ และยังสามารถ เร่งโชค เร่งลาภ เข้ามาสู่ตัวผู้ครอบครอง หรือ ผู้พกพาอย่างน่า

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถน่ิ สู่การสรา้ งรายได้ของผสู้ ูงอายุ 26

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

อัศจรรย์ใจเป็นย่ิงนัก มีไว้ไม่มีคำว่า "จน" เงินทองจะไหลมาเทมาเป็น ระยะๆ ไมข่ าดสาย

5.หาง คนโบราณเชื่อว่า ช้างเป็นสัตว์ใหญ่ที่แสดงถึงอำนาจ ผู้ท่ีมีหางช้างพกติดตัวจะปลอดภัยแคล้วคลาดจากอันตรายต่างๆ เวลาท่ีต้องเข้าป่าและยังมีความหมายในแง่ของอำนาจ จัดเป็น เครอ่ื งรางอีกอย่างท่ีนิยมกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ

นอกจากนี้แล้วยังมีความเช่ือหน่ึงท่ีน่าสนใจ คือ สำหรับชาว เหมอะโหน่งซึ่งเป็นชนชาติส่วนน้อยในเขตภาคกลางเวียดนาม เช่ือว่า ขนหางช้าง เป็นสัญลักษณ์ของความรักและความภักดี หนุ่มๆ สาวๆ มักจะมอบใหแ้ ก่กนั เปน็ การแสดงออกซงึ่ ความรกั

ความเชอ่ื เก่ยี วกับหางชา้ ง คนโบราณสมัยก่อนที่ไม่ได้มีวิชาอาคมติดตัว มักจะพก ขนหางช้าง ไว้ติดตัวอยู่เสมอ ถือเป็นเคร่ืองรางของขลังปัดเป่ารังควานจากภูตผี ปีศาจ และ สัตว์ร้ายช่วยป้องกันคุณไสยต่างๆ ป้องกันภัยอันตรายใน ยามทตี่ อ้ งเดินทางไกล คนโบราณสมัยกอ่ นยังเชอื่ อีกว่า ถ้าบูชาขนหาง ช้างดีจะทำให้สามารถหย่ังรู้กาลล่วงหน้า รู้ภัยอันตรายต่างๆ ล่วงหน้าด้วย มีสัมผัสที่หก และสามารถปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกดิ เหตกุ ารณ์นั้นข้นึ ได้ หางช้าง แบง่ ได้เปน็ 2 ประเภท คือ 1. หางชา้ งสีดำ 2. หางช้างสีขาว (บางท่านเรียกว่า ขนหางแก้ว ขนหางดอก ขนหางช้างเผือก) ขนหางช้าง สขี าว ถือวา่ เปน็ ของหายากคลา้ ยกับงากำจัดกำจาย ซ่ึงมคี วามเชอ่ื วา่ เป็นของแรงมีอานภุ าพทวีคณู มากกว่าขนหางช้างสีดำ

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมท้องถ่ินสกู่ ารสร้างรายได้ของผู้สูงอายุ 27

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

รูปแบบของการถกั แหวนหางช้างนัน้ มหี ลายแบบ แหวนบางแบบ ทำแบบเดี่ยว, แบบปลอกห้า, แบบปลอกเก้า ทุกแบบมีความสวยงามเฉพาะตัว ขึ้นอยู่กับความชอบของผู้สวมใส่ แหวนจะมีลักษณะเฉพาะตัวซึ่งหาไม่ได้จากวัสดุอื่นๆ มีความสวยงาม ทนทาน ช่วยเสริมบุคลิกท่ีดีให้แก่ผู้สวมใส่ บาง ท่านอาจจะมองเห็น งานฝีมือท่ีมาจากธรรมชาติซ่ึงนับวันจะหาได้ยากมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากจะเป็นท่ีนิยมของคนไทยแล้วยังเป็นท่ีนิยมของประเทศเพื่อนบ้าน ใกล้เคียงกันด้วย หลายๆ คนคงมีคำถามว่าขนหางช้างท่ีนำมาถัก เป็นแหวนน้ันมาจากส่วนไหนของช้าง จริงๆ ขนหางชา้ งนั้นก็มาจากขน บริเวณของหางช้างจะนำมาถักได้ 2 แบบคือ ขนหางช้างที่มีการหลุดออก กับทำการตัดขนหางช้างออก สำหรับช้างท่ีจะทำการตัดหางได้น้ันช้าง ต้องมีอายุ 5 ปีข้ึนไปและจะทำการได้ทกุ ๆ 1 ปีเท่าน้ันจะเห็นว่าขนหาง ช้างนัน้ หายากพอสมควรและยงั ต้องเป็นช้างไทยดว้ ย

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวตั กรรมภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ สกู่ ารสรา้ งรายได้ของผสู้ ูงอายุ 28

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ขน้ั ตอนการทำแหวนหางชา้ ง 1.นำหางช้างที่จะถักไปแช่ในน้ำเปล่าเป็นเวลา 5 - 10 นาที กอ่ นเพอื่ ใหห้ างช้างอ่อนและดดั ไดง้ ่ายข้ึน 2.นำหางชา้ งมาพันรอบนวิ้ เพอื่ กำหนดเปน็ วงกลม 3.พอขน้ึ รูปเสรจ็ มายืดใสไ่ มแ้ ล้วตดั ส่วนทไี่ มต่ ้องการออก 4.สอดสลบั หางชา้ งไปมาตามลายท่ีต้องการ แล้วจงึ ทำหวั แหวน 5.วดั ขนาดของแหวนด้วยที่วัดขนาดแหวนและดัดให้กลม 6.ตัดส่วนที่ไม่ต้องการออกเม่ือเสร็จจากการขึ้นลายแหวนแล้ว ใชก้ าวตดิ ใหแ้ น่น 7.ทาน้ำมนั มะกอกท่แี หวนหางช้างเพือ่ ใหค้ วามสวยงามและคงทน

กำไลหางช้างเป็นส่ิงมงคลหรือเครื่องรางของขลัง อีกอย่างท่ี ชาวกวยเล้ียงช้างให้ความเคารพ ศรัทธา และ เช่ือว่าจะเสริมสร้าง บารมีและเสริมสิริมงคลให้กับผู้ที่สวมใส่มีไว้ในครอบครอง โดยเฉพาะ การปดั เป่าส่ิงชวั่ รา้ ย ปัดรงั ควาน และส่งิ ไม่ดไี ม่ให้เขา้ มาใกล้ตวั

