2024 ท มาของแต ล ะบ คคลมาจากครอบคร วด แต ทำไม ด

หนว่ ยที่ ๑ ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกบั บคุ ลกิ ภาพ

บุคลิกภาพ เป็นลักษณะแสดงตัวตนของแต่ละบุคคล ทั้งที่เป็นลักษณะภายนอก คือด้านร่างกาย และ ความรู้สกึ นกึ คดิ ภายใน คือดา้ นจิตใจ ทแี่ สดงออกมาในรปู พฤตกิ รรมตา่ ง ๆ

บคุ ลกิ ภาพเปน็ ผลรวมจากประสบการณ์ของแตล่ ะคนที่สะสมมา และจากการอบรมเลี้ยงดจู ากครอบครัว การ เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีจะทำให้มีความม่ันใจในตัวเอง สามารถอยู่ในสังคมอย่างเปน็ สขุ ได้รับการยอมรบั และเชื่อถอื จากผู้อื่น และสรา้ งความภาคภมู ใิ จในตนเอง

ความหมายของบคุ ลกิ ภาพ

คำว่า “บุคลิกภาพ” (Personality) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก คือ Persono (Per + Sonare) ซึ่งหมายถึง Mask ทแี่ ปลวา่ หนา้ กาก ซงึ่ ใช้สวมใสเ่ พ่อื บทบาทการแสดงทไ่ี ด้รบั แตกตา่ งกันไปในการแสดงละครของกรกี สมยั ก่อน

ท้ังน้ีไดม้ ีผู้ใหค้ วามหมายของบคุ ลิกภาพไว้แตกตา่ งกันไป ดงั ต่อไปนี้ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ใหค้ วามหมายไวด้ ังนี้ “บคุ ลิกภาพ” หมายถงึ สภาพนิสยั จำเพาะคน นอกจากนี้นักจิตวิทยา และนกั วิชาการหลายทา่ นไดใ้ ห้ความหมายของบคุ ลกิ ภาพแตกตา่ งกันไป ดังน้ี พงศ์อินทร์ ศุขขจร กล่าวว่า “บุคลิกภาพ” หมายถึง การรวมคุณลักษณะต่าง ๆ ของคน อันประกอบด้วย รปู ร่างลกั ษณะ และพฤติกรรม หรือจรติ กริ ิยาที่เปน็ เครื่องส่อนิสัยของคน ๆ หนึ่ง ซ่ึงแสดงออกมาให้คนอื่นแลเหน็ สถิต วงศ์สวรรค์ ให้ความหมายของ “บุคลิกภาพ” หมายถึง ลักษณะโดยส่วนรวมของแต่ละบุคคล ท้ัง ลักษณะภายนอก ภายใน และปัจจยั ต่าง ๆ อันมีอิทธพิ นต่อความรูส้ กึ ของผูพ้ บเหน็ อมรรัตน์ กรีธาธร กล่าวว่า “บุคลิกภาพ” หมายถึง ลักษณะของบุคคลโดยรวมทั้งรูปลักษณ์ทางกาย พฤตกิ รรม อากปั กิริยา อารมณ์ สตปิ ญั ญา ทป่ี รากฏออกมา และมีอิทธิพลตอ่ ผู้พบเห็น จากความหมายของบุคลิกภาพ ดังได้กล่าวมาแล้ว จึงสามารถสรุปความหมายของคำว่า บุคลิกภาพ ได้ว่า บคุ ลิกภาพเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของบคุ คลโดยรวมทแี่ สดงออกท้ังทางกาย ซงึ่ มองเห็นได้ เชน่ รปู รา่ งหนา้ ตา กิริยา ท่าทาง และจิตใจ ซึ่งสังเกตได้จากความรู้สึกนึกคิด อุปนิสัย อารมณ์ ความสนใจ และความสามารถในการ ปรับตัวเขา้ กับสงิ่ แวดล้อม ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของตนเอง

ความสำคัญของบุคลิกภาพ

บคุ ลิกภาพ มีความสำคัญท่ีจะสรา้ งประโยชนใ์ ห้บุคคล ดงั นี้ ๑. สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง บุคคลที่มีบุคลิกภาพดี จะมีความรู้สึกมั่นใจในตนเอง และทำให้กล้า แสดงออกในดา้ นต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ การแสดงความคดิ เห็น การแสดงความรู้จกั การทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ซงึ่ จะทำให้ ผพู้ บเหน็ เกดิ ความเคารพ ความศรทั ธา เชอื่ ถือในบคุ คลผูน้ ้นั

๒. สร้างความสำเร็จ เม่ือบคุ คลผู้มีบุคลิกภาพที่ดี สามารถสรา้ งศรัทธา ความเช่ือถือจากผู้อื่นท่ีเกี่ยวข้องท้ัง ดา้ นครอบครัว การเรียน การทำงาน หรือแมแ้ ตผ่ ้คู นทีอ่ ยู่ในสงั คม กจ็ ะทำให้เกดิ ความร่วมมือในการปฏิบตั ิงานต่าง ๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี ทำใหส้ ง่ ผลต่อความสำเรจ็ ท้งั ด้านชีวิตส่วนตวั การงานและสังคม

๓. สร้างความเปน็ เอกลกั ษณ์ของบคุ คล บคุ ลิกภาพจะช่วยให้บคุ คลมเี อกลกั ษณ์ หรอื ลักษณะเฉพาะตน ทั้ง รูปลักษณ์ภายนอกและภายใน ทำให้บุคคลมีความแตกต่างกัน ความแตกต่างของบุคลิกภาพที่เป็นเอกลักษณ์ของ บุคคลแตล่ ะคนจะช่วยใหเ้ รารู้จัก จดจำ และเขา้ ใจบุคคลแต่ละคนได้ดยี ่ิงขน้ึ

๔. สร้างความสามารถในการปรับตัว เมื่อเราเข้าใจ และยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล ก็จะทำให้ เข้าใจผูอ้ ืน่ เข้าใจสถานการณ์ต่าง ๆ จึงทำใหส้ ามารถปรับตวั และสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลได้ดี และสามารถ อยูร่ ่วมกบั ผอู้ ่นื ได้อย่างมีความสขุ

