วิชา กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม

แผนการจดั การเรียนรมู ุงเนนสมรรถนะอาชพี บูรณาการรว มหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รหสั วิชา ๒๐๐๐ – ๑๕๐๑ วิชา กจิ กรรมสง เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม
สาขาวชิ า ทกุ สาขาวชิ า หลกั สูตร ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.)

ประเภทวิชา สามญั สมั พันธ

โดย
นานงาสงาสวากวญั วรญศิ ารราัตนเย์ อ็นตุ ใจรวมเิ าชยี ร

แผนกวชิ า สามัญสมั พนั ธ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาแพร
สํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แนวการจดั กจิ กรรม

สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา 1

แนวการจัดกจิ กรรม

ส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศึกษา

หนว่ ยศึกษานิเทศก์

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ

2 แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

แนวการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

พมิ พ์ครง้ั ท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖1 จานวน 1,500 เล่ม
ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๓๙๕-๘๘๒-๒

ลิขสิทธ์ิ หน่วยศึกษานิเทศก์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร

บรรณาธิการและรปู เลม่ : อยทู่ อง ผ้ชู านาญการดา้ นการจดั การเรยี นการสอน
นางสาววลั ลภา อาชีวศึกษาและกระบวนการเรียนรู้
หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์
นางวยิ ดา วฒั นาเมธี
วิทยาลยั เทคนคิ ตาก
นายวิทยา มัน่ เตมิ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาแพร่
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาแพร่
นางสาวรชั ตธ์ ร พรหมศลิ ป์ วทิ ยาลัยเทคนิคเขาวง

นางสาวพรรณลกั ษณ์ มหาวัน วทิ ยาลัยเทคนิคเขาวง
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยชี ยั นาท
นายดาวไทย เบาราญ วิทยาลัยสารพัดชา่ งศรีสะเกษ
วทิ ยาลยั การอาชพี หนองหาน
นายวิรุฬห์ นาสอุ ินทร์ วิทยาลยั เทคนคิ อุดรธานี

นางราตรี มงคลนมิ ติ วทิ ยาลัยการอาชีพไชยา
วทิ ยาลยั เทคนคิ ปราจนี บุรี
นายสรุ ะภี ผกาพันธ์

นายชชั วาลย์ สาระภมู ิ

นายเอกวิทย์ ธาตไุ ชย

นายประเสรฐิ ทองสาลี

นายกรกฎ รอดพูล

พมิ พ์ที่ หา้ งห้นุ ส่วนจากดั สนิ ทวกี ิจ พรนิ้ ติ้ง (สานักงานใหญ)่
๗๗/๔๑ หมู่ท่ี ๗ ตาบลคลองโยง อาเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐
โทรศพั ท์ ๐๘๖-๔๙๐๒๒๖๑, ๐๓๔-๙๖๔๔๕๙, ๐๓๔-๙๖๔๔๖๐
โทรสาร ๐๓๔-๙๖๔๔๖๐

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา 3

คำนำ

แนวการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์
ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม โดยในการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน
ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และต้องถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตลอดจนต้อง
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความรู้ควบคู่กับคุณธรรม ประกอบกับกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ
ได้กาหนดให้ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับต้องมีคุณภาพ ๔ ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความ
รับผิดชอบ ซ่ึงในการจัดการศึกษาสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้กาหนดนโยบายให้มีการ
บรู ณาการคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการจดั การเรียนการสอนทุกรายวชิ า รวมทัง้ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร

ท้ังน้ี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้กาหนดให้มีรายวิชากิจกรรมเสริมส่งเสริม
คุณธรรม จริยธรรม ทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพและระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง โดย
มอบหมายให้หน่วยศึกษานิเทศก์จัดทาเอกสาร “แนวการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา” ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่หลากหลาย เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ สาหรับเป็นแนวทางให้สถานศึกษาอาชีวศึกษานาไปจัดในรายวิชาดังกล่าว หรือเลือก
บางกิจกรรมไปจัดในรายวิชาและกิจกรรมอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง หรือนาไปจัดค่ายเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรมและธรรมาภิบาลแก่ผู้เรียน โดยมุ่งเน้นคุณธรรมหลัก ๔ ด้าน คือ พอเพียง มีวินัย สุจริต
จิตอาสา สาหรับเอกสารฉบับนี้ได้จัดพิมพ์เป็นคร้ังท่ี ๓ โดยได้มีการพัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรม
สง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม พรอ้ มภาพประกอบและสื่อการเรยี นรู้เสนอแนะเพิ่มเตมิ

หน่วยศึกษานิเทศก์ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ศึกษานิเทศก์ ผู้บรหิ าร ครูและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง
ในการจัดทาเอกสารฉบับน้ี มา ณ โอกาสนี้ และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ
สถานศกึ ษาในการนาไปใช้เป็นแนวทางในการเสริมสร้างคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียนอาชวี ศึกษา
ตอ่ ไป

หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ตุลาคม ๒๕๖1

4 แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

สำรบญั

แนวการจดั กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

หน้า
บทนา ๑

• ความเปน็ มา ๑
• แผนแม่บทสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๔) ๒
• แนวคิดดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๓
• คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการของกระทรวงศึกษาธิการ ๕

• คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์
ของผู้สาเร็จการศึกษาตามระดับคุณวฒุ ิอาชีวศึกษา ๑๐
๑๓
• คา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ
• นยิ ามศัพท์ทเ่ี กีย่ วข้อง

แนวทางการพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรมผูเ้ รียนอาชวี ศกึ ษา ๑๕

• คณุ ภาพของผสู้ าเร็จการอาชีวศึกษา ๑๕
• หลักสูตรการอาชีวศกึ ษากบั การพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรมผู้เรยี น ๑๖
• กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร ๑๘

• รายละเอียดของรายวชิ ากจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ๒๐
• กรอบแนวคดิ การจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ๒๓
• การประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒๕

กจิ กรรมเสนอแนะ ๒๗

• หนว่ ยกิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล ๒๙
ตามคา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
4๙
• หน่วยกิจกรรมที่ ๒ กจิ กรรมปลูกจติ สานึกความเป็นคนดี 5๙
• หน่วยกจิ กรรมท่ี ๓ กจิ กรรมทาความดีตามรอยพระยคุ ลบาท ๗1
97
• หน่วยกจิ กรรมท่ี ๔ กิจกรรมอนุรักษศ์ ิลปวัฒนธรรม ๑17
• หนว่ ยกจิ กรรมที่ ๕ กจิ กรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
• หน่วยกิจกรรมท่ี ๖ กจิ กรรมพฒั นาตน ชมุ ชน ท้องถ่นิ และประเทศชาติ

บรรณานุกรม ๑๒๔

แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 5

สำรบญั (ตอ่ )

แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

ภาคผนวก หนา้
๑2๗
• แบบฟอรม์ การเขยี นโครงการ
• แบบฟอรม์ การเขยี นโครงการสอน ๑๒๙
• แบบฟอรม์ การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ ๑๓๑
• เครือ่ งมอื ตดิ ตามประเมนิ ผลการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล 1๓๙
• ส่ือการเรยี นรเู้ สนอแนะ ๑๕๓
• คาสั่งสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่ี ๑๒๙/๒๕๖๐ ๑๗๒
• หนงั สือ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ ศธ 0613/1339 ๑๗๙
๑๘8
ลงวนั ท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ 2560 เรื่อง เพิม่ รายวิชากจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม
จริยธรรม ในหลกั สูตร ปวช.2556 และ ปวส. 2557 18๙
• ภาพแนวการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ๑๙๕
• คณะทางาน

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 1

บทนำ

แนวการจดั กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

• ความเปน็ มา

สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2545 ได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษา ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์
ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม โดยในการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน
ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และต้องถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการ
จัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตลอดจนต้อง
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความรู้ควบคู่กับคุณธรรม นอกจากนี้ แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ
ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๔) ก็ให้ความสาคัญในการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรมของประชาชน โดยให้
นาศาสนา วัฒนธรรมและความเป็นไทยมาสร้างสรรค์สังคมไทยให้เกดิ ความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพและ
คุณธรรม เป็นการพฒั นาประเทศท่ีมีความสมดุลทงั้ ดา้ นวัตถแุ ละจิตใจ โดยให้ “คุณธรรมนาการพัฒนา”
สร้างสังคมแห่งคุณธรรมตามแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ให้สังคมเกิดความม่ันคง สงบสุขรม่ เยน็ ด้วยมิติ
ทางศาสนา รวมทั้งระบบเศรษฐกิจเกิดความม่ังค่ัง เข้มแข็งด้วยวิถีวัฒนธรรมไทย และย่ังยืนด้วยหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งหวังที่จะเห็น ๓ สถาบันหลักของชาติ คือ ชาติ ศาสนาและ
พระมหากษัตรยิ ์ มคี วามเข้มแขง็ เป็นฐานรากให้บา้ นเมืองสมานฉันท์และมน่ั คงอยา่ งยง่ั ยืน

กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศนโยบายที่จะเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรม
นาความรู้ สร้างความตระหนกั และปลกู จติ สานึกในคณุ ค่าของปรัชญาพอเพยี ง ความสมานฉันท์ สันติวิธี
วิถีประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพ้ืนฐานของกระบวนการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงความร่วมมือ
ของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี มี
ความรู้และอยู่ดีมีสุข ซ่ึงในส่วนของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาก็ได้ตระหนักถึงความสาคัญ
ของการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลแก่นักเรียน นักศึกษา ประกอบกับกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้กาหนดให้ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับต้องมี
คุณภาพ ๓ ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และด้าน
สมรรถนะวิชาชีพ ซ่ึงต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้มีการปรับปรุงกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติเพื่อให้
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔ แผนการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ กรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาติ ฉบบั ปรบั ปรงุ รวมท้ังมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ.
๒๕๖๑ จึงได้มีการกาหนดให้ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาทุกระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษา ประเภทวิชาและ
สาขาวิชาตอ้ งครอบคลมุ อย่างน้อย ๔ ด้าน คอื ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ และด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ

2 แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

ทั้งนี้ในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ให้มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชา และกาหนดให้มีสัดส่วนการวัดและ
ประเมินผลคิดเป็นร้อยละ 20 ในแต่ละรายวิชา ตลอดจนจัดให้มีการบูรณาการในการจัดกิจกรรมเสริม
หลกั สูตรของสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาด้วย ทั้งนี้ เพ่ือให้การดาเนินการดังกล่าวสามารถสร้างเสรมิ นักเรียน
นักศึกษาอาชีวศึกษาได้อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้พิจารณากาหนดรายวิชากิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรม ในโครงสรา้ งหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบีตรวิชาชีพชั้นสูง ซึ่ง
ประกอบดว้ ยรปู แบบของกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลที่หลากหลาย เพ่ือเป็น
แนวทางสาหรับสถานศึกษาอาชีวศึกษานาไปใช้และหรือประยุกต์ใช้ตามบริบทของสถานศึกษา ในการ
พฒั นานักเรียน นกั ศึกษาให้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ตามระดับคุณวุฒิ
อาชวี ศึกษา สอดคลอ้ งกบั ค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ เพ่ือความเป็นพลเมืองดีของสังคม ชมุ ชน
และประเทศชาติต่อไป

• แผนแมบ่ ทสง่ เสริมคณุ ธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๔)

ตามที่ได้กล่าวมาแล้วว่า รัฐบาลได้กาหนด “แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ” เพื่อให้
สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของประชาชน โดยให้นา
ศาสนา วัฒนธรรมและความเป็นไทยมาสร้างสรรค์สังคมไทยให้เกิดความเข้มแข็งอย่างมีคุณภาพและ
คณุ ธรรม เพื่อให้สังคมเกิดความมั่นคง สงบสุข ร่มเย็นดว้ ยมิตทิ างศาสนา ระบบเศรษฐกจิ เกิดความมั่งค่ัง
เข้มแข็งด้วยวิถีวฒั นธรรมไทย และย่ังยืนด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้การดาเนินการ
ขบั เคลอื่ นแผนแม่บทดังกล่าวบรรลเุ ป้าหมาย จงึ ได้กาหนดยทุ ธศาสตร์ในการดาเนนิ การ ดงั น้ี

๑. วางระบบรากฐานการเสริมสร้างคุณธรรมในสังคมไทย
๒. สรา้ งความเข้มแข็งในระบบการบรหิ ารจดั การดา้ นการส่งเสริมคุณธรรมให้เป็นเอกภาพ
๓. สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการสง่ เสริมคุณธรรม
๔. สง่ เสริมใหป้ ระเทศไทยเปน็ แบบอย่างดา้ นคณุ ธรรมในประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก

ทงั้ นี้ เป้าหมายในการขบั เคลอ่ื นแผนแมบ่ ทส่งเสริมคณุ ธรรมแห่งชาติ คือ

๑. ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องดีงามด้วยหลักธรรมทางศาสนา มีความมั่งคั่ง ยั่งยืนด้วย
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและวถิ วี ัฒนธรรมไทย

๒. องค์กร/หน่วยงาน/ชุมชน/สังคม เป็นสังคมคุณธรรมที่ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนาและ
พระมหากษัตริย์ มีความเออ้ื อาทรและแบ่งปนั

๓. ประเทศชาติมีความสงบสุข สมานฉันท์ ม่ันคงด้วยมิติทางศาสนาอย่างยั่งยืน เป็น
แบบอย่างในการส่งเสรมิ คุณธรรมในประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลก

ข้อปฏิบตั ิหลักสาหรบั สงั คมคณุ ธรรม ในแผนแมบ่ ทดังกล่าว ประกอบด้วย
๑. การยึดและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาของแต่ละศาสนา ซ่ึงพื้นฐานของแต่ละศาสนา
ต่างก็มุ่งสอนให้ศาสนิกประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนา โดยให้มุ่งกระทาแต่ความดีและละเว้น

แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 3

การกระทาความช่ัวท้ังปวง แก่นแท้ของความดีคือการนาหลัก “ธรรมะ” ไม่ว่าจะเปน็ ของศาสนาใดมายึดถือ
ปฏิบัติเพื่อให้เป็นคน “คิดดี พูดดี ทาดี” จนเป็นธรรมชาติหรือลักษณะนิสัย เพราะ “ธรรมะ” ที่ทุกศาสนา
สอนล้วนแต่เป็นสิ่งท่ีสร้างให้คน “คิดดี” ท้ังสิ้น เม่ือเป็นคนคิดดีก็จะพูดดีและทาดี ก่อให้เกิดประโยชน์
ตอ่ ส่วนรวมและสังคม จึงส่งผลใหส้ งั คมและประเทศชาติเจรญิ ก้าวหนา้ อยา่ งย่งั ยืน

๒. การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นหลักในการพัฒนาคุณภาพชวี ิตให้สามารถดาเนินชีวิตอยา่ งมั่นคง
บนพ้ืนฐานของการพึ่งพาตนเอง ความพอมพี อกิน การรู้จักพอประมาณ และการคานึงถึงความมีเหตุผล โดย
ยดึ หลกั ทางสายกลาง แนวคดิ นี้เปน็ ปรชั ญาทชี่ ้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบตั ติ นด้วยความร้คู ูค่ ุณธรรม
และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อ
ความม่นั คงและความยัง่ ยืนของการพัฒนา

๓. การดารงชีวิตตามวิถีวัฒนธรรมไทยท่ีดีงาม ซึ่งถือเป็นแบบแผนของการประพฤติปฏิบัติของ
ผู้คนในสังคมที่ได้รับการสั่งสมจากรุ่นต่อรุ่น แสดงออกในรูปของสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความคิด สติปัญญา
รวมทั้งระบบคุณธรรม ได้แก่ ภาษา การแต่งกาย เทคโนโลยี ศิลปะ กิริยาท่าทาง รวมไปถึงความคิด
ความเช่ือ คา่ นยิ ม

• แนวคดิ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

เน่ืองจากจริยธรรมเป็นระบบของการทาความดี ละเว้นความชั่ว จึงทาให้พฤติกรรมหลาย
พฤติกรรมมีความเกี่ยวข้องกับจริยธรรม ซ่ึงนักวิชาการได้เสนอแนะลักษณะของพฤติกรรมจรยิ ธรรมไว้
ดังน้ี (รองศาสตราจารย์ ดร. ดจุ เดอื น พันธุมนาวิน, ๒๕๕1)

1. พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกบั หลักทางศาสนา ซง่ึ ทุกศาสนาสอนให้บุคคลเป็นคนดี ขัดเกลาให้
จติ ใจอ่อนโยน และส่งเสริมให้บุคคลช่วยเหลือส่วนรวม ได้แก่ การรักษาศีล การให้ทาน การปฏิบัติธรรม
การทาสมาธิ ฯลฯ

2. พฤติกรรมตามคุณธรรมและค่านิยมต่าง ๆ ท่ีสังคมเห็นว่าเป็นสงิ่ ดีงามและสาคญั สมาชิก
ในสังคมควรยึดปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ จรรยาบรรณวิชาชีพ ความ
เป็นกลั ยาณมติ ร ความประหยัด ความสามคั คี ความรับผดิ ชอบ ฯลฯ