กำไลหางช้าง กำไลหางช้างเครื่องราง เสริมมงคลบารมี ปัดเป่าส่ิงช่ัวร้าย ตามความเช่อื มาแต่โบราณ หางช้าง สีขาว มีอำนาจในการป้องกัน ปกป้องสิ่งชั่วร้าย เสริมสร้างบารมี ให้แกผ่ ้ทู ี่สวมใส่ หรือ พกตดิ ตัว

สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินสกู่ ารสร้างรายได้ของผู้สูงอายุ 29

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

กำไลหางช้างสีขาว หากใครมีไว้ก็จะเป็นเครื่องปัดเป่าความชั่วร้าย ให้ออกไปจากครอบครัวและตัวเอง เป็นส่ิงท่ีเสริมบารมีและเป็นสิริมงคล ซ่ึงเป็นความเชื่อเร่ืองขนหางช้าง เพราะช้างเป็นสัตว์ใหญ่มีบารมีมาก เป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองกับกษัตริย์มาทุกยุคทุกสมัย พฤติกรรมของช้าง จะใช้หางในการปัดเป่า สบัดไปที่ต่างๆ ในท่ีมีแมลงหรือสัตว์ร้ายมากัด หรือมาใกล้ตัวให้หนีห่างออกไป จึงเป็นความเชื่อที่สืบต่อกันมาว่าผู้ท่ีมี กำไลหางช้างไว้ในครอบครอง เป็นผู้มีบารมี ไม่มีส่ิงใดมาทำร้ายได้ ตามความเชอ่ื ของคนโบราณนั้นแล

ขั้นตอนการทำกำไลหางชา้ ง 1.นำสายไฟมาดัดให้เปน็ วงรอบเท่ากับขนาดแขนท่ีต้องการ 2.จัดหางแซมหางให้สวยและเสมอกนั และยาวพอไดข้ นาด 3.มดั ใหเ้ ปน็ ลายให้สวยงามแล้วใช้ยางยดื รดั อย่าใหเ้ ห็นสายไฟ 4.ทำให้สุดสายไฟแล้วติดกาว ส่วนปลายกำไลจะมุกตรงปลาย ใหส้ วยงามหรืออยา่ งอนื่ ตามความสวยงาม

สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ส่กู ารสรา้ งรายไดข้ องผูส้ ูงอายุ 30

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

พระแกะสลัก ข้ันตอนการทำพระแกะสลักจากงาชา้ งหรือกระดกู ชา้ ง 1.วาดแบบร่างด้วยดนิ สอหรอื ปากกาบนกระดกู หรืองาชา้ ง 2.ขน้ึ รปู ช้นิ งานโดยดอกแกะ แกะไปเร่ือยๆ 3.แกะตามแบบไปเล่ือยๆจนเสรจ็ 4.ขดั เกบ็ รายละเอยี ดใหส้ วยงาม

พวงกญุ แจจากหางช้างและตะขอ 1.นำหางช้างมาเรียงให้สวยงานปลายอาจจะเท่าหรือไม่เท่ากันได้ เพ่อื ให้เกดิ ความสวยงาน 2.ตดั สว่ นทมี่ ดั ไว้ใหเ้ ท่ากันทากาวใหแ้ นแ่ ลว้ ล็อคใสท่ คี่ ล้องกญุ แจ

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ สู่การสรา้ งรายไดข้ องผูส้ งู อายุ 31

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ตะขอช้าง คชกุศ หรือ ตะขอช้าง เชื่อกันอาถรรพ์ เป็นของขลัง สะกด อาคม คชกุศ เป็นของ ศักดิ์สิทธิ์ท่ีนับถือกันในหมู่ ผู้ศึกษาพระเวทย์ ท่ีรู้ลึกรู้จริงว่า เป็นของมงคลที่หาได้ยากยิ่งและมีอานุภาพสูงหลาย ประการคือ เป็นของโภคทรัพย์ จากการเป็นของอ หมายถึงการเกี่ยว การเหน่ยี วร้งั ไว้ อีกประการคำว่าขอก็คอื ได้ เป็นคำมงคล หากนำมาไว้ ท่ีบ้านยังเป็นของคุมอาถรรพ์ด้วยเช่ือว่า มีอานุภาพ บังคับทุกส่ิง ให้เปน็ ไปในทางดี หากผู้มวี ิทยาคณุ อืน่ จะมาลองวิชาก็มักแพภ้ ัยตวั เองไป เพราะอำนาจ เหล็กคชกุศสะกดอาคมไว้มิให้แสดงฤทธิ์ได้นั่นเอง รวมถึงดีในทางควบคุมคนใหอ้ ยใู่ นอำนาจด้วย กระบวนการทำตะขอ ไม้ท่ีเอามาทำต้องเป็นไม้จากป่าลึกท่ีมีเถาวัลย์พัน ไม้ท่ีมี เถาวัลย์ลัดเข้าในเนื้อไม้จะพบมากในป่าดงดิบหาได้ยากเม่ือเปิดแปลง หมู่บ้านแหล่งท่องเที่ยวการทำตะขอช้างก็มีนักท่องเที่ยวสนใจเป็น จำนวนมากทำใหม้ ีการใช้ไม้ในปริมาณมากจึงต้องหาตามป่าชุมชนตาม หัวไร่ปลายนาไม้ ไม่ว่าจะเป็น ไม้สแก ไม้พังงาหรือไม้ชนิดอ่ืนๆ ที่มี เถาวัลย์รัดในเน้ือไม้ ต้องเป็นไม้ท่ีมีเนื้อแข็งแต่ถ้าเอาไปทำเป็นของ ที่ระลึกไม่จำเป็นต้องเป็นไม้เน้ือแข็งก็ได้ แต่ถ้าสำหรับไม้ที่ต้องใช้กับช้าง ต้องเปน็ ไมเ้ นอื้ แขง็ เท่านัน้ เช่นตน้ เหมอื ดแอ ไมพ้ ลองคอ่ นขา้ งจะหายาก มีการนำวิธีการเลือกไม้ในการทำตะขอส่งต่อกันมานานแล้ว ไม้ที่มีเถาวัลย์รัดนั้นแสดงถึงไม่ท่ีมีเทวดาปกปักรักษาอยู่ และเถาวัลย์ สว่ นใหญ่จะเวียนซ้าย แต่ถ้ามีเถาวัลย์เวียนขวา จะเป็นของหายากและ มคี วามศักด์ิสิทธ์ิมาก เพราะเช่ือว่ามีเทวาอารกั ษ์

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมท้องถ่นิ สู่การสร้างรายได้ของผสู้ งู อายุ 32