๕. สรา้ งการคาดหมายพฤติกรรม การทบ่ี ุคคลมีบุคลกิ ภาพท่ีแตกตา่ งกันจะทำให้เราสามารถคาดหมายได้ว่า บุคคลที่มีบุคลิกภาพใดจะแสดงพฤติกรรมใดออกมาตามสถานการณ์ที่เกดิ ขึน้ เช่น บุคคลที่มีลักษณะยิ้มแย้มแจม่ ใส มักจะเป็นผู้ทมี่ มี นุษยสัมพันธด์ ี บคุ คลที่มอี ารมณ์เศร้าหรือเสยี ใจ มกั จะแสดงพฤติกรรมโดยการรอ้ งไห้ หรือเก็บตัวอยู่ คนเดียว การที่เราสามารถคาดหมายพฤติกรรมของบุคคลโดยการสังเกตจากบุคลิกภาพได้ จะส่งผลต่อการสร้าง ความสัมพนั ธแ์ ละการอยูร่ ว่ มกันของบุคคลในสงั คมอย่างปกตสิ ุข

องค์ประกอบของบุคลิกภาพ

บคุ ลกิ ภาพของบคุ คลจะประกอบข้นึ ด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ดงั นี้ ๑. ด้านกายภาพ หมายถงึ บคุ ลกิ ภาพท่ผี ู้อนื่ สามารถมองเห็นได้ชดั เจน เช่น รูปร่าง หน้าตา กิริยาท่าทาง การแตง่ กาย การเดิน เป็นตน้ ๒. ด้านวาจา หมายถึง การใชถ้ อ้ ยคำ นำ้ เสยี ง ซงึ่ ผ้อู น่ื จะรับร้ไู ดโ้ ดยการฟงั ในลกั ษณะต่าง ๆ สะท้อน บคุ ลกิ ภาพด้านน้ี เชน่ การพดู จาด้วยน้ำเสยี งนมุ่ นวล นา่ ฟัง เปน็ มิตร การพูดไม่สภุ าพ การพดู จาเสียงดังรบั กวนผูอ้ น่ื เป็นต้น ๓. ดา้ นสติปัญญา หมายถงึ ความสามารถทางการคดิ แก้ปญั หา ไหวพรบิ ความสามารถที่จะมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับ ผอู้ ืน่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม คิดเปน็ รจู้ ักคดิ คิดแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้ดี ๔. ด้านอารมณ์ หมายถงึ ความรูส้ ึกทางจิตใจท่ีก่อให้เกิดการกระทำต่าง ๆ เชน่ การมอี ารมณด์ ีคงเส้นคงวา ไมว่ ูว่ าม ไมเ่ อาแต่อารมณ์ ฉนุ เฉยี ว โกรธงา่ ย หรือบางคนมอี ารมณด์ ี รา่ เรงิ มากกวา่ อารมณอ์ ่นื หรือบางคนเครยี ด เศรา้ ข่นุ มวั หมน่ หมองอยู่เสมอ ๕. ดา้ นความสนใจและทัศนคติ แต่ละคนย่อมแตกตา่ งกันไป บางคนไมส่ นใจเรือ่ งกีฬา ซึ่งบางคนสนใจ บาง คนมีทัศนคติที่ดเี กย่ี วกับการเมอื ง บางคนมีทัศนคตทิ ่ีไม่ดี ๖. ดา้ นการปรบั ตวั มีผลต่อลักษณะของบุคลกิ ภาพ ถา้ ปรับตัวไดด้ ี มพี ฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม สงั คมยอมรับ กจ็ ะอยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข ตรงกนั ข้ามถา้ ปรบั ตวั ไมด่ ี วางตัวในสงั คมไมเ่ หมาะสม ยอ่ มมีผลเสยี ตอ่ บุคลิกภาพ ดา้ นอน่ื ๆ ไปดว้ ย

ประเภทของบคุ ลิกภาพ

บุคลิกภาพของบคุ คลโดยท่ัวไป แบง่ เปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ ๑. บคุ ลกิ ภาพภายนอก เป็นสิ่งทีส่ ามารถสัมผัสได้ด้วยดา หู จมูก ลิ้น และกาย สามารถท่ีจะปรับปรุงพัฒนา แก้ไขได้ดว้ ยวธิ ีการต่าง ๆ ที่จะชว่ ยเสริมสร้างใหม้ ีบุคลกิ ภาพภายนอกท่ีดีข้ึน ได้แก่ รปู ร่าง หนา้ ตา การแต่งกาย การ วางตวั และการพดู เปน็ ตน้ ๒. บุคลกิ ภาพภายใน เป็นส่ิงที่มองไมเ่ ห็น แตส่ ามารถสัมผสั และรูไ้ ดโ้ ดยการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร มคี วามสมั พนั ธ์กัน จึงจะทำให้เรารู้ได้ว่าแต่ละคนมบี ุคลิกภาพภายในอย่างไร เช่น เป็นคนมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง เป็นคนเข้มแข็ง ขยัน อดทน มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มคี วามยุติธรรม มีอารมณข์ ัน มคี วามซ่อื สตั ย์ มคี วามเฉลียวฉลาด เปน็ ต้น

ปจั จัยทมี่ อี ิทธิพลต่อการพฒั นาบคุ ลิกภาพ

กนั ยา สวุ รรณแสง กล่าวถึงความแตกต่างของแต่ละบคุ คล ซง่ึ เป็นปัจจยั ทมี่ ีอิทธพิ ลตอ่ บุคลกิ ภาพของมนษุ ย์ ไวด้ ังตอ่ ไปน้ี

๑. ความแตกตา่ งทางกาย (Physical) คือความแตกต่างในโครงสร้างของร่างกาย สว่ นสงู น้ำหนัก รูปร่าง ลักษณะหนา้ ตา ผิวพรรณ สีผิว สูงเตีย้ จมกู โดง่ จมกู แบน ผมหยกิ ผมตรง ตาช้นั เดียวหรือสองช้นั เป็นตน้

๒. ความแตกต่างทางอารมณ์ (Emotion) อารมณไ์ ม่ใช่สิ่งที่ติดตัวมาตง้ั แต่เกดิ แต่เปน็ ส่ิงทเ่ี กดิ จากการ เรียนรู้ อารมณ์เป็นเร่อื งท่ีซบั ซอ้ นยากทีจ่ ะเขา้ ใจได้ มนุษย์มีอารมณแ์ ตกต่างกันเนือ่ งจากมกี ารเรียนรู้ภายใต้ สภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่างกัน ขนึ้ อย่กู บั ความสมั พันธใ์ นครอบครวั เม่อื อยใู่ นวัยเด็ก ความใกลช้ ิด ความอบอุ่น และ การเลีย้ งดูท่ีต่างกนั