3. พฤติกรรมที่แสดงถึงการกระทาเพ่ือส่วนรวม สังคม เพ่ือจรรโลงไว้ซ่ึงความสงบสุขร่มเย็น
ของประชาชนสว่ นใหญใ่ นสังคม ไดแ้ ก่ การเคารพกฎหมาย การเคารพสิทธมิ นุษยชน ความรบั ผดิ ชอบต่อ
หน้าท่ี การอทุ ศิ ตนในการทางาน ฯลฯ

4. พฤติกรรมที่แสดงถึงการกระทาที่ต้องการให้บังเกิดผลดีท้ังในระยะส้ันและระยะยาว
ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม ได้แก่ การทางานอย่างมีจริยธรรม การมีวินัยในตนเองหรือการ
ควบคุมตนเอง การเปน็ สมาชกิ ท่ีดใี นองคก์ าร ฯลฯ

5. พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการให้รางวัล ส่งเสริมผู้อ่ืน และพฤติกรรมลงโทษผู้อ่ืนอย่าง
ยุติธรรม ได้แก่ การสนับสนนุ ทางสังคมของหัวหน้าต่อลูกน้อง การปกครองของหัวหน้า การอบรมเล้ียงดู
บุตรหลานของผู้ปกครอง การดูแลส่งั สอนอบรมของครูแกน่ ักเรียน ฯลฯ

4 แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

สาหรับ โครงสร้างของแนวคิดด้านจริยธรรม จะประกอบด้วยคุณธรรมซ่ึงมาจากคาสอนทาง
ศาสนา ซึง่ จดั เป็นพฤตกิ รรมทางบวก ได้แก่

1. ความรับผิดชอบ (Accountability) คือ ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความผูกพัน
ด้วยความพากเพียรและความละเอียดรอบคอบ ยอมรับผลการกระทาในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้
บรรลุผลสาเรจ็ ตามความมุ่งหมาย รวมทั้งพยายามที่จะปฏิบตั ิหนา้ ที่ใหด้ ีย่งิ ขึ้น

2. ความซ่ือสัตย์ (Honesty) คือ การประพฤติอย่างเหมาะสมและตรงต่อความเป็นจริง
ประพฤติปฏิบัตอิ ย่างตรงไปตรงมา ท้ังกาย วาจา ใจ ตอ่ ตนเองและผู้อืน่

3. ความมีเหตุผล (Rationality) คือ ความสามารถในการใช้ปัญญาในการประพฤติปฏิบัติ
รู้จักไตร่ตรอง พิสูจน์ให้ประจักษ์ ไม่หลงงมงาย มีความยับยั้งชั่งใจ โดยไม่ผูกพันกับอารมณ์และความ
ยดึ มน่ั ของตนเองท่ีมอี ยูเ่ ดิมซ่ึงอาจผดิ ได้

4. ความกตัญญูกตเวที (Gratitude) คือ ความรู้สานึกในอุปการคุณ หรือบุญคุณที่ผู้อื่น
มตี อ่ เรา

5. ความมีระเบียบวินัย (Disciplined) คือ การควบคุมความประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้อง และ
เหมาะสมกบั จรรยามารยาท ข้อบังคับ ขอ้ ตกลง กฎหมายและศีลธรรม

6. ความเสียสละ (Sacrifice) คือ การละความเห็นแก่ตัว การให้ปันแก่บุคคลที่ควรให้ด้วย
กาลังกาย กาลังสตปิ ัญญา รวมทงั้ การรู้จกั สลดั ท้ิงอารมณ์ร้ายในตนเอง

7. การประหยัด (Thrifty) คอื การใช้ส่ิงของพอเหมาะพอควรให้ได้ประโยชน์มากที่สุด ไม่ให้
มีส่วนเกินมาก รวมท้งั การร้จู ักระมัดระวัง รจู้ ักยบั ย้งั ความตอ้ งการใหอ้ ย่ใู นกรอบและขอบเขตทพี่ อเหมาะ

8. ความอุตสาหะ (Diligence) คือ ความพยายามอย่างเขม้ แขง็ เพื่อให้เกิดความสาเรจ็ ในงาน
9. ความสามัคคี (Harmony) คือ ความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน มีความพร้อมเพรียง
รว่ มมือกันกระทากิจการให้สาเรจ็ ลุลว่ งดว้ ยดี โดยเหน็ แก่ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตัว
10. ความเมตตาและกรุณา (Loving Kindness and Compassion) คือ ความรักใคร่
ปรารถนาจะใหผ้ ้อู ่นื มสี ุข กรณุ า หมายถึง ความสงสาร คิดจะชว่ ยใหผ้ อู้ นื่ พ้นทุกข์
11. ความยุติธรรม (Justice) คือ การปฏิบตั ิด้วยความเท่ยี งตรง สอดคล้องกบั ความเป็นจริง
และเหตุผล ไม่มีความลาเอยี ง

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 5

• คณุ ธรรมพืน้ ฐาน ๘ ประการของกระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายที่จะเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรม
นาความรู้ สร้างความตระหนักและปลูกจิตสานึกในคุณค่าของปรัชญาพอเพียง ความสมานฉนั ท์ สันติวิธี
วิถีประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือ
ของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนาและสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดี
มคี วามรู้และอยู่ดีมีสุข โดยกาหนดคุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ เพ่ือแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เกิด
จิตสานกึ ท่ีดใี นการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ น ประกอบดว้ ย

คณุ ธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ พฤตกิ รรมบง่ ชี้
(การแสดงออกด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรยี น)

1. ขยัน

หมายถึง ความต้ังใจเพียรพยายามทาหน้าท่ี ๑.๑ ต้ังใจทาอย่างจริงจงั ตอ่ เนอ่ื งในเรอื่ งทถ่ี ูก

การงานอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ อดทน ไม่ ทคี่ วร

ท้อถอยเมื่อพบอุปสรรค ความขยนั ต้องควบคู่ ๑.๒ สู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชญิ

กับการใช้ปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสาเร็จ อปุ สรรค

ตามความมุ่งหมาย

2. ประหยดั
หมายถึง การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน ๒.๑ ดาเนนิ ชวี ติ เรียบงา่ ย ร้จู กั ฐานะการเงนิ
สิ่งของให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ของตน คดิ กอ่ นใช้ คดิ กอ่ นซอื้
ฟุ้งเฟ้อ ๒.๒ เก็บออม ถนอมใชท้ รัพย์สนิ ส่ิงของอย่างคุ้มค่า

๒.๓ ทาบัญชีรายรบั -รายจา่ ยของตนเองอยู่เสมอ

3. ซื่อสัตย์

หมายถึง การประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มี ๓.๑ ประพฤตติ รง ท้ังต่อหนา้ ที่ ต่อวชิ าชพี

เล่ห์เหล่ียม มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึก ๓.๒ ตรงต่อเวลา

ลาเอียงหรอื อคติ ๓.๓ ไม่ใชเ้ ลห่ ก์ ล คดโกง ทั้งทางตรงและทางออ้ ม

๓.๔ รบั รู้หน้าที่ของตนเองและปฏิบัตอิ ย่างเตม็ ที่

ถกู ต้อง

4. มีวินัย

หมายถึง การยึดม่ันในระเบียบแบบแผน ๔.๑ ปฏิบัตติ นในขอบเขต กฎระเบียบของ

ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเอง สถานศึกษา สถาบนั /องคก์ ร/สังคมและ

และวนิ ัยตอ่ สงั คม ประเทศ

๔.๒ ยนิ ดีปฏบิ ตั ิตามระเบียบแบบแผน ข้อบังคบั

และข้อปฏบิ ัติอย่างเต็มใจและตง้ั ใจ

6 แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

คณุ ธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ พฤติกรรมบง่ ช้ี
(การแสดงออกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรยี น)

5. สุภาพ

หมายถึง ความเรียบร้อย อ่อนโยน ละมุน ๕.๑ ออ่ นน้อมถอ่ มตนตามสถานภาพและ

ละม่อม มีกริ ยิ ามารยาทท่ดี ีงาม มสี ัมมาคารวะ กาลเทศะ

๕.๒ ไม่กา้ วร้าว รุนแรง วางอานาจขม่ ผ้อู ื่น ทัง้

โดยวาจาและทา่ ทาง

๕.๓ มัน่ ใจในตนเอง มมี ารยาท วางตนเหมาะสม

ตามวฒั นธรรมไทย

6. สะอาด
หมายถึง ปราศจากความมัวหมอง ท้ังกาย ใจ ๖.๑ รักษารา่ งกาย ที่อยู่อาศัย สิง่ แวดลอ้ ม
และสภาพแวดล้อม ความผ่องใส เป็นที่ ถกู ตอ้ งตามสขุ ลักษณะ
เจริญตา ทาให้เกิดความสบายใจแกผ่ ู้พบเหน็ ๖.๒ ฝกึ ฝนจิตใจมิให้ขนุ่ มัว มีความแจ่มใสอยู่เสมอ