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ข้นั ตอนการทำตะขอ 1. หาไม้หรอื เถาวลั ยม์ าเผาไฟจนไหมเ้ พือ่ งา่ ยตอ่ การลอกเปลอื ก 2.ทำความสะอาดด้ามไมด้ ว้ ยกระดาษทรายหรือเคร่อื งขัด 3.ร่างแบบตะขอบนเหล็กแผ่นหรือเหล็กเส้นแล้วตีขึ้นรูป เป็นตะขอเหล็กก่อนประกอบให้เป็นรปู ตะขอแล้วขดั เข้ารูปให้เรียบร้อย ก่อนประกอบตะขอเข้ากบั ด้ามไม้ ควรทาน้ำยาให้เกิดความเงางาม 4.ประกอบตะขอเขา้ กบั ดา้ มไม้ 5.ทำพธิ ีปลกุ เสก การทำตะขอที่บ้านตากลาง ตำบลกระโพ อำเภออท่าตูม จงั หวดั สรุ ินทรม์ ีทง้ั แบบด้ังเดิมและผลติ แบบใช้เคร่อื งทุ่นแรงเพื่อให้ทัน ต่อความต้องการของตลาด

สำนกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถิน่ สกู่ ารสร้างรายไดข้ องผูส้ ูงอายุ 33

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ภาพวาดจากมูลช้าง มูลช้างยังถูกนำมาแปรรูปเป็นกระดาษ ซึ่งมีฐานการเรียนรู้ อยู่ภายในหมู่บ้าน หากสนใจงานศิลปะ มีภาพวาดจากศิลปินท้องถิ่น ให้ชมและซื้อกลับไปสะสม สัมผัสความน่ารักของช้างที่ศูนย์คชศึกษา ซ่ึงมีการแสดงต่างๆ ทุกวันและกำลังดำเนินการก่อสร้างโครงการ SURIN ELEPHANT WORLD เป็นท้ังแหล่งท่องเท่ียว พิพิธภัณฑ์ที่ สามารถศกึ ษาเรยี นรู้วถิ ชี ีวติ ชาวกวยและชา้ ง เปน็ การจัดพ้ืนทีใ่ นการนำ ชา้ งกลบั บ้านเกิด อยา่ งถาวร ไม่ต้องออกไปเดินเร่ร่อนในเมอื งใหญ่ กระดาษมูลช้าง หมายถึง ผลิตภัณฑ์กระดาษชนิดหนึ่งที่ผลิตได้ จากมูลช้าง มีลักษณะเป็นแผ่นคล้ายกับกระดาษสา มีท้ังชนิดบาง ที่โปร่งแสงและหนาทึบ แผ่นกระดาษมีเส้นใยบนแผ่น สามารถย้อม ใหเ้ กิดสสี นั ตามต้องการได้ ช้าง 1 เชอื ก ใน 1 วันจะกนิ อาหารกว่า 200 กโิ ลกรมั อาหารที่ กินมีท้ังหญ้า ต้นกล้วยไผ่ อ้อย ผลไม้ และพืชอีกหลายชนิด และใน 1 วัน ช้าง 1 เชอื ก จะถา่ ยมลู ออกมาวนั ละกวา่ 50-60 กิโลกรัม

การใช้ประโยชนก์ ระดาษมลู ชา้ ง การทำกระดาษมูลชา้ งนอกจากเป็นการกำจัดมลู ช้างได้โดยตรงแลว้ ท่ี ส ำคั ญ เป็ น ก ารส ร้ างผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี ได้ จ าก ข อ งเสี ย ให้ เกิ ด มี มู ล ค่ า ช่วยสร้างรายได้ให้แก่ศูนย์เลี้ยงช้างหรือผู้เล้ียงช้าง และช่วยสร้าง แรงงานแก่คนในท้องถ่ิน อีกท้ังช่วยส่งเสริมการท่องเท่ียวได้อีกด้วย ก ระ ด าษ มู ล ช้ าง มี ลั ก ษ ณ ะ เป็ น แ ผ่ น บ าง ห รื อ อ าจ เป็ น แ ผ่ น ห น า แต่มีจุดเด่น เมื่อเทียบกับกระดาษธรรมชาติชนิดอื่น คือเย่ือมีความ ละเอียดสูง มีเส้นใยแทรกบนแผ่นกระดาษน้อย แผ่นกระดาษมี

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นส่กู ารสรา้ งรายไดข้ องผสู้ งู อายุ 34

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ความราบเรียบ สามารถท่ีจะสร้างสรรค์ให้เกิดสีสวยงาม ก่อให้เกิด ผลิตภัณฑจ์ ากกระดาษมลู ชา้ งท่หี ลากหลาย

ขั้นตอนการผลติ กระดาษมลู ชา้ ง 1. การหมักมลู ชา้ ง

1.1 นำมูลช้างลงหมักในบ่อหมัก โดยใช้น้ำ 1,000 ลิตร ต่อมลู ช้าง 700 กโิ ลกรัม

1.2 เติมกากน้ำตาล 1 กิโลกรัมครึ่ง ลงในบ่อหมัก ร่วมกับ EM หรือ พด.2 จำนวน 5-10 ซอง โดยละลายน้ำจำนวน 10 ลิตร เทลงผสมรว่ ม จากนัน้ กวนมลู ช้างใหเ้ ขา้ กันกบั กากน้ำตาล แลว้ ทง้ิ ไว้ 5-10 วนั

1.3 เมื่อครบกำหนด ให้ตักมูลช้างข้ึนมาด้วยตะแกรง กองรวมกัน จากน้ันทำการล้างทำความสะอาดเพื่อแยกกรวดหินหรือ ดนิ ออกโดยการแช่ในน้ำ 1 คืน ก่อนตกั มลู ช้างออก

2. การต้มเยื่อมลู ช้าง การตม้ เย่อื มูลชา้ งทำได้ 2 วิธี คือ 2.1 การต้มเยื่อด้วยข้ีเถ้า การต้มเย่ือด้วยขี้เถ้า เป็นวิธีต้ม

เย่ือตามภูมิปัญญาชาวบ้าน โดยใช้ข้ีเถ้าจากการเผาถ่านหรือเผาไหม้ ชนิดใดก็ได้ ด้วยการนำมูลช้างผสมกับข้ีเถ้าในถังต้มเย่ือ โดยการเติมน้ำ ให้ท่วมมูลช้าง ก่อนต้มเย่ือด้วยน้ำเดือดนาน 3-6 ช่ัวโมง อัตราส่วน การใช้ขี้เถ้าต่อมูลช้างท่ี 10 กิโลกรัม ต่อมูลช้าง 100 กิโลกรัม หรือ ยิ่งมากกว่ายงิ่ ดี ท้ังน้กี ารตม้ เย่ือด้วยขเี้ ถ้าไม่สามารถควบคุมเวลา หรือ ปริมาณการใช้ที่แน่นอนไม่ได้ เนื่องจากข้ีเถ้ามาจากหลายแหล่งของไม้ และคุณสมบตั ิขี้เถ้าเอง ในปัจจบุ ันจงึ ไมน่ ิยมใชข้ ีเ้ ถ้าต้มเยื่อ

สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวตั กรรมภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ สูก่ ารสรา้ งรายได้ของผู้สงู อายุ 35

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

2.2 การต้มเย่ือด้วยโซดาไฟ (โซเดียมไฮดรอกไซด์) นำมลู ชา้ งทที่ ำความสะอาดแลว้ เข้าต้มในหม้อต้มเยอ่ื โดยใช้อัตราสว่ นน้ำ กับเยื่อที่ 70 ลิตรต่อเย่ือ 40 กิโลกรัม และใช้โซดาไฟจำนวน 1 กิโลกรัม ต่อเยื่อ 25 กิโลกรัม หรือใช้โซดาไฟที่ร้อยละ 10-15 กิโลกรัม ของน้ำหนักเย่อื แลว้ ทำการตม้ เยอ่ื นาน 2 ช่วั โมงซ่ึงจะไดเ้ ย่ือทเี่ ปอื่ ยยุ่ย

3. การตปี ่นั เยอื่ หรือทบุ เยือ่ การตีเยอ่ื หรอื การทุบเยอื่ ทำได้ 2 วิธี คือ 3.1 การตีเยื่อด้วยเคร่ืองตีเยื่อ นำเยื่อต้มมาตีป่ัน

ในเครื่องป่ันใย นาน 1-2 ช่ัวโมง ทำให้ได้เย่ือที่ละเอียดมากข้ึน ซ่ึงพร้อมจะเข้าแบบทำแผ่นกระดาษได้ ซงึ่ จะไดก้ ระดาษที่มีสธี รรมชาติ ตามเย่ือหลังการต้ม แต่หากต้องการให้เย่ือมีสีขาวเพ่ือทำกระดาษสีขาว หรอื นำเขา้ ส่กู ารย้อมสีจะต้องทำการฟอกสีเสียก่อน

3.2 การทุบเยื่อ เป็นวิธีด้ังเดิมท่ีใช้แรงงานคนในการตี ทุบให้เยื่อแหลกละเอียด โดยนำเย่ือใส่ห่อผ้า ก่อนใช้ไม้ตีทุบนาน 1-2 ชั่วโมง จนได้เย่ือแหลกพอประมาณ ก่อนจะนำเย่ือเข้าสู่การทำแผ่น หรือการฟอกสีต่อไป ทั้งน้ี วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน เนื่องจาก มีการใช้เครื่องจักรมาแทนที่ด้วยเคร่ืองตีเยื่อ และไม่สามารถทำให้ เย่ือแหลกละเอียดพอ

4. การฟอกสี เมื่อต้มเย่ือได้ตามกำหนดเวลาแล้ว ขั้นตอนต่อไป

หากต้องการฟอกสี ให้นำเยอ่ื ต้มแลว้ ใส่ถงั เพื่อทำการต้มฟอกสี โดยใช้ สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ร่วมกับโซเดียมซิลิเกตเติมในถังฟอกสี ในอัตราส่วน ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 1 กิโลกรัม/น้ำ 100 ลิตร และ โซเดียมซลิ เิ กต ครงึ่ กิโลกรมั /นำ้ 100 ลิตร ส่วนอุณหภูมจิ ะใช้อณุ หภมู ิ

สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถน่ิ ส่กู ารสร้างรายได้ของผ้สู ูงอายุ 36

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ในช่วงท่ีน้ำไม่เดือด คือ ประมาณ 70 องศาเซลเซียส และทำการต้ม ฟอกสีนาน 30-60 นาที

5. การทำแผ่นกระดาษ และลอกแผ่น การทำแผ่นกระดาษ ทำได้ 2 วธิ ี คอื 5.1 การตั กช้อน ด้ วยต ะแกรง น ำต ะแกรงท ำ

แผ่นกระดาษช้อนตักเยื่อ โดยทำการกวนเยื่อให้ฟุ้งกระจายก่อน จากน้ัน ให้รีบนำตะแกรงลงช้อนเยื่อให้ตกลงบนตะแกรง ซ่ึงกะประมาณ ความหนาบางตามต้องการ ก่อนยกตะแกรงขึ้นเพ่ือให้น้ำสะเด็ดออก จากนน้ั นำแตะแกรงไปตากแดดให้แหง้

5.2 การแตะเยื่อบนตะแกรง การแตะเยื่อเป็นวิธีทำ แผ่นกระดาษท่ีไม่ต้องนำตะแกรงลงช้อนตักเยื่อ แต่จะนำเยื่อมาปั้นเป็นก้อน แล้วช่ังน้ำหนัก เช่น ก้อนละ 200 กรัม หรือมากกว่า ตามความหนาบาง ของแผ่นกระดาษที่ต้องการ จากน้ัน นำตะแกรงลงจุ่มในน้ำให้น้ำท่วม จนถงึ ขอบตะแกรง ก่อนนำก้อนเยือ่ วางบนแผ่นตะแกรง แลว้ ใชม้ อื หรือ ไมเ้ กลยี่ เยื่อใหท้ ั่วตะแกรง กอ่ นยกตะแกรงให้น้ำออกจนสะเดด็ จากน้ัน นำตะแกรงไปวางตากให้แหง้

6. การลอกแผ่นกระดาษมูลช้างเมื่อตากแผ่นกระดาษมูลช้าง จนแห้งทั่วแผน่ แลว้ จึงทำการลอกแผ่นกระดาษออก โดยใหเ้ ร่ิมลอกจาก มุมด้านใดด้านหน่งึ ซึ่งเปน็ มุมดา้ นหา่ งจากลำตัว แล้วดึงลอกเข้ามาหา ดา้ นใกล้ลำตวั

สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ สู่การสรา้ งรายไดข้ องผู้สูงอายุ 37

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ผ้าไหม ในชีวิตประจำวัน ผู้หญิงสูงอายุชาวกวยส่วนใหญ่จะนุ่งผ้า ท่ีมีลายเป็นแบบเฉพาะของชาวกวย และใส่เส้ือคอกระเช้าธรรมดา บางคนก็ใส่เสื้อแบบชาวบ้านท่ัวๆไป เป็นท่ีน่าสังเกตว่าหญิงสูงอายุ มกั จะชอบใส่ดอกไม้หอมไว้ที่ต่ิงหูท่ีเจาะไว้ เช่น ดอกมะลิ บางคนก็ซ้ือ ตุ้มหูเงินมาใส่ เป็นต้น “ธรรมเนียมด้ังเดิมของชาวกวยน้ันกำหนดว่า ลูกหลานจะต้องมีหน้าท่ีดูแลการแต่งกายของแม่โดยให้แม่ซ่ึงมีอายุมากแล้ว ได้นุ่งผ้า นุ่งไหม ลายพ้ืนเมือง บ้านใดที่ผู้สูงอายุนุ่งผ้าด้ายธรรมดา แสดงว่าลูกหลาน ขาดการเอาใจใส่ ไม่ช่วยรักษาศักดิ์ศรีของแม่”

สำนกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถ่ินสู่การสรา้ งรายไดข้ องผ้สู งู อายุ 38

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ผ้าไหมเป็นศิลปหัตถกรรมพ้นื บา้ นทีท่ อขน้ึ ใชเ้ องในครอบครัวเม่อื มีเวลา ว่างจากการทำนา แม่จะสอนให้ลูกสาวทอผ้าไหมเมื่อย่างเข้าวัยสาว เม่ือแต่งงานออกจากเรือนพ่อแม่ก็จะแบ่งผ้านุ่งไหม ผ้าโสร่ง ผ้าสไบ ให้เป็นมรดก รองจากมรดกประเภทอสังหาริมทรัพย์อ่ืน ๆ นอกจากนี้ พอ่ แม่ยังมอบเรือนพักอาศยั พร้อมก่ี หูกทอผ้า และอปุ กรณก์ ารทอไหม ให้แก่ลูกสาวคนสุดท้องอีกด้วย ในปัจจุบันการทอผ้าฝ้ายและผ้าไหม เริ่มลดน้อยลง ชาวกวยส่วนใหญ่นิยมที่จะซื้อด้ายจากตลาดมาทอ เพราะสะดวกกวา่ แบ่งออกเปน็ ประเภทตา่ งๆ ไดด้ ังนี้

1.ประเภทผ้านุ่ง ผ้านุ่งสตรี มักนิยมทอหม่ีคั่นเป็นทางแนวดิ่ง ใช้ไหมควบ ยืนพื้นสีน้ำตาลอมดำ มีหัวซิ่น ที่ยีนพื้นสีแดง ลายขิด ตีนซ่ินพ้ืนดำขนาด 2–3 นิ้ว มีริ้วสีขาวเหลืองแดง ผ้านุ่งแบ่งออก เป็น 4 ชนดิ คือ

ก.จิกกะน้อย เป็นผ้าที่มีลักษณะคล้ายผ้าหางกระรอกหรือ ผ้ากะเนียวของชาวไทยเขมร มีสีเดียวลักษณะจะออกเหลือบมัน เป็นผ้าสำหรับผู้ชายนุ่งในพิธีการสำคัญต่างๆ ลักษณะการนุ่งจะนุ่งพับ จับจีบด้านหน้า เหมือนการนุ่งโสร่งของกลุ่มชาวไทยเขมร นอกจากน้ี ยงั นำไปใชใ้ นการคลุมศพคนตาย

ข.โสร่ง เป็นผ้าตารางสี่เหล่ียมใหญ่ มีหลายสีในการทอผ้า จะนำเส้นไหมมา “กวี” หรือมาควบกัน 2 เส้นเพ่ือให้เกิดความมัน และหนาลักษณะการทอเหมือกับผา้ โสร่งของชาวไทยลาวหรอื เขมร

ค.จะวี เป็นผ้าที่มีลักษณะคล้ายผ้าอันลูซีมของชาวไทยเขมร จะมีลายทางยาวเป็นร่องเล็กๆเป็นผ้าท่ีผู้หญิงฝ่ายชายเพื่อไหว้ปู่ ย่า ผู้ท่ีเป็นสะใภ้จะต้องทออึมเปิล (หัวซิ่น)และเจิง (ตีนซ่ิน) มอบให้โดย ไม่ต้องเย็บกับจะกวีหรือผ้าถุง ในพิธีแต่งงานของชาวกูยจะต้องให้

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภูมิปญั ญาและวฒั นธรรมท้องถิน่ สกู่ ารสรา้ งรายได้ของผสู้ งู อายุ 39

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

เจา้ บ่าวเจา้ สาวถือ “เคียวเกี่ยวข้าว” อันเดยี วกัน ซึ่งเปน็ สัญลักษณข์ อง ความอดุ มสมบูรณ์ ความเกย่ี วพนั และอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสขุ

ง.จิกโฮล เป็นประเภทผ้ามัดหมี่ ลายต่างๆ จะเรียกว่า “จิกโฮล” การนุ่งผ้าประเภทนี้จะต้องต่อเจิง (ตีนซ่ิน) และอึมเปิล (หัวซิ่น) เซ่นเดยี วกับ จะวี

2.ประเภทผ้าสไบ ผ้าสไบที่ใช้พาดบ่าหรือเป็นผ้าเบ่ียงของ ชาวกวยจะทอเป็นผ้ายกดอกหรือยกเขา เรียกว่า “ตะกอ” ผ้าสไบท่ีมี ลกั ษณะการทอเช่นนีเ้ รยี กวา่ “ผา้ แก็บ” จะทอแล้วนำมาตดั เป็นตัวเส้ือ และผ้าสไบ ตัวเส้ือนิยมเป็นสีดำ โดยนำผ้าไหมท่ีทอเป็นสีขาวหรือ เหลืองตามลักษณะของไหม แล้วไปย้อมมะเกลือให้เป็นสีดำ ผู้ชายจะ ใช้ผ้าขาว 2 ผืน เป็นผ้าเบ่ียงในการแต่งกายออกงานพิธี ผู้หญิงใช้ผ้า ไหมยกดอกสีดำหรือสีขาวเป็นผ้าเบ่ียง เรียกว่า “สไบแวง” (สไบดำ) หรือ“สไบบัวะ” (สไบขาว) นอกจากนี้ยังมีผ้าสไบโพกหัว เรียกว่า “สไบเจียดตรุย” ทอด้วยฟืมสั้นขนาด 12 ล็อบ เก็บลายขิด 4 - 5 ลาย จัดระยะสวยและเป็นระบบ มีชายครุยทั้งสองข้างห้อยลูกปัดเล็กๆ เรียกว่า ปอนจุ๊ ใช้โพกศรีษะท้ังชายหญิง เวลาออกงาน เช่น การแห่บั้งไฟ งานบวชนาค