๓. ความแตกตา่ งทางสังคม (Social) สภาพทางสังคมและคา่ นยิ มด้านวฒั นธรรม ประเพณตี ่าง ๆ จะมีผล ต่อพัฒนาการของบุคคลเปน็ อยา่ งย่ิง มีปจั จัยหลายอย่างทก่ี ่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ การพฒั นาบคุ ลิกภาพของมนษุ ย์ เช่น สภาพสงั คมทีข่ าดแคลน ความแตกต่างระหว่างกลุ่มชนในสงั คม ระบบชนชน้ั ในสังคม เป็นต้น

๔. ความแตกตา่ งทางสตปิ ญั ญา (Mental) คอื ความแตกตา่ งของบคุ คลในความสามารถทเ่ี ก่ยี วกบั การคดิ และความสามารถในการเรยี นรู้สง่ิ ตา่ ง ๆ มนษุ ยม์ ีความต่างกันในการแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ การปรบั ตวั การคิด เรา เรียกวา่ ไอ.ควิ . (Intelligence Quotient)

๕. ความแตกต่างของบุคลิกภาพทางเพศ (Sex) ธรรมชาติและสังคมกำหนดให้หญิงและชายมีลักษณะ บุคลิกภาพที่แตกต่างกัน ได้มีการทดสอบความสามารถด้านต่าง ๆ ระหว่างเพศชายกับหญิง เช่น ด้านอารมณ์ เพศ หญิงสามารถเข้าใจอารมณ์ของบุคคลได้ดีกวา่ เพศชาย ด้านความสามารถทางภาษา เพศหญิงจะมีความสามารถดา้ น ภาษามากกว่าเพศชาย แตเ่ พศชายมคี วามสามารถด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มากกว่าเพศหญิง เปน็ ตน้

อมรรตั น์ กรีธาธร กล่าวถึงปจั จยั ทม่ี ีอทิ ธิพลตอ่ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพไวว้ า่ เป็นผลรวมของอทิ ธิพล ๒ ประการ คือ พันธกุ รรม และสงิ่ แวดล้อม การจะพัฒนาบุคลกิ ภาพของบุคคลจึงขน้ึ อยูก่ ับปัจจยั ดงั น้ี

๑. อิทธิพลของร่างกาย เช่น คนท่เี กิดมาตวั เตยี้ ถูกล้อวา่ เปน็ เต้ยี จะรสู้ ึกเปน็ ปมด้อย จงึ ส่งผลให้สรา้ ง พฤติกรรมอ่นื ๆ ขึน้ มา เชน่ เดนิ ส่ายหรอื โยกศีรษะ เพ่ือแสดงว่าถึงจะเตีย้ แตก่ ็แน่ เปน็ ตน้

๒. ความเจ็บป่วยและพิการทางกาย คนทพี่ ิการไมว่ ่าจะพกิ ารแต่กำเนดิ หรอื เพราะเกดิ อบุ ัตเิ หตุ เช่น เด็กท่ี เคยพลดั ตกศีรษะกระแทกพน้ื อยา่ งแรง จนกลายเปน็ คนปญั ญาออ่ น การพฒั นาบุคลิกภาพย่อมทำได้ยาก หรอื ปว่ ย

เปน็ โรคเรือ้ รัง เชน่ ทาลัสซีเมยี ผูป้ ่วยจะมีลกั ษณะตวั เหลอื ง ซูบซีด ถ้าปว่ ยเปน็ วณั โรค จะมอี าการไอเรอ้ื รัง ความ เจ็บป่วยเหลา่ น้ี ย่อมส่งผลต่อบุคลกิ ภาพทที่ ำใหไ้ ม่สามารถพฒั นาได้ตามปกติ

๓. อาการผิดปกติของต่อมในร่างกาย ต่อมที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ ได้แก่ ต่อมไร้ท่อ เช่น ต่อมไทรอยด์ เป็นต่อมทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การเคลื่อนไหวของร่างกาย หากร่างกายขอดฮอร์โมนไทรอยด์ จะเป็นคนเฉื่อยชา คิดช้า การ เคลื่อนไหวไมก่ ระฉับกระเฉง ถ้าขาดในวัยเด็กจะทำใหเ้ ด็กตัวเตย้ี แคระแกร็น ร่างกายไมไ่ ด้สดั ส่วน หรอื หากมีฮอรโ์ มน มากเกนิ ไป ก็จะทำใหเ้ กดิ โรคคอหอยพอก มอี าการมือสัน่ โมโหงา่ ย นอนไมห่ ลบั วิตกกังวล เปน็ ต้น

๔. การหลอ่ หลอมจากครอบครัว บา้ นเปน็ สถาบนั แรกที่จะช่วยหล่อหลอมและพฒั นาบุคลิกภาพของบุคคล บุคคลใดที่พ่อแม่เปน็ คนเจ้าระเบียบ ชอบใช้อำนาจส่ังการ เมื่อโตข้ึนลูกจะเป็นคนทีไ่ ม่มีความเป็นตวั ของตัวเอง ขาด ความเชือ่ มั่น ส่วนบคุ คลใดถูกเลี้ยงมาแบบตามใจ จะเปน็ คนท่ีขาดหลักการ ขาดแนวปฏิบัติ ไม่รู้จักคิด แต่หากบุคคล ใดได้รับการเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย เด็กจะพัฒนาบุคลิกภาพอย่างเต็มที่ มีความเป็นตัวของตัวเอง รู้จักตัดสนิ ใจวา่ อะไรควรทำหรอื ไม่ควรทำ และมคี วามเช่ือมันในตนเอง

ดังนั้นจงึ สามารถสรุปปจั จยั ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ การพัฒนาดา้ นบคุ ลกิ ภาพได้ว่า เกดิ จากอิทธิพลของสิ่งตา่ ง ๆ ที่อยู่ รอบตัว ซง่ึ สามารถแบง่ ได้เปน็ ๓ ประเภท ดังนี้

๑. พันธุกรรม เป็นสิ่งที่เป็นพ้ืนฐานของบุคลกิ ภาพของบุคคล ที่ได้รับการถา่ ยทอดมาจากบิดา มารดา หรือ บรรพบรุ ุษ ซง่ึ บคุ คลทเ่ี กดิ มาแล้วเลือกหรือเปลย่ี นแปลงไมไ่ ด้ เช่น ลกั ษณะของสผี ิว คนเอเชยี เชน่ จีน ไทย ญปี่ ุ่น จะ มีผวิ สขี าวเหลอื ง คนแอฟรกิ า จะมีผวิ สีดำ กรุป๊ โลหิตของมนษุ ย์ทุกคนจะต้องเปน็ ชนดิ เดียวกบั บดิ า หรอื มารดาเท่าน้ัน หรือแม้แตโ่ รคบางชนิด เช่น เบาหวาน ก็สามารถถา่ ยทอดทางพนั ธุกรรมได้เช่นกนั