7. สามัคคี

หมายถงึ ความพรอ้ มเพรียงกัน ความกลมเกลยี ว ๗.๑ เปิดใจกว้างรบั ฟังความคดิ เห็นของผอู้ ่นื

กัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกันปฏิบัติงานให้ ๗.๒ รบู้ ทบาทของตน ทัง้ ในฐานะผนู้ าและผตู้ าม

บรรลุผลตามที่ต้องการ เกิดงานการอย่าง ทด่ี ี

สร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอา ๗.๓ มุง่ ม่นั ต่อการรวมพลงั ช่วยเหลอื เก้ือกูลกัน

รัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล เพ่อื ให้การงานสาเรจ็ ลลุ ว่ ง

ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ๗.๔ แกป้ ญั หาและขจัดความขัดแยง้ ได้ มีเหตผุ ล

ความหลากหลายในเร่ืองเช้ือชาติ ยอมรับความแตกตา่ งหลากหลายทาง

วฒั นธรรม ความคิด ความเช่ือ พรอ้ มทจี่ ะ

ปรบั ตัวเพอ่ื อยรู่ ่วมกันอยา่ งสนั ติ

8. มีน้าใจ

หมายถึง ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเอง ๘.๑ เปน็ ผใู้ หแ้ ละผูอ้ าสาชว่ ยเหลอื สงั คม รูจ้ กั

หรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจ เห็น แบ่งปนั เสียสละความสขุ สว่ นตน เพ่อื ทา

คณุ ค่าในเพ่อื นมนษุ ย์ มีความเอ้ืออาทร เอาใจใส่ ประโยชน์แก่ผ้อู น่ื

ให้ความสนใจในความต้องการ ความจาเป็น ๘.๒ เข้าใจ เหน็ ใจผทู้ ่ีมีความเดือดรอ้ น อาสา

ความทุกข์สุขของผู้อ่ืน และพร้อมท่ีจะให้ ช่วยเหลอื สังคมดว้ ยแรงกาย สตปิ ญั ญา

ความช่วยเหลือเก้ือกลู กันและกนั ลงมอื ปฏิบตั กิ ารเพ่ือบรรเทาปญั หาหรอื ร่วม

สร้างสรรคส์ ง่ิ ดงี ามให้เกิดขน้ึ ในชมุ ชน

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา 7

• คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้สาเรจ็ การศึกษา
ตามระดับคุณวฒุ อิ าชีวศกึ ษา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาร่วมกับสานักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต

แหง่ ชาตไิ ด้จัดทารายการคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผูส้ าเรจ็ การศกึ ษา
ตามระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษา พรอ้ มท้งั พฤติกรรมบ่งช้ีการแสดงออกด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมของนักเรียน
นักศึกษา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยพัฒนามาจากรายการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงคข์ องผู้สาเร็จการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบด้วย

คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม พฤตกิ รรมบง่ ช้ี

และคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ (การแสดงออกด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรียน)

1. รบั ผดิ ชอบ

หมายถงึ การยอมรบั ผลการกระทาของตนเอง ๑.๑ ปฏิบตั ิงานตามทีม่ อบหมายสาเรจ็ ตาม

ท้ังในส่ิงที่ดีและไม่ดี และสามารถควบคุม ทก่ี าหนด

ตนเองได้ มีความมุ่งม่ันและเพียรพยายามใน ๑.๒ ปฏิบัตงิ านโดยคานึงถงึ ความปลอดภัย

การเรี ยน แล ะการป ฏิ บั ติ งาน ให้ บ รรลุ ตอ่ ตนเองและผูอ้ น่ื

วัตถุประสงค์ ทันกาหนดเวลา มีการวางแผน ๑.๓ ยอมรับผลการกระทาของตนเอง

การปฏิบัติงาน การใช้เวลาอย่างมีระบบและ

เหมาะสม ตลอดทั้งการปฏิบัติอย่างครบถ้วน

โดยคานึงความปลอดภัยต่อตนเอง ผู้อ่ืนและ

สงั คม

2. ขยนั

หมายถึง ความต้ังใจเพียรพยายามทาหน้าที่ ๒.๑ ศึกษาค้นควา้ แสวงหาความรูใ้ หม่ ๆ ดว้ ย

การงานอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ อดทน ไม่ ตนเอง

ท้อถอยเม่ือพบอุปสรรค ความขยนั ตอ้ งปฏิบัติ ๒.๒ แสวงหาประสบการณเ์ พ่อื พัฒนาการปฏิบตั ิ

ควบคู่กับการใช้สติปัญญาแก้ปัญหา และหรือ งานอาชพี

พัฒนาส่ิงใหม่ ๆ จนเกิดผลสาเร็จตามความ ๒.๓ ต้ังใจทาหนา้ ที่การงานอย่างต่อเนื่องจนเกดิ

มุ่งหมาย ผลสาเร็จ

๒.๔ คิดริเร่ิมสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ ๆ ทเี่ ป็นประโยชน์

ตอ่ ตนเองและสังคม

๒.๕ มคี วามคดิ หลากหลายในการแกป้ ญั หา

8 แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม พฤติกรรมบง่ ชี้

และคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ (การแสดงออกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรียน)

3. ประหยดั

หมายถึง การรู้จักเก็บออมถนอมใช้ทรัพย์สิน ๓.๑ ใช้วัสดุถกู ต้อง พอเพยี งและเหมาะสมกบั งาน

สิ่งของแต่พอควร พอประมาณ ให้เกิดประโยชน์ ๓.๒ ปิดนา้ ปดิ ไฟทกุ ครง้ั เมอ่ื เลกิ ใช้

คุ้มค่า ไมฟ่ ุ่มเฟอื ย ฟุ้งเฟ้อ ๓.๓ เก็บออม ถนอมใช้ทรพั ยส์ ิน ส่งิ ของให้เกิด

ประโยชนค์ มุ้ คา่

๓.๔ ดาเนนิ ชีวิตเรยี บงา่ ยตามสถานภาพของตน

4. ซ่ือสัตย์สุจรติ

หมายถึง ความประพฤติที่ตรงและจริงใจ ๔.๑ ประพฤตติ รง ท้งั ตอ่ หนา้ ทแ่ี ละตอ่ วชิ าชีพ

ทั้งต่อหน้าที่และวิชาชีพ ไม่คิดคดทรยศ ๔.๒ ไม่โกหก

ไม่คดโกง ไม่หลอกลวง ไม่เอนเอียง ไม่มี ๔.๓ ไมล่ กั ขโมย

เล่ห์เหลี่ยม ปลอดจากความรู้สึกลาเอียงหรือ ๔.๔ ไมท่ จุ ริตในการสอบ

อคติ ๔.๕ ไม่นาผลงานของผูอ้ น่ื มาแอบอา้ งเปน็ ของ

ตนเอง ทั้งดา้ นวชิ าการและวิชาชีพ

๔.๖ ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่และรักษาประโยชน์ขององคก์ ร

๔.๗ ไม่เพิกเฉยต่อสงิ่ ทีไ่ ด้รับรูแ้ ละการกระทา

ที่ไมถ่ กู ตอ้ ง

5. จิตอาสา

หมายถึง การมีจิตใจเป็นผู้ให้ มีน้าใจ เห็น ๕.๑ ช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ ด้วยกาลงั แรงกายและ

อกเห็นใจเพ่ือนมนุษย์ เอื้ออาทร ช่วยเหลือ สตปิ ัญญา

ด้วยกาลังแรงกาย สติปัญญา และเสียสละ ๕.๒ อุทศิ ตนเพอ่ื ประโยชนต์ ่อสงั คมและสว่ นรวม

เพ่อื ส่วนรวม ๕.๓ แบง่ ปนั เสียสละความสขุ ส่วนตน เพอื่ ทา

ประโยชน์แก่ผู้อน่ื

๕.๔ อาสาชว่ ยเหลอื งานครอู าจารย์

6. สามคั คี

หมายถึง ความพร้อมเพรียงกัน ความกลม ๖.๑ รว่ มมือในการทางานด้วยความกลมเกลียว

เกลียว ความปรองดองกัน ร่วมใจกันปฏิบัติงาน และปรองดอง

ให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ เกิดการงานอย่าง ๖.๒ รบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้อืน่

สร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอา ๖.๓ ปฏบิ ัตติ นตามบทบาทผูน้ าและผตู้ ามทด่ี ี

รัดเอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมี ๖.๔ ยอมรบั ความแตกต่างทางวฒั นธรรม

เหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทาง ความคดิ ความเชอ่ื ทห่ี ลากหลาย พรอ้ มท่ีจะ

ความคดิ ความหลากหลายในเรื่องเชอ้ื ชาติ ปรับตวั เพือ่ อยู่ร่วมกันอยา่ งสนั ติ

๖.๕ ไม่ทะเลาะววิ าท

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา 9

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม พฤติกรรมบง่ ช้ี

และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ (การแสดงออกด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรยี น)

7. มีวินยั

หมายถึง การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ๗.๑ ปฏบิ ัติตามกฎ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของ

ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซ่ึงมีทั้งวินัยในตนเอง สถานศึกษาและสงั คม

และวินัยต่อสถานศึกษา สถาบัน องค์กร ๗.๒ ปฏิบัตติ ามกตกิ าและมารยาทของสงั คม

สังคมและประเทศ ๗.๓ ประพฤตติ นตามหลักศีลธรรมอันดีงาม

๗.๔ ประพฤติตนตรงต่อเวลา

8. สะอาด
หมายถึง การปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ๘.๑ คิดดี พดู ดี ทาดี
ใจและสภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็นที่ ๘.๒ รกั ษาสขุ ภาพร่างกายตามหลักสขุ อนามยั
เจริญตา ทาใหเ้ กิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น ๘.๓ รักษาทอี่ ยอู่ าศัย สงิ่ แวดล้อมตามสขุ ลกั ษณะ
ทดี่ ี

9. สภุ าพ

หมายถึง ความเรียบร้อย อ่อนโยนละมุน ๙.๑ ประพฤตติ นสภุ าพ เรียบร้อย อ่อนนอ้ ม

ละม่อม มีกริยามารยาทท่ีดีงาม มีสัมมา ถอ่ มตนตามสถานภาพและกาลเทศะ

คารวะ และสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม ๙.๒ ประพฤติตนเหมาะสมตามมารยาทของ

ระหวา่ งบุคคล วัฒนธรรมไทย

๙.๓ ไมป่ ระพฤติก้าวรา้ วรนุ แรง วางอานาจ

ขม่ ผอู้ ื่น ทั้งโดยวาจาและทา่ ทาง

๙.๔ ควบคุมกริยามารยาทในสถานการณ์

ที่ไม่พึงประสงค์

๙.๕ แสดงสัมมาคารวะต่อครู อาจารยอ์ ย่าง

สมา่ เสมอ ทง้ั ต่อหน้าและลบั หลงั

๙.๖ แสดงความมีมนษุ ยสมั พนั ธ์

10. ละเว้นอบายมุข

หมายถึง การประพฤติตนเพื่อหลีกเลี่ยง ๑๐.๑ ไม่เสพสงิ่ เสพตดิ และของมึนเมา

หนทางแหง่ ความเสื่อม ๑๐.๒ ไมเ่ ลน่ การพนัน

๑๐.๓ หลกี เลี่ยงการเขา้ ไปอยใู่ นแหล่งมวั่ สุม

10 แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

• ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยหน่วยศึกษานิเทศก์ ได้จัดทาแนวทางการ
ประเมิน พฤติกรรมผู้เรียนอาชีวศึกษา ตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ พร้อมพฤติกรรมบ่งชี้
และเกณฑ์การประเมนิ เพื่อใหส้ ถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาและสถาบนั ใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาผู้เรียนและ
ประเมินผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ขณะทาการสอน ขณะผู้เรียนปฏิบัติงาน
มอบหมาย หรือพิจารณาจากผลงานของผู้เรียน รวมทั้งสามารถใช้เป็นเกณฑ์การประเมินพฤติกรรม
ผเู้ รียนในการเขา้ ร่วมและปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศกึ ษา ประกอบด้วย

ค่านิยมหลกั 12 ประการ พฤตกิ รรมบง่ ชี้
(การแสดงออกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรียน)

1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

หมายถึง การประพฤติตนท่ีแสดงถึงการเป็น ๑.๑ รว่ มกจิ กรรมเขา้ แถวยืนตรงเคารพธงชาติ

พลเมืองที่ดีด้วยความสานึก ความภาคภูมิใจ ร้องเพลงชาติ

ในเอกราชและความเสียสละของบรรพบุรุษ ๑.๒ ร่วมกิจกรรมวันสาคัญทางศาสนาท่ีตนนับถือ

ไทย ปฏิบัติตามหลักศาสนาที่ตนนับถือและ ๑.๓ ร่วมกิจกรรมวนั สาคญั ทีเ่ กี่ยวกบั การเทดิ ทูน

จงรักภักดตี ่อสถาบนั พระมหากษัตริย์ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์

2. ซ่ือสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่ง

ท่ีดงี ามเพื่อสว่ นรวม
หมายถงึ การประพฤติตนตามความเปน็ จริงท่ี ๒.๑ ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามความเปน็ จรงิ
แสดงถึงการยดึ มน่ั ในความถกู ต้อง ยอมรับผล ทแ่ี สดงถึงการยดึ มนั่ ในความถูกตอ้ ง ยอมรบั
การกระทาของตนเองและผู้อ่ืน รู้จักควบคุม ผลการกระทาของตนเองและผอู้ นื่
ตนเองเมื่อประสบความยากลาบากและไม่ก่อ ๒.๒ เสยี สละกาลังกาย ทรัพย์ สตปิ ญั ญาในการ
ช่วยเหลือผ้อู ่ืนและสงั คม
ใหเ้ กิดความเสียหาย
๒.๓ ควบคุมตนเองเมอ่ื ประสบความยาก ลาบาก

และไม่ก่อให้เกดิ ความเสียหาย

3. กตญั ญตู อ่ พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์

หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงถึง ๓.๑ รู้จักบญุ คณุ พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูบา-อาจารย์

การรู้จกั บุญคุณและการตอบแทนบุญคุณของ และผู้มพี ระคณุ

พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์และผู้มี ๓.๒ เอาใจใส่ ดูแล ชว่ ยเหลอื ภารกจิ การงาน

พระคุณ ปฏิบัติตนตามคาส่ังสอนท่ีถูกตอ้ งและ

เหมาะสม

๓.๓ ตอบแทนบุญคณุ ของพ่อแม่ ผปู้ กครอง

ครบู าอาจารยแ์ ละผู้มีพระคณุ

แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 11

คา่ นิยมหลกั 12 ประการ พฤตกิ รรมบ่งช้ี
(การแสดงออกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรียน)

4. ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเลา่ เรยี นท้ังทางตรง

และทางอ้อม

หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนท่ีแสดงถึง ๔.๑ แสวงหาความรทู้ ง้ั ทางตรงและทางออ้ ม

การแสวงหาความรู้ท้ังทางตรงและทางอ้อม ๔.๒ ม่งุ ม่นั ต้ังใจเพยี รพยายามในการศกึ ษาและ

อย่างสม่าเสมอ ด้วยความมุ่งมั่นต้ังใจ เพียร ปฏบิ ัติงาน

พยายามในการศึกษาและปฏิบัติงาน ใช้ ๔.๓ แกป้ ญั หาและพฒั นาสงิ่ ใหม่ ๆ จนบรรลุ

สติปัญญาในการแก้ปัญหาและพัฒนาส่ิง ผลสาเร็จ

ใหม่ ๆ จนบรรลผุ ลสาเรจ็

5. รกั ษาวฒั นธรรม ประเพณีไทยอนั งดงาม
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงให้ ๕.๑ เขา้ ร่วมโครงการหรอื กิจกรรมที่เป็นไทย
เห็นคุณค่า ความสาคัญ ภาคภูมิใจ อนุรักษ์ สืบ ๕.๒ ภาคภมู ิใจในความเป็นไทย

ทอดวัฒนธรรมและประเพณไี ทยอนั ดงี าม ๕.๓ อนรุ ักษ์ สบื ทอดวฒั นธรรมและประเพณีไทย
อนั ดีงาม

6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อ่ืน

เผ่ือแผ่และแบง่ ปัน

หมายถึง การประพฤติตนโดยยึดม่ันในคา ๖.๑ ประพฤตติ นตามหลักศลี ธรรมอนั ดีงาม

สัญญา มีจิตใจโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือผู้อ่ืน ๖.๒ ปฏบิ ัติโดยยึดตามกตกิ า ข้อตกลง/กฎ/