3.ประเภทหัวซ่นิ และตีนซิ่น ก.ประเภทหัวซ่ิน เรียกว่า อึมเปิล จะทอเป็นลายขิด

คล้ายของชาวไทยลาวซ่ึงใช้สำหรับต่อเป็นหัวซิ่น เวลานุ่งจะท้ิงชายลงมา ให้ห้อยเป็นพกไว้ใส่เงินหรือส่ิงของอย่างอ่ืนท่ีจำเป็น ผ้าคาดเอวของ ผู้ชาย จะทอเหมือนหัวซ่ินแต่มีความกว้างมากกว่า เช่น หัวซิ่นขนาดพ้ืน 4 - 5 ล็อบ แต่ผ้าคาดเอาใช้ขนาดฟืม 7 - 8 ล็อบ โดยยืนพ้ืนสีแดง เช่นกัน เก็บลาย (แกะเลีย) เป็นขิดเป็นระยะๆ วิธใี ช้จะทำผ้าซับในก่อน

สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นสกู่ ารสร้างรายไดข้ องผู้สูงอายุ 40

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

แล้วนำว่าน หรือเคร่ืองรางของขลังท่ีถือว่าเป็นของดีสำหรับป้องกัน อันตรายต่าง ๆ มาห่อด้วยผ้าผืนนี้แล้วใช้เขาวง (กวางหรือเก้ง) หรือ เถาวง (เถาวัลย์ของพืชบางชนิด)มามัดเป็นเปลาะ ห่างกันเป็นระยะไว้ คาดเอาเวลาจะออกไปจับช้างในป่า ซึ่งผู้ชายกวยถือว่าการมัดเป็นเปลาะ โดยเขาวงหรือเถาวงน้ันมีความหมายมาก เพราะเชื่อวา่ สิ่งท่ีเป็นวงกลม น้นั แทนความวงเวยี น เมื่อเห็นช้างและช้างเห็นตนแล้ว ก็จะวนกลับมา หาตนใหม่ ของดีท่ีใช้ป้องกันตัวน้ันคนไทยเขมรจะใช้คล้องคอแต่ชาว กวยจะใช้คาดเอว ผ้าคาดเอวจะแขวนไว้ท่ีสูงห้ามสตรีจับต้องการทำ ผ้าคาดเอวจากผ้าขิดหัวซิ่นของผู้หญิงนั้น ก็เพื่อเป็นส่ิงแทนตัวในยาม ห่างไกลจากบ้าน คำว่าหัวซ่ินก็เป็นของสูงและดี ฝ่ายชายจึงใช้ห่อ เครือ่ งลางของขลงั

ข. ประเภทตีนซิ่น มี 2 ชนิดคือ เจิง หรือ ยืง เป็นตีนซ่ินท่ี มีความกว้างประมาณ 2 น้ิว นิยมสีดำ โดยทอเป็นผ้าฝ้าย ริมขอบล่างสุด ใช้ไหมสีเหลอื ง แดง การนำเสน้ ไหมมาทอเป็นรมิ ของซ่ินอาจเปน็ เพราะ ไหมทนและเหนียวกว่า ส่วนการใช้ผ้าฝ้ายทอเป็นเชิงน้ันก็เพ่ือให้ผ้าซิ่น มีน้ำหนัก กระบูล เป็นตีนซิ่น ที่มีลายเป็นผ้ามัดหมี่เหมือนกะโบลของ ชาวไทยเขมร อาจเพราะรับเอาวัฒน ธรรมมาจากชาวไทยเขมร เพราะชาวกูยจะเรยี กผ้าท่ีมีลวดลายทงั้ หลายว่า ผ้าโฮล หรอื จกิ โฮล

ลักษณะการแต่งกายของชาวกวย จะมีความเป็นเอกลักษณ์ ผู้ชาย เส้ือผ้าก๊ิบสีดำ คอตั้งตรง แขนยาว โสร่งทำด้วยผ้าไหม ท่ีมา ของเส้ือชาวกวยมาจากคนในสมัยก่อนมีการปลูกหม่อน เล้ียงไหม นำเส้นไหมมาสาว ป่ัน ทอ เพ่ือให้เป็นผืนผ้า แล้วนำมาตัดเป็นตัวเส้ือต่างๆ ตามแบบหรือรูปทรงตามใจชอบ ปัจจุบันการแต่งกายในลักษณะ ดังกล่าวของชาวกวยยังคงมีปรากฏให้เห็นอยู่ในชุมชนบ้านกู่ ผู้เฒ่า

สำนกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมท้องถิ่นส่กู ารสร้างรายไดข้ องผ้สู ูงอายุ 41

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ผูแ้ ก่จะยงั คงแตง่ กายแบบเกา่ แต่คนรนุ่ หลัง โดยเฉพาะคนหนุ่มสาวจะ ไม่นิยมแตง่ และจะแต่งพรอ้ มเพรียงกันในงานบุญ ประเพณขี องชุมชน

สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมท้องถิ่นสู่การสรา้ งรายได้ของผสู้ งู อายุ 42

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

วิธี กระบวนการทอผา้ ไหม “เริ่มแรกเลย คือการเล้ยี งไหม ทำเปน็ เส้นไหม ย้อมสี แล้วเอา มาทอ สีที่ใช้ย้อม สีคร่ัง สีเข สีมะเกลือ สีเปลือกสะเดา สีแดงน้ี มาจากต้นฝาง สีม่วงมาจากเปลือกมังคุด โดยการนำเปลือกมาต้ม 1 ผืน ใช้เวลา 4 วัน ประมาณ 2 เมตร ถา้ เป็น ลายใช้เวลา 6 - 7 วัน ลายสว่ นใหญ่ ออกแบบกันเอง ตรงตีนซิ่น เรียกว่าลายตะขอ ภาษาเขมรเรียกว่า โฮล ยายทำมาต้งั แต่ร่นุ ตา-ยาย ส่วนผ้าพนั คอ ยาว 2 เมตรใช้เวลา 4 วัน

ไหมนี้เราเลี้ยงเอง เป็นสายพันธุ์พื้นบ้าน กระบวนการผลิต และสีท่ีใช้ก็เป็นวิธีการดั้งเดิม แต่มีการเปล่ียน แบบ และลวดลาย ให้เข้ากับยุคสมัยมากขึ้น รายได้เพิ่มขึ้น ตอนน้ีกลุ่มทอผ้า มีสมาชิก 30 คน เวลาไปแสดงสินค้าเม่ือขายได้ เจ้าของผ้าไหมท่ีทอก็ได้เงิน แต่ก็มีบางชิ้นที่ทำร่วมกัน ช่วงน้ีเป็นช่วงทำนา จึงยังไม่ได้ทอผ้า แต่ใบหม่อนออกมากจึงเร่งทำเส้นไหมไว้ก่อน เพราะฤดูร้อนต้นหม่อน จะไม่ค่อยมีใบ ตัวหม่อนใช้เวลาเลี้ยง ประมาณ 20 วัน เร่ิมต้ังแต่ วางไข่ เป็นตัว นอน2 นอน3 นอน4 ตื่นจากนอนนับไปอีก 7 วัน จงึ สุก ไว้อีก 2 คืน จึงนำมาตากแดด แล้วตัวหม่อนจึงกลายเป็นดักแด้