การถ่ายทอดทางพันธกุ รรม ไมไ่ ดม้ แี ตล่ กั ษณะทางกายท่ีเปน็ ลักษณะภายนอกเท่าน้ัน หากแต่รวมถงึ ลกั ษณะ ภายในตา่ ง ๆ เช่น สตปิ ญั ญา ลกั ษณะทางอารมณ์ เป็นตน้

๒. ส่งิ แวดลอ้ ม หมายถงึ ส่งิ ตา่ ง ๆ ท่มี ีลักษณะทางกายภาพและชวี ภาพทอ่ี ยรู่ อบตัวมนษุ ย์ ซึง่ เกดิ ข้ึนโดย ธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนษุ ยไ์ ดส้ รา้ งขนึ้

สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่มีอิทธิพล และเป็นตัวกำหนดขอบเขตการพัฒนาการด้านบุคลิกภาพของแต่ละบุคคล ไดแ้ ก่ ครอบครัว ทถี่ ือวา่ เป็นส่ิงแวดลอ้ มท่ีใกลต้ ัว และมีอทิ ธิพลมากทีส่ ุด ในวัยเด็กจะมพี ัฒนาการทางบุคลิกภาพจาก การเลียนแบบพ่อแม่ หรือบุคคลในครอบครัว ทั้งทางด้านพฤติกรรม อารมณ์ ค่านิยม ทัศนคติ ลักษณะอบรมเลี้ยงดู ความสมั พนั ธ์ของบคุ คลในครอบครวั สภาพความเป็นอยใู่ นบา้ น กส็ ่งผลให้บุคลกิ ภาพของบุคคลต่างกันออกไป

สิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น โรงเรียน กลุ่มเพื่อน ชุมชนต่าง ๆ เป็นสภาพที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ การ เลยี นแบบ การปฏิบตั ติ าม และสั่งสมมานาน ๆ จนสรา้ งเปน็ แบบแผนพฤติกรรมของตัวเอง กลายเป็นบุคลิกภาพของ แต่ละบุคคล

๓. ประสบการณ์ เป็นส่งิ ที่บุคคลไดพ้ บเหน็ ซึง่ แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี ๓.๑ ประสบการทั่วไป คอื ประสบการณท์ บี่ คุ คลอยู่ในสงั คมเดียวกันไดพ้ บเห็น ได้รับเหมือนกัน ใน

แนวทางเดียวกัน เช่น วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยมของสังคม ความเชื่อ ศาสนา ที่ทำให้บุคคลใน สังคมเดยี วกนั แสดงพฤตกิ รรมและปฏบิ ัตติ นไปในทศิ ทางเดียวกัน

๓.๒ ประสบการณ์ส่วนตัว คือ ประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้พบเห็น หรือได้รับแตกต่างไปจาก บุคคลอื่นในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต และมีปฏิกิริยาตอบสนอง หรือแสดงออกต่อสังคมทีแ่ ตกต่างกันออกไป บางคน อาจเคยได้รบั ประสบการณท์ ท่ี ำให้เกิดความทกุ ข์ เช่น พ่อ แม่ หย่ารา้ งกัน หรือต้องจากบคุ คลอันเป็นท่รี กั บางคนเคย ได้รับประสบการณ์ที่ทำให้เกิดความสุข ประสบความสำเร็จในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำหรือได้รับรางวัล ประสบการณ์ เหล่าน้จี ะมอี ิทธพิ ลต่อบุคลิกภาพทั้งส้ิน

การพฒั นาการด้านบุคลิกภาพ

การที่บคุ คลหนึ่งจะมบี คุ ลิกภาพในแบบของตนเองนน้ั ตอ้ งผ่านการพฒั นาการไปตามความเจริญเตบิ โตตาม ช่วงอายุ หรอื ตามวยั ซึง่ ในแต่ละชว่ งวัยของชีวติ กจ็ ะได้รบั อทิ ธพิ ลจากส่งิ ต่าง ๆ แตกต่างกนั ไป