เท่าท่ีทาได้ ทั้งกาลังทรัพย์ กาลังกายและ ระเบียบของสถานศึกษา

กาลังสตปิ ัญญา ๖.๓ หวังดโี อบอ้อมอารี ชว่ ยเหลือผ้อู ่ืนตามโอกาส

๖.๔ ให้ แบ่งปัน เอื้อเฟ้อื และชว่ ยเหลือผ้อู ่นื

7. เข้าใจ เรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมี

พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุขทีถ่ กู ตอ้ ง

หมายถึง การแสดงออกถึงการมีความรู้ ความ ๗.๑ เข้าร่วมกจิ กรรมเกย่ี วกบั ประชาธปิ ไตยอนั มี

เข้าใจ ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหน้าท่ีและสิทธิ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ

ของตนเอง เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน ภายใต้การ ๗.๒ เคารพสิทธขิ องผ้อู ื่น

ปกครองใน ระบ อบ ป ระชาธิป ไตยอัน มี ๗.๓ ปฏิบตั ิตนตามระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

,

12 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

ค่านิยมหลกั 12 ประการ พฤติกรรมบ่งช้ี
(การแสดงออกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรียน)

8. มีระเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จัก

เคารพผ้ใู หญ่

หมายถงึ การประพฤติปฏบิ ตั ิตนตามขอ้ ตกลง ๘.๑ ตรงตอ่ เวลา

กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ และกฎหมาย ๘.๒ ประพฤตติ รงตามคาสัง่ หรอื ขอ้ บงั คับของ

ไทย มคี วามเคารพและนอบน้อมตอ่ ผูใ้ หญ่ สถานศกึ ษา

๘.๓ เคารพและนอบนอ้ มตอ่ ผ้ใู หญ่

9. มีสติ รู้ตวั รคู้ ดิ รูท้ า ร้ปู ฏิบตั ติ ามพระราช

ดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั

หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนอย่างมีสติ ๙.๑ คิดดี พดู ดี ทาดี

รูต้ ัว รู้คิด ร้ทู าอยา่ งรอบคอบ ถูกต้อง เหมาะสม ๙.๒ สุภาพ เรยี บรอ้ ย ออ่ นนอ้ มถ่อมตน

และน้อมนาพระราชดารัสของพระบาท ตามสถานภาพและกาลเทศะ

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาเป็นหลักปฏิบัติใน ๙.๓ รอบคอบเหมาะสมกบั วัย สถานการณ์และ

การดาเนนิ ชวี ติ บทบาทของตนเองตามแนวพระราชดารสั ฯ

10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล

อดุลยเดช รจู้ ักอดออมไวใ้ ชเ้ มื่อยามจาเป็น

มีไว้พ อกิน พ อใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย

จาหน่ายและพร้อมที่จะขยายกิจการเมื่อมี

ความพรอ้ ม เม่ือมีภูมิค้มุ กนั ทด่ี ี

หมายถึง การดาเนินชีวิตอย่างพอประมาณ ๑๐.๑ ใชว้ สั ดุถูกต้อง พอเพียงและเหมาะสม

มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ มี กบั งาน

คุณธรรม และปรับตัวเพ่ืออยู่ในสังคมได้ ๑๐.๒ เกบ็ ออมถนอมใชท้ รพั ย์สนิ สงิ่ ของให้เกดิ

อย่างมีความสุข ตามพระราชดารัสของ ประโยชน์คมุ้ ค่า

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล ๑๐.๓ ปฏิบตั ิงานตามทไ่ี ด้รับมอบหมายสาเรจ็

อดลุ ยเดช ตามกาหนด โดยคานึงถึงความปลอดภยั

ของตนเองและผูอ้ น่ื

แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา 13

คา่ นยิ มหลกั 12 ประการ พฤติกรรมบ่งช้ี
(การแสดงออกดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรียน)

11. มีความเข้มแข็งท้ังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอม

แพ้ต่ออานาจฝ่ายต่าหรือกิเลส มีความ

ละอาย เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของ

ศาสนา

หมายถึง การปฏิบัติให้มีร่างกายสมบูรณ์ ๑๑.๑ ดูแล รกั ษาสุขภาพรา่ งกายตามสุขอนามยั

แข็งแรง ปราศจากโรคภัย และมีจิตใจที่ ๑๑.๒ ไม่เก่ียวขอ้ งกบั อบายมขุ

เข้มแขง็ มคี วามละอายและเกรงกลัวต่อบาป ๑๑.๓ ไม่นาทรพั ย์สนิ ของผูอ้ ่ืนมาเปน็ ของตนเอง

ไม่กระทาความชั่วใด ๆ ยึดม่ันในการทา ๑๑.๔ หลกี เลีย่ งแหล่งม่ัวสมุ

ความดตี ามหลกั ศาสนา

12. คานึงถึงผลประโยชนข์ องส่วนรวมและของ

ชาติมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเอง

หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนและให้ ๑๒.๑ มจี ติ อาสา อทุ ศิ ตนเพอ่ื ประโยชน์ตอ่ สังคม

ความร่วมมือในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อ และสว่ นรวม

ส่วนรวมและประเทศชาติ ยอมเสียสละ ๑๒.๒ เสียสละความสุขส่วนตนเพือ่ ทาประโยชน์

ประโยชน์ส่วนตนเพื่อรักษาประโยชน์ของ แกผ่ ้อู น่ื

ส่วนรวม

• นยิ ามศัพท์ทีเ่ กย่ี วข้อง

เพ่ือให้สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องมีความเข้าใจตรงกันในการนารายการคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จึงขอให้นิยามศัพท์
ที่สาคัญไว้ ดงั น้ี

คณุ ธรรม (Virtue) หมายถงึ สภาพคณุ งามความดี

จริยธรรม (Moral or Morality or Ethics) หมายถึง ธรรมท่ีเป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ความ
ประพฤตหิ รอื ส่ิงดงี ามทพ่ี ึงปฏบิ ัติเพ่ือใหเ้ ปน็ ที่ยอมรบั ของสงั คม

คุณธรรม จริยธรรม (Moral virtue) หมายถึง สภาพคุณงามความดีท่ีประพฤติปฏิบัติหรือ
หน้าที่ที่ควรปฏบิ ัติในการครองชวี ติ หรือคณุ ธรรมตามกรอบจรยิ ธรรม

ธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง การปกครองและบริหารบนพื้นฐานของ
หลักธรรม ความดี ความถูกต้อง

14 แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

ค่านิยม (Values) หมายถึง ความชอบในส่ิงต่าง ๆ ของบุคคล ท่ีเห็นว่ามีคุณค่าในการ
ดาเนินชีวิต และเป็นจุดหมายปลายทางของการดาเนินชีวิต หรือส่ิงท่ีคนส่วนใหญ่เห็นว่ามีคุณค่า
น่ายกยอ่ งและยึดถือปฏิบัติในการดาเนนิ ชีวิต

คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ (Desirable Characteristics) หมายถึง คุณสมบัติหรือพฤติกรรม
ที่นักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาพึงมแี ละปฏิบตั ใิ นการดาเนินชวี ติ

พอเพียง (Sufficient) หมายถึง ความพอดีในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นเง่ือนไขพ้ืนฐานที่ทาให้
คนเราสามารถพ่ึงตนเองและดาเนนิ ชวี ิตไปได้อยา่ งมศี ักด์ศิ รีและมคี วามเปน็ อสิ ระ ประกอบด้วย 3 คณุ ลกั ษณะ
คือ ๑) ความพอประมาณ ซึ่งหมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเองและผู้อื่น ๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง
เป็นไปอย่างมเี หตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจาก
การกระทาน้ัน ๆ อย่างรอบคอบ และ ๓) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ
ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์
ต่าง ๆ ท่คี าดวา่ จะเกิดขนึ้ ในอนาคตทง้ั ใกลแ้ ละไกล

วนิ ัย (Discipline) หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคบั สาหรับควบคุมความประพฤติทาง
กาย วาจา ของคนในสังคมให้เรียบร้อยดีงาม เป็นแบบแผน อันหนึ่งอันเดียวกัน จะได้อยู่ร่วมกันด้วย
ความสุขสบาย ไมก่ ระทบกระทง่ั ซงึ่ กันและกัน

สจุ รติ (Honest) หมายถงึ ประพฤตชิ อบ ประพฤตใิ นทางทีถ่ ูกต้อง

จติ อาสา (Volunteer Spirit) หมายถึง จติ แห่งการให้ความดีงามท้งั ปวงแก่เพอื่ นมนษุ ย์ โดย
เต็มใจ สมัครใจ อิ่มใจ ซาบซ้ึงใจ ปีติสุข ที่พร้อมจะเสียสละเวลา แรงกายและสติปัญญาเพ่ือ
สาธารณประโยชน์ ในการทากิจกรรมหรือส่ิงท่ีเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่ืนโดยไม่หวังผลตอบแทน และมี
ความสขุ ทไ่ี ด้ชว่ ยเหลอื ผู้อืน่