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4

นวตั กรรมภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถน่ิ สู่การสร้างรายไดข้ องผูส้ งู อายุ 43

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

เพราะถ้าเรานำไปตากแล้วจะเป็นตัวหนอน จึงต้องไว้อีก 2 คืน ถึงจะ เป็นดกั แด้ แลว้ เอามาสาวเป็นเสน้ ไหม การนอน2 นอน3 คือ เวลาท่ตี วั หนอนจะไม่กินใบหม่อนเลย จะนอนอย่างเดียว 2 วันเต็ม แล้วถึงกิน 1 วัน แล้วนอนต่ออีก 3 วัน ถึงมากินอีก 1 วนั จนครบ แล้วจึงนำไปไว้ในวง กดอีก 1 คืน จึงเอาออก จะเอาออกตอนสาย ถ้าเช้าเกินตัวจะนิ่มๆ ถ้ามีแดดตัวจะแข็งดี เอาออกง่าย วันไหนฝนตก อากาศคร้ึม ตัวจะเหนียว เอาออกยาก ทอี่ ่นื จะใช้กระดง้ แลว้ มีชอ่ งใหต้ วั ไหม แต่ของเรายังใชแ้ บบ โบราณ เป็นแบบก่ิงไม้ให้ตัวไหมอยู่ แล้วจึงปิดผ้าไว้ประมาณ 1 คืน แล้วเอา ออกมาใส่กระด้ง อีก 1-2 คืน แล้วจึงนำไปตากแดด จึงสาวไหมได้ กว่าจะเป็นเส้นไหมใช้เวลา 1 เดือน ถ้าโชคดีตัวไหมจะไม่เป็นไร แต่ถ้า โชคร้าย วันท่ี 7-8 ตัวไหมมันไม่เกาะก่ิงไม้ ก็ใช้ไม่ได้ ไม่ใช่จะได้ไหม ทกุ ครงั้ 18-20 กระดง้ บางที่ได้แค่ 10 กระดง้ แต่เวลาเก็บใบหมอ่ นใช้ เวลาทง้ั วนั สว่ นตัวดักแด้ ก็ขายในหมู่บา้ น”

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4

นวัตกรรมภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมท้องถิน่ สู่การสร้างรายไดข้ องผู้สงู อายุ 44

กลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

เรอื่ งเลา่ ประสบการณจ์ ากตวั แทนกลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ นายเพง็ อนิ ทร์ทอง ปราชญ์ชาวบา้ น กลา่ ววา่ การถ่ายทอด

สืบสานภูมิปัญญาท้องถ่นิ ถ่ายทอดให้กับเด็กรุ่นใหม่ว่า “ชมุ ชนของเรา แต่ด้ังเดิมเป็นชุมชนเลยี้ งช้าง ส่วนใหญ่ทุกบ้านจะเลีย้ งช้าง แต่เด๋ียวน้ี บางบ้านท่ีไม่มีช้างก็จริง แต่เด็กหนุ่มทุกคนสามารถจับช้างดูแลช้างได้ เพราะบางทีต้องไปช่วยดูแลช้างของเครือญาติ บ้านใกล้เรือนเคียง เวลาท่ีเขาไม่ว่าง สามารถออกไปดูแลแทน บางที่เป็นควาญรับจ้าง เม่ือก่อนเป็นคนเล้ียงช้าง แต่ทุกวันน้ีเป็นช้างเลี้ยงคน เพราะเม่ือก่อน เลี้ยงไว้ตามบรรพบุรุษเลี้ยงมาก็เลี้ยงต่อกันมาโดยอาหารช้างท่ีได้ ก็หาได้ในพ้ืนที่ แต่ทุกวันนี้ต้องปลูกหรือซ้ืออาหารมาเลี้ยงช้าง แ ล ะ ป ริ ม าณ อ าห ารที่ ช้ างกิ น ใน แ ต่ ล ะ วั น ใช้ ใน ป ริ ม าณ ม าก พื้ น ที่ ในการเล้ียงจำกัด จึงต้องมีการนำช้างออกไปเร่เพื่อหาอาหารและนำ ออกแสดงและโชว์ในงานต่างๆ เพ่ือให้มีรายได้มาจ่ายค่าอาหารให้ สำหรับช้าง เมื่อก่อนชาวบ้านตากลางใช้ภาษากวยในการติดต่อพูดคุย ในการเลี้ยงช้าง ช้างก็จะเข้าใจในภาษาท่ีพูด ทุกวันน้ีเปลี่ยนมาเป็น ภาษากลางพูดให้เข้าใจง่าย ช้างก็เข้าใจในภาษาและคำท่ีบอกให้ทำ เม่ือยุคสมัยเปล่ียนไปการใช้ภาษากวยในพ้ืนท่ีก็เร่ิมมีคนใช้น้อยลง รุ่นลูกยังพอเข้าใจภาษากวยที่พูด แต่รุ่นหลานๆเร่ิมเหลือแค่เข้าใจ คำศัพทง์ ่ายๆเท่านนั้ เพราะเวลาท่ีเด็กไปโรงเรียนภาษาที่ใช้ในโรงเรียน เป็นภาษากลาง เด็กเลยใช้ภาษากวยน้อยลง เพ่ือให้คนอื่นเข้าใจภาษา ทพี่ ูด ถ้าในพ้ืนทมี่ ีการอนรุ กั ษภ์ าษากวยไวก้ จ็ ะดีสำหรับคนรุ่นหลงั ”

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมท้องถิ่นสกู่ ารสรา้ งรายได้ของผ้สู ูงอายุ 45