ซิกมันด์ ฟรอยด์ ไดแ้ บง่ ข้ันพฒั นาการของบคุ ลิกภาพไว้ ๕ ข้นั ดังนี้ ๑. ขั้นปาก (Oral Stage) เริ่มตั้งแต่เกิด - ๑ ปี เป็นวัยที่ความพึงพอใจ เกิดจากการดูดนมแม่และนม ขวด โดยเด็กในวัยนี้มักจะชอบอมมอื และดูดนิ้วมือ เห็นอะไรก็จะเอาเข้าปาก ถ้าหากเด็กในวัยนีเ้ กิดความคับข้องใจ จะทำให้เกดิ ภาวะท่ีเรียกว่า “การตดิ ตรึงอยู่กบั ท่”ี ได้ และมปี ญั หาทางดา้ นบคุ ลกิ ภาพ เรียกว่า “Oral Personality” มีลักษณะที่ชอบพูดมาก และมักจะติดบุหรี่ เหล้า และชอบดูด หรือกัดอยู่เสมอ โดยเฉพาะเวลาที่มีความเครียด บางครง้ั จะแสดงดว้ ยการดูดนวิ้ ดนิ สอ หรอื ปากกา อาจจะชอบพดู จาถากถาง เหน็บแนม เสียดสผี ูอ้ นื่ ซ่ึงจะส่งผลร้าย กบั การเขา้ สังคมในอนาคต ๒. ขนั้ ทวาร (Anal Stage) อายุ ๑ - ๒ ปี เดก็ วัยนไ้ี ด้รับความพงึ พอใจทางทวารหนัก ซง่ึ เกดิ จากการขับถ่าย อุจจาระตามท่ีต้องการ ซึ่งเป็นสาเหตขุ องความขัดแย้ง และความคับข้องใจของเดก็ วัยนี้ เนื่องจากพอ่ แม่มักจะหัดให้ เด็กใช้กระโถน และต้องขับถ่ายเป็นเวลา แต่เด็กอยากจะถ่ายเมื่อไรกไ็ ดต้ ามที่ต้องการ เมื่อความต้องการของพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และความต้องการของเด็ก เกี่ยวกับการขับถ่ายไม่ตรงกัน จึงเกิดเป็นความขัดแย้ง และทำให้เกิดมี บุคลิกภาพนี้เรียกว่า “Anal Personality” ผู้ที่มีพฤติกรรมแบบนี้ อาจจะเป็นคนที่ชอบความเป็นระเบียบเรียบร้อย เปน็ พเิ ศษ และค่อนขา้ งประหยดั มธั ยสั ถ์ หรอื อาจมีบคุ ลิกภาพตรงข้าม คืออาจจะเป็นคนท่ีใจกว้าง และไม่มคี วามเป็น ระเบยี บ เห็นไดจ้ ากห้องทำงานส่วนตัวจะรกไมเ่ ป็นระเบียบ ๓. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3 - 5 ปี ความพึงพอใจของเด็กวัยนี้อยู่ที่อวัยวะสืบพันธ์ุ เด็ก มกั จะจับตอ้ งลูกคลำอวัยวะเพศ เด็กผู้ชายตดิ แมแ่ ละรักแมม่ าก และตอ้ งการที่จะเป็นเจ้าของแม่แต่เพยี งคนเดียว และ ต้องการร่วมรักกับแม่ แต่ขณะเดียวกันก็ทราบว่าแม่และพอ่ รักกัน และก็รู้ดวี ่าตนด้อยกว่าพ่อทุกอยา่ ง ทั้งด้านกำลงั และอำนาจ ประกอบกับความรักพอ่ และกลัวพ่อ ฉะนั้นเด็กก็พยายามที่จะเก็บกดความรู้สึก ที่อยากเป็นเจ้าของแม่ แต่คนเดียว และพยายามทำตัวให้เหมือนกับพ่อ เลียนแบบพ่อทุกอย่าง ส่วนเด็กหญิงตอนแรกทีเดียวก็รักแม่มาก เหมือนเด็กชาย แต่เมื่อโตขึ้นพบว่าตนเองไม่มีอวัยวะเพศเหมือนเด็กชาย และมีความรู้สึกอิจฉาผู้ท่ีมีอวยั วะเพศชาย แตเ่ มอ่ื ทำอะไรไม่ได้กย็ อมรับ และโกรธแมม่ าก ถอนความรกั จากแมม่ ารักพอ่ ท่ีมีอวยั วะเพศทีต่ นปรารถนาจะมี แต่กร็ ู้ ว่าแม่และพ่อรักกัน เด็กหญิงจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้กลไกป้องกันตน โดยเก็บความรู้สึกความต้องการของตน และ เปล่ยี นจากการโกรธเกลยี ดแม่ มาเปน็ รักแม่ ขณะเดยี วกนั กอ็ ยากทำตวั ให้เหมอื นแม่ จงึ เลียนแบบ สรุปได้ว่าเด็กหญิง มีความรักพ่อ แต่ก็รู้ว่าแย่งพ่อมาจากแม่ไม่ได้ จึงเลียนแบบแม่ คือ ถือแม่เป็นแบบฉบับ หรือต้นแบบของพฤติกรรม ของ “ผหู้ ญงิ ” ๔. ขั้นแฝง (Latency Stage) อายุ ๖ - ๑๑ ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มเข้าโรงเรียน เป็นระยะที่ความพึงพอใจ ความสุขไม่ได้อยู่ที่ส่วนใดของร่างกาย เด็กจะยึดหลักแห่งความจริงมากขึ้น เพิ่มกิจกรรมด้านความคิด เรียนรู้สังคม และชวี ิตนอกบ้าน ใชเ้ วลาในการอยูก่ บั เพื่อนเพศเดียวกันมากขนึ้ เพื่อเตรยี มเขา้ สู่ข้ันเพศ ๕. ขั้นเพศ (Genital Stage) เป็นช่วงเวลาทีเ่ ริ่มเขา้ สูว่ ัยรุน่ เริ่มตั้งแต่อายุ ๑๒ ปีขึ้นไป จะมีความต้องการ ทางเพศ วัยนี้จะมีความสนใจในเพศตรงข้าม ซึง่ เป็นระยะเริ่มต้นสำหรับวัยผู้ใหญ่ ทำให้เด็กเกิดประสบการณ์และได้ เห็นแงม่ ุมต่าง ๆ ของเพศตรงกนั ขา้ ม และมปี ฏสิ มั พันธก์ ับเพศตรงข้ามมากขึ้น ฟรอยด์ มีความเห็นว่า บุคลิกภาพของมนุษย์มีพื้นฐานมาจากสภาพแวดล้อมทางครอบครวั การอบรมเลีย้ งดู เอาใจใสข่ องพ่อแม่ต้ังแต่วัยทารกเร่อื ยมา ประสบการณท์ ่ไี ดร้ ับในวยั เดก็ จะมีผลทางตรงและทางอ้อมตอ่ ความรู้สึก นึกคดิ ทัศนคติ และพฤติกรรมต่าง ๆ

บุคลกิ ภาพที่ถกู หล่อหลอมเร่ือยมาตัง้ แต่เกิดจนตายน้ันมีพัฒนาการตามความเจรญิ เติบโตตามช่วงอายุ หรอื ตามวยั ดังต่อไปนี้

๑. พฒั นาการดา้ นบุคลิกภาพในวยั ทารก (แรกเกิด - ๒ ขวบ) เด็กในวัยนี้จะมีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว และมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมของตน ดังนั้น

ความสมั พนั ธ์ในครอบครัว จึงเปน็ ส่งิ ทมี่ ีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพของเดก็ ในวัยน้อี ย่างมาก เพราะสิ่งแวดล้อมของเด็กใน วยั น้ีจุมเี พยี งสง่ิ แวดล้อมในครอบครวั เท่านัน้