จิตสาธารณะ (Public Consciousness) หมายถึง การตระหนักรู้และคานึงถึงส่วนรวม
ร่วมกนั หรอื คานึงถึงผอู้ ื่นทร่ี ว่ มสัมพนั ธเ์ ป็นกลุ่มเดียวกนั

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา 15

แนวทำงกำรพฒั นำคณุ ธรรม จรยิ ธรรมผเู้ รยี นอำชวี ศกึ ษำ

แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

• คณุ ภาพของผู้สาเร็จการอาชีวศกึ ษา

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๖
ได้กาหนดคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชา ต้องครอบคลุม
อย่างน้อย ๓ ดา้ น คอื

๑. ด้านคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ไดแ้ ก่ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรม
ลักษณะนิสยั และทักษะทางปัญญา

๒. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการส่ือสาร การใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกตใ์ ชต้ วั เลข การจัดการและการพัฒนางาน

๓. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในสาขา
วิชาชีพสกู่ ารปฏิบตั ิจรงิ รวมทั้งประยุกต์สู่อาชพี

สาหรับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒
ได้กาหนดคุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชา ต้องครอบคลุม
อย่างนอ้ ย ๔ ดา้ น คือ

๑. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ หมายถึง ความเป็นผู้มีคุณธรรม
จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยท่ีดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพ
กฎหมาย เคารพสิทธขิ องผอู้ นื่ มีความรับผดิ ชอบตามบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะและมีจิตสานกึ รกั ษ์ส่งิ แวดล้อม

๒. ด้านความรู้ หมายถึง ความรู้เก่ียวกับข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ ต่าง ๆ ท่ี
เก่ยี วข้องกับสาขาวชิ าทเี่ รียนหรือทางาน โดยเนน้ ความรเู้ ชิงทฤษฎีและหรอื ขอ้ เท็จจริงเปน็ หลัก

๓. ด้านทักษะ หมายถึง ความสามารถปฏิบัติงานซึ่งบุคคลนั้นควรทาได้เม่ือได้รับมอบหมาย
โด ย ส า ม า ร ถ เลื อ ก ใช้ วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร แ ล ะ แ ก้ ปั ญ ห า ก า ร ท า ง า น ด้ ว ย ทั ก ษ ะ ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด
ท่ีเก่ียวข้องกับการใช้ตรรกะ ทักษะการหยั่งรู้และความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต หรือ
ทักษะการปฏิบัติหรือวิธีปฏิบัติท่ีมีความคล่องแคล่วและความชานาญในการปฏิบัติตาม เกณฑ์มาตรฐาน
คุณวุฒอิ าชีวศกึ ษาแต่ละระดับ

๔. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ หมายถึง ความสามารถของ
บคุ คลท่ีเกิดจากกระบวนการเรยี นรู้ การใชค้ วามรู้ ทักษะทางสังคมในการทางานหรอื การศกึ ษาอบรมเพื่อ
การพัฒนาวิชาชพี ของบุคคล ซ่ึงประกอบไปด้วยความสามารถในการส่ือสาร ภาวะผูน้ า ความรบั ผิดชอบ

16 แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

และความเป็นอิสระในการดาเนินการต่าง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง เช่น ความสามารถในการตัดสินใจ และความ
รับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื

ในการพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับ ประเภทวิชาและสาขาวิชา จึงต้องกาหนด
มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพใหค้ รอบคลุมคณุ ภาพทง้ั ๔ ดา้ นดงั กล่าว

• หลกั สูตรการอาชวี ศกึ ษากับการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมผู้เรียน

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ได้กาหนดจุดหมายของหลักสูตร
ในการผลิตผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา ดังนี้

1. เพื่อให้มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
สามารถนาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชพี ไปปฏิบัติงานอาชพี ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เลือก
วิถีการดารงชีวิต การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมกับตน สร้างสรรค์ความเจริญต่อชุมชน ท้องถิ่น
และประเทศชาติ

2. เพื่อให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
การประกอบอาชีพ สามารถสรา้ งอาชีพ มีทกั ษะในการจัดการและพฒั นาอาชพี ให้กา้ วหนา้ อยูเ่ สมอ

3. เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความม่ันใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพท่ีเรียน รักงาน รักหน่วยงาน
สามารถทางานเปน็ หมู่คณะไดด้ ี โดยมีความเคารพในสทิ ธิและหน้าท่ขี องตนเองและผู้อื่น

4. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีงาม ท้ังในการทางาน การอยู่ร่วมกัน การต่อต้าน
ความรุนแรงและสารเสพติด มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว หน่วยงาน ท้องถ่ินและประเทศชาติ อุทิศ
ตนเพ่ือสังคม เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีจิตสานึกด้านปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง รู้จักใช้และอนุรกั ษท์ รพั ยากร ธรรมชาติและสรา้ งส่ิงแวดล้อมทด่ี ี

5. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง
มสี ุขภาพอนามัยที่สมบรู ณ์ท้ังร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกบั งานอาชพี

6. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศ
และโลก มีความรักชาติ สานึกในความเป็นไทย เสียสละเพ่ือส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซ่ึงความมั่นคงของ
ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์เปน็ ประมุข

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗ ได้กาหนดจุดหมายของ
หลกั สตู รในการผลิตผสู้ าเร็จการศกึ ษา ดังนี้

1. เพ่ือให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรือ
ศกึ ษาตอ่ ในระดับทสี่ งู ขึ้น

2. เพื่อให้มที ักษะและสมรรถนะในงานอาชพี ตามมาตรฐานวิชาชีพ
3. เพื่อให้สามารถบูรณาการความรู้ ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ในงานอาชีพ
สอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี
4. เพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองค์กร
สามารถทางานเป็นหมคู่ ณะไดด้ ี และมีความภาคภูมใิ จในตนเองต่อการเรียนวิชาชีพ

แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 17

5. เพื่อให้มีปัญญา ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการจัดการ การ
ตัดสินใจและการแกป้ ัญหา รู้จักแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ความรใู้ นการสร้าง
งานใหส้ อดคลอ้ งกบั วิชาชีพและการพฒั นางานอาชพี อยา่ งต่อเนอื่ ง

6. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซ่ือสัตย์ มีวินัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
ท้ังร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกับการปฏิบตั ใิ นอาชีพนัน้ ๆ

7. เพ่ือให้เป็นผ้มู ีพฤติกรรมทางสงั คมท่ีดีงาม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด ทั้งในการ
ทางาน การอยู่ร่วมกัน มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว องค์กร ท้องถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพ่ือ
สังคม เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตระหนักในปัญหาและ
ความสาคัญของสิง่ แวดลอ้ ม

8. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดย
เปน็ กาลงั สาคัญในด้านการผลิตและให้บริการ

9. เพ่ือให้เห็นคุณค่าและดารงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตน
ในฐานะพลเมอื งดตี ามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ

สาหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๒ ได้กาหนดจุดหมายของ
หลักสตู รในการผลิตผสู้ าเร็จการศึกษา ดงั น้ี

1. เพ่ือให้มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
สามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการปฏิบัติงานอาชพี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เลือกวิถีการดารงชีวิต และการ
ประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั ตน สรา้ งสรรคค์ วามเจริญต่อชมุ ชน ท้องถิน่ และประเทศชาติ

2. เพ่ือให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
การประกอบอาชีพ มที กั ษะการสอื่ สารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ทักษะการ
คิด วิเคราะห์และการแก้ปัญหา ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัย ตลอดจนทักษะการจัดการ
สามารถสรา้ งอาชพี และพฒั นาอาชีพให้ก้าวหนา้ อยเู่ สมอ

3. เพื่อให้มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน รักงาน รักหน่วยงาน
สามารถทางานเป็นหมู่คณะได้ดี โดยมคี วามเคารพในสทิ ธิและหนา้ ทีข่ องตนเองและผู้อน่ื

4. เพ่ือให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ท้ังในการทางาน การอยู่ร่วมกัน การต่อต้าน
ความรุนแรงและสารเสพติด มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว หน่วยงาน ท้องถิ่นและประเทศชาติ ดารง
ตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจและเห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและ
ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มีจิตสาธารณะและจิตสานกึ ในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสรา้ งสงิ่ แวดลอ้ มทดี่ ี

5. เพ่ือให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มี
สุขภาพอนามัยทสี่ มบรู ณท์ ง้ั รา่ งกายและจิตใจ เหมาะสมกบั งานอาชีพ