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ตวั แทนกลมุ่ ผลติ ภณั ฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ 9 คน ให้ข้อมูล เก่ียวกับกลุ่มว่า มุมมองจากบุคคลภายนอกที่มองมาที่กลุ่ม “คนภายนอกชุมชนมองเห็นความเป็นอัตลักษณ์ของเรา มีเอกลักษณ์ ของผลิตภัณฑ์ จะมาอุดหนุนสินค้าเรา นอกจากจะป้องกันคุณไสย์ ป้องกันภูตผีปีศาลและเป็น 1 ใน 8 อย่าง ของศาสนาพราหมณ์ที่เขา นับถือ เป็นวตั ถุมงคล นอกจากเป็นของประดับตกแต่งแล้ว ยงั เปน็ ของ ขลัง ของที่ระลึก และยังใช้ได้จริงกบั ช้างอีกด้วย แตก่ ับบางกลมุ่ เขาจะ ไม่เห็นด้วยกับการใช้ตะขอกับช้าง จะมองว่าเป็นการทารุณกรรมสัตว์ เขาจะมาอีกรุปแบบหน่ึง อยู่ท่ีว่าชุมชนเราจะเอาใจตลาดแบบไหน ถ้าเราเอาใจตลาดที่มาเพื่อเที่ยว จะปลดตะขอ ปลดโซ่ แต่ใช้กับช้างท่ี ค่อนข้างเช่ือง ควบคุมได้ แต่ช้างที่ดุ ไม่สามารถผ่อนปรนได้จะต้อง ใช้โซ่ ใช้ตะขอ ซ่ึงกลุ่มนักทอ่ งเท่ียวจะเลือก ถ้าเข้ามาในพื้นทจ่ี ะพบกับ ส่วนฐาน 4 ฐาน ได้แก่ มีฐานวาดภาพ ฐานทำตะขอ ฐานผ้าไหม และ ฐานผลิตภัณฑ์จากช้าง ทุกฐานสามารถมีส่วนร่วมและเช่ือมโยงกัน และยังมีวัดป่าอาเจียง ซึ่งเป็นสุสานช้าง นอกจากมีการวาดภาพแล้ว ยังให้ทำกิจกรรมเข้าชมฐาน ให้วาดภาพเองหรือเป็นแบบให้เพื่อนใน กลุ่มวาด เนื่องจากช้างมีคุโนประการกบั ชุมชนเรา เม่ือช้างเกิด แก่ เจ็บ ตาย มีวัด สุสานให้ช้าง สวดอภิธรรม บังสุกุล แผ่เมตตา อุทิศส่วนกุศลให้แก่ ชา้ งเหมือนเป็นสมาชกิ คนหนง่ึ ในชุมชน เป็นเอกลกั ษณ์ของชมุ ชนอีกด้วย นอกจากมีช้างเป็นเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของชุมชนแล้ว ภาษาพูดยัง เป็นภาษากวยยังเป็นเอกลักษณ์ การแต่งกายเฉพาะ ผ้าไหมเป็นแบบ เฉพาะชาวกวยอกี ดว้ ย จะแตกต่างจากชาตพิ ันธ์อุ ่ืน สังเกตจาก ตีนซิ่น หัวซ่ิน จะไม่เหมือนชาติพันธ์ุอ่ืน เป็นการเย็บต่อกันไม่ใช่ทอเป็นผืน เดียวกัน ซ่ึงมองออกว่าเป็นของชุมชนเรา และลักษณะของลาย

สำนกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

นวตั กรรมภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ สู่การสร้างรายได้ของผูส้ งู อายุ 46

กลมุ่ ผลติ ภัณฑจ์ ากชา้ งและเชอื กปะกำ

ซึ่งความจริงชาวกวยมีหลายพื้นท่ี ท่ีอำเภอสำโรงทาบ อำเภอศีขรภูมิ แต่อัตลักษณ์ของชุมชนเลี้ยงช้างเป็นอีกแบบ ชุดหมอช้างกับชาวบ้าน ท่ัวไปไม่เหมือนกัน อัตลักษณ์ของหมอช้าง คือผ้ากะนิว ผ้าไหม ผ้าหางกระรอก ผ้าสไบหรือผ้าขาวม้า และชนักไว้ห้อยคอ เพื่อบ่งบอก ถึงตำแหน่ง ความสามารถในการคล้องช้าง ได้มากได้น้อย มีสีเงนิ กบั สี ทองแดง ถ้าอำเภอสำโรงทาบเรียกว่าผ้าแซว เป็นลายอีกแบบหนึ่ง สีแดงที่เห็นคือการย้อมจากมะเกลือ เม่ือคร้ังอดีตผู้ชายมีหน้าท่ีไป คล้องช้าง ส่วนผู้หญิงอยู่บ้านทอผ้าไหม ส่วนใหญ่ช้างท่ีคล้องเป็นช้าง ตัวเล็ก ไม่นิยมคล้องช้างที่ตัวใหญ่แล้ว ปัจจุบันในหมู่บ้านช้างยังมีช้าง ทค่ี ล้องมาจากปา่ เหลือ 1 เชือกสดุ ท้าย นอกนั้นเป็นชา้ งบ้าน อายุชา้ งเชอื ก นป้ี ัจจุบัน 82 ปี ทุกวนั น้ีมีการซือ้ ขายชา้ ง เชงิ ธุรกิจมากข้นึ นำช้างไปเดินเร่ ขายอ้อยในเมือง ซ่ึงผดิ กฎหมายและเป็นการทรมานสัตว์ เนื่องจากช้าง ต้องเดินเท้าเปล่าบนคอนกรีตร้อนๆ ท้ังวัน ชุมชนที่เล้ียงช้างไม่ได้มีเฉพาะ ชุมชนน้ี บริเวณข้างเคียงก็มี แต่ปริมาณไม่มากเท่าที่นี่ ชอบแอบอ้างเอา ช้างไปเดินเร่ ว่ามาจากชุมชนเลี้ยงช้างบ้านตากลาง ไม่เฉพาะแต่ช้าง ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากช้างด้วย อย่างเช่นชุมชนเราท่ีทำผลิตภัณฑ์จากช้าง แหวนหางช้าง งาชา้ ง ที่มีคนแอบอ้างเอาของปลอมไปขาย ผลเสียไม่ได้อยู่ ที่เขา มันกระทบต่อหมู่บ้านแหล่งผลิตของจริงด้วย ถ้าเรามีแบรนด์ จะเพิม่ ความเชอ่ื ถือมากขึน้ ”

“มีความเชื่อเรื่องประกำช้างในวิถีชีวิตประจำวัน เชื่อเรื่อง ผีประกำเหมอื นผีบรรพบรุ ุษ จะมศี าลประกำไว้เซ่นไหว้ บา้ นหลงั ท่มี ีชา้ ง หรอื ตระกูลทเ่ี คยเลยี้ งชา้ ง เปรียบเทียบรถมแี มย่ า่ นาง ช้างมีผีประกำ ทุกครัง้ ท่ี มีงานแต่งงาน งานข้ึนบ้านใหม่ ทำธุรกิจ เดินทางไปทำงานต่างที่ ต้อง เซ่นไหว้ศาลประกำ เพื่อเป็นการบอกกล่าว สิริมงคลให้กับชีวิต และเป็นหลัก

สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4