ความสมั พันธ์ในครอบครัวมอี ิทธิพลตอ่ พัฒนาการด้านบุคลิกภาพของเดก็ วยั ทารก ดังนี้ ๑.๑ ความสมั พันธ์ของบุคคลในครอบครัว เช่น ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพ่อแม่ท่ีมีต่อลูก หรือระหว่างพ่อแม่ เอง ถ้าในครอบครวั มีแต่การทะเลาะ การขัดแย้ง การทำรา้ ยซงึ่ กันและกนั เป็นประจำ เดก็ จะเกดิ ความเครียดในจิตใจ ขาดความสุข และความอบอุ่น จะมีพฤติกรรมการแสดงออกในลักษณะที่เรียกร้องความสนใจด้วยพฤติกรรมต่าง ๆ และไมเ่ คารพพ่อแม่ ๑.๒ วิธีการอบรมเลี้ยงดู ครอบครัวแต่ละครอบครัวมีวิธีการอบรมเลี้ยงดูลูกที่ต่างกัน บางครอบครัว เข้มงวด โดยการให้ทำตามคำสั่ง เด็กจะมีลักษณะเป็นคนขี้กลัว ขาดความมั่นใจในตนเอง บางครอบครัวใช้ ประชาธิปไตย ให้ความรัก ความเข้าใจ และให้อิสระตามสมควร เด็กจะมีลักษณะเป็นตัวของตัวเอง กล้าแสดงออก และมีความเชื่อมั่น แตห่ ากเลี้ยงดูแบบตามใจทกุ เรือ่ ง เดก็ มกั จะเปน็ คนเอาแต่ใจตัวเอง และไมม่ ีระเบยี บวนิ ยั เปน็ ต้น ๑.๓ ความสมำ่ เสมอในการเลยี้ งดู การอบรมเล้ยี งดูเป็นสิง่ ท่ีพ่อแม่ควรคำนงึ ถงึ เชน่ การให้ความรกั เอาใจ ใส่ต่อเด็ก ถ้าปฏบิ ัตเิ ป็นประจำสม่ำเสมอ เดก็ จะรับร้แู ละเขา้ ใจสง่ิ ทีไ่ ดร้ ับ หากทำบ้างไม่ทำบา้ ง ไมส่ มำ่ เสมอ จะทำให้ เด็กไมแ่ น่ใจ ไม่สามารถรับรแู้ ละเข้าใจได้ ๑.๔ ความเสมอภาคในการอบรมเลย้ี งดู พ่อแมค่ วรใหค้ วามรกั ความเอาใจใส่ต่อลกู ทกุ คนเทา่ เทยี มกัน ถ้า มีลกู หลายคน การแสดงออกกับบุตรคนใดคนหน่ึงเป็นพเิ ศษ หรอื มากกวา่ จะทำใหเ้ ด็กเกดิ ปมด้อยและมีลักษณะเป็น คนจิตใจออ่ นไหว ๒. พัฒนาการดา้ นบุคลกิ ภาพในวัยเด็ก พฒั นาการด้านบุคลกิ ภาพในวัยเด็ก มี ๒ ระยะ ดังนี้ ๒.๑ พัฒนาการดา้ นบคุ ลิกภาพในวยั เด็กตอนต้น (อายุ ๓ - ๕ ปี)

เด็กในวยั นีค้ รอบครัวยงั มีอิทธพิ ลตอ่ บุคลิกภาพของเด็กมาก เดก็ จะมีแนวโนม้ ท่ีจะเลียนแบบพ่อแม่ หรือบุคคลในครอบครัว ดังนั้น พฤติกรรม อารมณ์ ค่านิยม ทัศนคติของบุคคลในครอบครัวจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อการ พัฒนาดา้ นบุคลิกภาพของเด็ก

ความผกู พันระหว่างพ่อแมท่ ่มี ตี ่อลูกมีสว่ นเก่ียวพันกับบุคลกิ ภาพของเดก็ มาก จากผลการวิจัยพบว่า เด็กท่ีต้องแยกจากพอ่ แม่เปน็ ระยะเวลานาน ๆ เช่น แมป่ ว่ ย หรอื พ่อแม่เดินทางไกลเป็นเวลานาน จะแสดงอาการไม่มี ความสุขอยา่ งเห็นได้ชดั และมกั มบี คุ ลกิ ภาพก้าวร้าว เรียกรอ้ งความสนใจ หรอื เงยี บเลย ส่วนเด็กที่มีพ่อเล้ียงหรือแม่ เลีย้ งน้ัน จะมอี ิทธพิ ลตอ่ บุคลกิ ภาพของเด็กมากนอ้ ยเพียงใด ข้ึนอยูก่ ับการที่ผใู้ หญป่ ฏิบัติต่อเดก็ ต้งั แต่ตอนแรก ๆ ท่ีมี การหย่าร้าง หรือพ่อแมถ่ ึงแกก่ รรมอยา่ งไรในชว่ งนเี้ ดก็ จะมกี ารปรบั ตวั มาก

การอบรมเลีย้ งดูมีผลตอ่ บุคลกิ ภาพของแดก็ เด็กบางคนมีลกั ษณะเอาการเอางาน มคี วามรับผิดชอบ ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะพ่อแม่ฝึกหัดให้เป็นตัวอย่างของน้อง ๆ หรือต้องช่วยเลี้ยงน้องจึงทำให้เป็นผู้ใหญ่เกินวยั สว่ นเดก็ บางคนอารมณอ์ อ่ นไหวง่าย อาจจะเป็นเพราะต่อแม่มีความลำเอยี งรักลกู ไม่เท่ากนั จงึ ทำให้เด็กน้อยใจ หรือ สะเทือนใจงา่ ย

ความแตกต่างระหว่างบุคคลปรากฏชดั ในวยั นี้ เดก็ บางคนมีลกั ษณะผนู้ ำบางคนมลี ักษณะผู้ตาม บาง คนชอบสังคม บางคนหนีสงั คม ทงั้ นีแ้ ล้วแต่ประสบการณ์ และการทไี่ ดร้ บั การฝึกอบรมมา ความแตกตา่ งระหว่างเพศ เก่ยี วกบั บคุ ลกิ ภาพปรากฏชัด เด็กผูช้ ายมักมีลักษณะเป็นผู้นำปราดเปรียว เดก็ ผู้หญิงจะเชอื่ ฟงั อ่อนหวาน เรียบร้อย

ซึ่งความแตกต่างนี้อาจเกิดจากการเลียนแบบพฤติกรรมจากผู้ใหญ่ หรือจากพ่อแม่ทีเ่ ป็นเพศเดียวกันกับตนหรือเกิด จากการที่ผู้ใหญ่อบรมส่ังสอนให้เด็กมีบทบาทตามเพศของตน (sex roles) แต่ทั้งนี้ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่เด็กได้รับ จากนอกบา้ นจะทำให้เด็กแตล่ ะคนมบี ุคลิกแตกต่างกนั ออกไป เปน็ ต้นวา่ ดา้ นสงั คม เดก็ ทม่ี ปี ระสบการณ์ไมด่ ี เชน่ ถูก แกล้งหรอื ถูกล้อเลยี นจะทำใหเ้ ดก็ ไม่ชอบเข้าสงั คม กลายเปน็ เด็กเกบ็ ตวั เปน็ ต้น

๒.๒ พฒั นาการด้านบคุ ลิกภาพในวยั เดก็ ตอนกลาง (อายุ ๖ - ๑๒ ปี) ในวัยเด็กตอนกลางจะเปน็ วยั ท่เี รมิ่ เข้าโรงเรียน ดงั นั้นส่งิ แวดล้อมของเดก็ จะมีลักษณะกวา้ งข้ึน เด็ก

ในวยั นเี้ ร่มิ มจี ินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และชอบทำในสิง่ ที่ตนเองทำได้ อารมณ์ของเดก็ ในวัยนี้มักจะมลี ักษณะ ไมค่ งที่

๓. พัฒนาการดา้ นบคุ ลิกภาพในวัยรุ่น ๓.๑ พฒั นาการดา้ นบคุ ลิกภาพในวัยรนุ่ ตอนตน้ (อายุ ๑๓ - ๑๖ ปี) ลักษณะบุคลิกภาพท่ีปรากฏชัดในวัยน้ี คือ เด็กจะไม่เชื่อมั่นในตนเอง อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ไม่

เชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง สำหรับเรื่องบุคลิกภาพซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับความคิดเห็นที่บุคคลมีต่อตนเอง เป็นระยะที่เด็กมีทัศนคติไม่ดีต่อตนเอง ไม่พอใจในตนเอง เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เป็นต้นว่า เด็กไม่พอใจ รปู รา่ งหนา้ ตา และสัดสว่ นของตนเอง เนอื่ งจากวัยนี้พฒั นาการด้านรา่ งกายของเดก็ ยังไมพ่ ัฒนาถงึ ขีดสุด เด็กจะเป็น กังวลว่า มีมือเท้าใหญเ่ กนิ ไป ผวิ พรรณไมเ่ กล้ยี งเกลา จมูกใหญ่ แขนยาว ซง่ึ การไม่สมสว่ นของร่างกายเหล่าน้ี จะเป็น ชั่วคราวเท่านนั้ แต่เดก็ ในวัยนย้ี ังไม่เขา้ ใจ จงึ คดิ วา่ ตนเองผดิ ปกติ

นอกจากนั้นพ่อแม่ ผู้ใหญ่ หรือ ครู มักจะมีความเห็นว่า เด็กวัยนี้ยังมีพฤติกรรมไม่ถูกต้อง ไม่ เหมาะสม หรือพฤติกรรมของเดก็ ยังไมเ่ ปน็ ทีย่ อมรับของสงั คม มกี รยิ ามารยาทเป็นเดก็ อยู่บา้ ง เนอ่ื งจากเพง่ิ พ้นวยั เด็ก มาไม่นานนัก ทำใหป้ รบั ตวั ลำบาก เชน่ บางทีผูใ้ หญก่ ป็ ฏบิ ัติต่อเด็กเหมือนเปน็ เด็กเล็ก ๆ อยู่ ไมใ่ หไ้ ปไหนมาไหนตาม ตอ้ งการ ไมใ่ ห้กลบั บา้ นค่ำ แต่เม่อื ทำตวั เป็นเด็ก เช่น รังแกน้อง ทำเสียงดงั ก็ถกู ผใู้ หญ่ดุเป็นต้นว่า “โตแล้ว ยังทำตัว เป็นเดก็ อยไู่ ด้” และเมอื่ พยายามทำตวั เปน็ ผใู้ หญ่กย็ งั ทำไมไ่ ดเ้ ต็มที่ เน่อื งจากยงั ไม่มคี วามสามารถพอ เปน็ ตน้

เนือ่ งจากเด็กวัยนม้ี ีปัญหาท้งั ด้านส่วนตัว และสังคมดังกลา่ ว ทำให้ และไม่เช่อื มั่นว่าผู้อ่ืนจะยอมรับ ตนหรือไม่ ซึ่งจากความไม่เชื่อมั่นนี้อาจทำให้วัยรุ่นแสดงพฤติกรรมออกมาในรูปของการปฏิเสธไม่ยอมรับสิ่งต่าง ๆ พยายามขัดคำสั่งแทบทุกอย่างและหาขอ้ แก้ตวั เมื่อทำสง่ิ ใดล้มเหลว

๓.๒ พัฒนาการด้านบุคลกิ ภาพในวยั ร่นุ ตอนปลาย (อายุ ๑๗ - ๒๐ ป)ี โดยทั่วไปบุคลกิ ภาพของคนวยั นีจ้ ะดีขึ้น เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เป็นต้นว่า ผู้ใหญ่ตระหนัก

ว่าบุคคลวัยนี้โตแล้ว ฉะนั้นจะให้อิสรภาพมากยิ่งขึ้น และบุคคลวัยนี้จะสามารถใช้วิจารณญาณได้ดีขึ้น ทำให้เข้าใจ บุคคลอื่นมากขึ้น ประกอบกับการที่บุคคลวัยนี้รู้เหตุผล ได้เรียนรู้ว่าอะไรดีหรือไม่ดี ฉะนั้นจะรู้จักพิจารณาที่จะ เปลีย่ นแปลงบุคลกิ ลักษณะต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้

๓.๒.1. การรู้จักตนเองอย่างตรงตามความเป็นจริง มีสิ่งใดที่บกพร่องต้องยอมรับ และพร้อมที่จะ ปรบั ปรุง สิ่งใดซ่ึงดีอยูแ่ ลว้ ให้รกั ษาไว้ หรอื พยายามทำให้ดีขนึ้

๓.๒.2. การมีความเชอ่ื มัน่ ตอ่ ตนเอง มีความคิดเห็นต่อตนเองทีม่ ่ันคง ไม่ใช่เปลย่ี นแปลงตามอารมณ์ อยู่ตลอดเวลา

๓.๓.๓. การมีความภาคภูมิใจในตนเอง การที่คนเราจะมีความมั่นใจในตนเองได้นั้นจะต้องเคย ประสบความสำเร็จในสง่ิ ทไี่ ด้กระทำมาแลว้ ดงั นั้น ผ้ปู กครองควรส่งเสริมช่วยเหลอื เขา คอื ไม่ตง้ั ระดับความหวงั ตอ่ ลูก สูงเกินกำลังความสามารถของเขา พยายามเปิดโอกาสให้เด็กได้ทำในสิ่งที่เหมาะกับระดับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของเดก็ เพือ่ ใหเ้ ขาประสบความสำเร็จ จะไดเ้ กิดความรู้สกึ ภาคภูมใิ จในตนเอง

๔. พัฒนาการด้านบุคลกิ ภาพในวัยผใู้ หญ่ ในวัยน้ีเป็นวัยทม่ี ชี ่วงระยะเวลาของชวี ติ ทยี่ าวนาน เรม่ิ ตง้ั แตส่ ้นิ สุดวัยร่นุ ตอนปลายเป็นต้นมา ซึ่งจะแบง่

ไดเ้ ป็น ๒ ระยะ คอื ๔.๑ พัฒนาการดา้ นบคุ ลกิ ภาพในวยั ผใู้ หญ่ ช่วงอายุ (๒๑ - ๔๐ ป)ี ในวัยนี้จะมีเหตุการณ์ที่สำคัญ ๒ เรื่องใหญ่ คอื เรือ่ งหนา้ ที่การงาน และการเลอื กแนวทางการดำเนนิ

ชีวิต เม่อื จบการศกึ ษาเริม่ ทำงานก็ต้องมีการปรับตัวกับหนา้ ทกี่ ารงานท้งั ในลักษณะของงาน และบุคคลท่ีเก่ียวข้องใน สังคม และสภาวะแวดลอ้ มของแต่ละคน

เมื่อแต่งงานก็มีการปรับตัวในด้านต่าง ๆ เพื่อให้การมีชีวิตครอบครัวเป็นไปอย่างราบรื่น ซึ่งการ ปรับตัวต้องเปน็ การปรับตวั ทัง้ สองฝา่ ยเปน็ ระยะ ๆ ไปตลอดชีวิตการแตง่ งานหรอื การมคี รอบครวั

๔.๒ พัฒนาการด้านบุคลิกภาพในวัยผู้ใหญ่ ชว่ งอายุ (๔๑ - ๖๐ ป)ี ในวยั นีพ้ ฒั นาการทางดา้ นรา่ งกายจะเส่ือมลง ดังนัน้ บุคลกิ ภาพภายนอกจะเปลยี่ นแปลงอย่างชัดเจน

เช่น สผี ม สขุ ภาพ การมีโรคภยั ไข้เจ็บที่สง่ ผลต่อความสมบูรณ์แขง็ แรงของร่างกาย ในเพศหญงิ การผลติ ฮอร์โมนลดลง ผลที่ตามมาคือ ไม่มีประจำเดือน ทำให้สภาพอารมณ์เปลี่ยนแปลง เช่น โมโหง่าย หรืออาจซึมเศร้า แต่ในช่วงวัย กลางคน จะมสี ภาพการณห์ ลายอย่างที่เป็นด้านบวก ทำใหม้ คี วามสุข ความพอใจในชีวิต เชน่ ประสบความสำเร็จใน หน้าที่การงาน การมีฐานะที่มัน่ คง มีครอบครัวที่อบอุ่น ด้านบุคลิกภาพก็จะมีความภูมิฐาน น่าเชื่อถือ แสดงออกถึง ความมั่นใจในตนเอง สังคมยอมรับนบั ถอื และยกยอ่ ง

๕. พฒั นาการด้านบคุ ลิกภาพในวัยสูงอายุ (๖๐ ปี เป็นตน้ ไป) ช่วงชีวิตในวัยนี้ถือเป็นระยะหลังของชีวิต ที่จะต้องมีการปรับตัวมาก การที่จะมีชีวิตอย่างมีความสุข

จะตอ้ งมีการเตรยี มตวั มาตงั้ แตว่ ยั กลางคน เพราะสิ่งที่จะนำไปสคู่ วามทุกข์ ความไม่สบายใจ มกั เกิดจากส่ิงใกลต้ วั เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกาย การมีโรคภัยไข้เจ็บ การจากไปของญาติพี่น้อง หรือคู่ชีวิต การถูกทอดทิ้ง ขาด ความเอาใจใส่จากลกู หลาน เป็นต้น

ผ้สู ูงอายุทไ่ี ดม้ ีการเตรียมตัวมาแล้วตงั้ แตว่ ัยกลางคน จะสามารถปรับตัวได้ดี เช่น ยอมรับการเปล่ยี นแปลง ของรา่ งกาย มคี วามวิตกกังวลเกยี่ วกับตนเองหรือคนอ่นื น้อย มคี วามสัมพันธอ์ นั ดีกบั บุคคลในทกุ ระดับอายุ มีความสุข ในการทำงานอดิเรกตามท่ตี นเองถนดั และสนใจ มคี วามสงบทางจิตใจโดยอาศยั หลักธรรมทางศาสนาเป็นสง่ิ ยึดเหนีย่ ว

กลา่ วโดยสรุปไดว้ ่า การพัฒนาการดา้ นบคุ ลิกภาพของมนษุ ยใ์ นแต่ละชว่ งวยั ของชวี ิต จะส่งผลต่อพัฒนาการ ในวัยต่อมา ถ้าในแต่ละช่วงวัยบุคคลสามารถพัฒนาบุคลิกภาพได้ดี ปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมในแต่ละวัยได้ จะ สง่ ผลให้บคุ คลน้นั มบี ุคลกิ ภาพทดี่ ี

สรุปท้ายหน่วย

บคุ ลิกภาพเป็นปจั จยั สำคญั ท่ีช่วยส่งเสริมให้บคุ คลไดร้ ับการยอมรับจากคนในสังคม อนั จะนำไปสูก่ ารประสบ ความสำเร็จในดา้ นต่าง ๆ

บคุ ลกิ ภาพ หมายถงึ ลกั ษณะเฉพาะของบคุ คลโดยรวมที่แสดงออกทัง้ ทางกาย และจิตใจ และความสามารถ ในการปรบั ตัวเข้ากบั สิ่งแวดล้อมทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์ของตน

บคุ ลกิ ภาพ มีความสำคัญในการสรา้ งประโยชนใ์ ห้บุคคลในการสรา้ งความเชอ่ื มนั่ ความสำเร็จ ความเป็น เอกลกั ษณ์ของบคุ คล ความสามารถในการปรบั ตวั และการคาดหมายพฤตกิ รรมบคุ คล

องคป์ ระกอบของบคุ ลกิ ภาพ ประกอบขนึ้ ดว้ ยองคป์ ระกอบในดา้ นกายภาพ วาจา สตปิ ญั ญา อารมณ์ ความ สนใจ ทัศนคติ และการปรบั ตวั

บคุ ลกิ ภาพของบุคคลโดยท่วั ไปแบ่งเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ บุคลิกภาพภายนอก และ บุคลกิ ภาพภายใน

ปจั จยั ที่มีอิทธพิ ลต่อการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น ๓ ประเภท คือ พันธกุ รรม สงิ่ แวดล้อม และ ประสบการณ์

บุคลิกภาพของบคุ คลจะผา่ นพัฒนาการไปตามความเจริญเตบิ โต ตามชว่ งอายุ หรอื วยั และตามอิทธิพลของ สง่ิ แวดล้อม สงั คม รวมท้ังประสบการณ์ท่ีได้รับในแต่ละช่วงวัย

ดังนัน้ บุคลิกภาพจงึ เป็นสงิ่ ทม่ี ีความสำคญั ต่อการดำรงชีวิตของมนุษยใ์ นสงั คมปจั จุบนั อย่างมาก ทั้งทางดา้ น ส่วนตวั และส่วนรวม