6. เพ่ือให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศ
และโลก มีความรักชาติ สานึกในความเป็นไทย เสียสละเพื่อส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซ่ึงความม่ันคงของ
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข

18 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา

ดังน้ัน เพื่อให้การจัดการศึกษาตามหลักสูตรดังกล่าวบรรลุตามจุดหมายและมาตรฐาน
การศึกษาวิชาชพี สาขาวิชา จงึ ได้กาหนดจุดประสงค์รายวิชาของรายวิชาให้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้
ทักษะ เจตคติและกิจนิสัยท่ีพึงประสงค์ เพ่ือให้ครูผู้สอนนาไปวางแผน ออกแบบการจัดการเรียนรู้

ดาเนินการจัดการเรียนรู้และประเมินผลเพ่ือให้ผู้เรียนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามท่ีกาหนด
นอกจากน้ี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษายังได้กาหนดให้มีการบูรณาการคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมอ่ืน ๆ ของ
สถานศกึ ษาดว้ ย

• กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร

รฐั บาลและกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดนโยบายด้านการศึกษาและเรยี นรู้ การทะนุบารุง
ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ให้ปลูกฝังค่านิยมและจิตสานึกที่ดีเพ่ือผลิตคนดีออกสู่สังคม สร้างสังคม
ให้เข้มแข็งอย่างมีคุณภาพและคุณธรรมควบคู่กัน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงให้
ความสาคัญกับการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลตามนโยบายคา่ นิยมหลักของคนไทย 12
ประการ เพ่ือให้มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ปฏิบัติ รู้จักดารงตนอยโู่ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความ
เข้มแข็งท้ังร่างกายและจิตใจ โดยนอกจากจะกาหนดให้มีการบรู ณาการคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในทกุ รายวิชาและกิจกรรมเสริมหลักสูตรแลว้ ในปีการศึกษา ๒๕๖๐ ยังใหเ้ พิ่ม
รายวิชาในกิจกรรมเสริมหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ และหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สงู พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ดังน้ี

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ได้เพ่ิมเติมรายวิชาในกิจกรรม
เสรมิ หลักสตู ร จานวน ๑ รายวชิ า ดงั นี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น
2000-2001 กิจกรรมลูกเสือวสิ ามญั 1 0-2-0
2000-2002 กิจกรรมลูกเสอื วสิ ามญั 2 0-2-0
2000-2003 กจิ กรรมองค์การวชิ าชพี 1 0-2-0
2000-2004 กจิ กรรมองค์การวิชาชพี 2 0-2-0
2000-2005 กจิ กรรมองคก์ ารวิชาชีพ 3 0-2-0
2000-2006 กิจกรรมองค์การวิชาชพี 4 0-2-0
2000-2007 กิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 0-2-0
2000*2001 ถึง 2000*20xx กิจกรรมนกั ศึกษาวิชาทหาร 0-2-0
/กิจกรรมที่สถานศกึ ษาหรือสถานประกอบการจัด

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 19

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 255๗ ได้เพ่ิมเติมรายวิชา
ในกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร จานวน ๑ รายวชิ า ดงั น้ี

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น
3000-2001 กจิ กรรมองค์การวิชาชพี 1 0-2-0
3000-2002 กจิ กรรมองค์การวชิ าชพี 2 0-2-0
3000-2003 กจิ กรรมองค์การวิชาชพี 3 0-2-0
3000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชพี 4 0-2-0
3000-2005 กิจกรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม 0-2-0
3000*2001 ถึง 3000*20xx กิจกรรมท่ีสถานศึกษาหรอื สถานประกอบการจดั 0-2-0

ในปี 2562 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้พัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ พุทธศักราช 2562 และไดก้ าหนดรายวิชากจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในกิจกรรมเสริม
หลักสูตร ดงั น้ี

รหสั วชิ า ชื่อวิชา ท-ป-น
20000-2007 กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 0-2-0

20 แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

• รายละเอียดของรายวิชากิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม

รายวิชา กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พทุ ธศกั ราช 2556 มีรายละเอียดของรายวชิ า ดังนี้

2000-2007 กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม 0-2-0

จุดประสงคร์ ายวิชา เพอ่ื ให้
1. เข้าใจความสาคัญและหลักในการประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ธรรมาภิบาลตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
2. สามารถคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรม
อันดีงามของสังคม มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมเพ่ือประโยชน์ต่อตนเอง
ชุมชนและทอ้ งถิ่น
3. มีจิตสานึกและกิจนิสัยท่ีดีในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยความรับผิดชอบ เสียสละ มีวินัย
ซ่ือสัตยส์ จุ ริต และสามารถทางานร่วมกับผู้อน่ื

สมรรถนะรายวิชา
1. วเิ คราะห์และตดั สินใจปฏิบตั ใิ นส่ิงที่ควรปฏิบตั ิ และไม่ปฏิบัติในสง่ิ ทีไ่ ม่ควรปฏบิ ตั ิ
2. ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตามหลกั ธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรมอนั ดีงามของสังคม
3. ปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือปลูกจิตสานึกความเป็นคนดี กิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและกจิ กรรมเพือ่ ประโยชนต์ ่อตนเอง ชมุ ชน
ท้องถ่นิ และประเทศชาติ
4. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม

คาอธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบัติเก่ียวกับกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลตามค่านิยมหลักของ

คนไทย 12 ประการ กิจกรรมปลูกจติ สานึกความเป็นคนดี กิจกรรมทาความดีตามรอยพระยคุ ลบาท
กจิ กรรมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมอ่ืน ๆ
ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ โดยการลงมือปฏิบัติ บันทึกและ
ประเมินผล

แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 21

รายวิชา กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พทุ ธศกั ราช 2562 มีรายละเอยี ดของรายวิชา ดังนี้

20000-2007 กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม 0-2-0
(Moral and Ethical Promotion Activity)

จุดประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้
4. เข้าใจความสาคัญและหลักในการประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ธรรมาภบิ าลตามคา่ นิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
5. สามารถคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรม
อันดีงามของสังคม มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อตนเอง
ชุมชนและท้องถิน่
6. มีจิตสานึกและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยความรับผิดชอบ เสียสละ มีวินัย
ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น

สมรรถนะรายวิชา
5. วเิ คราะหแ์ ละตัดสินใจปฏิบัติในสิง่ ที่ควรปฏบิ ตั ิ และไมป่ ฏบิ ตั ิในสิ่งท่ีไม่ควรปฏบิ ัติ
6. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรม กฎระเบียบ วฒั นธรรมอันดงี ามของสงั คม
7. ปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือปลูกจิตสานึกความเป็นคนดี กิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กจิ กรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและกิจกรรมเพื่อประโยชนต์ อ่ ตนเอง ชุมชน
ท้องถนิ่ และประเทศชาติ
8. ปฏิบัติกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลโดยใช้กระบวนการกลมุ่

คาอธบิ ายรายวชิ า
ปฏิบัติเก่ียวกับกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลตามค่านิยมหลักของ

คนไทย 12 ประการ กิจกรรมปลูกจติ สานึกความเป็นคนดี กิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กิจกรรมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมอื่น ๆ
ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน ท้องถ่ินและประเทศชาติ โดยการลงมือปฏิบัติ บันทึกและ
ประเมินผล

22 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

รายวิชา กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
พุทธศักราช 255๗ มรี ายละเอยี ดของรายวชิ า ดงั นี้

3000-2005 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 0-2-0
(Moral and Ethical Promotion Activity)

จุดประสงค์รายวชิ า เพื่อให้
1. เข้าใจความสาคัญและหลักในการประพฤติปฏิบัติตนเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม
ธรรมาภิบาลตามค่านิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ
2. สามารถคิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรม กฎระเบียบ วัฒนธรรม
อันดีงามของสังคม มีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อตนเอง
ชมุ ชน และท้องถ่ิน
3. มีจิตสานึกและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยความรับผิดชอบ เสียสละ มีวินัย
ซอื่ สตั ยส์ ุจริต และสามารถทางานร่วมกบั ผอู้ นื่

สมรรถนะรายวชิ า
1. วเิ คราะหแ์ ละตัดสนิ ใจปฏบิ ัติในสงิ่ ทีค่ วรปฏบิ ตั ิ และไม่ปฏบิ ัตใิ นสงิ่ ท่ีไม่ควรปฏิบตั ิ
2. ประพฤตปิ ฏิบัติตนตามหลักธรรม กฎระเบยี บ วฒั นธรรมอนั ดีงามของสังคม
3. วางแผนและปฏิบัติกิจกรรมเพื่อปลูกจิตสานึกความเป็นคนดี กิจกรรมทาความดีตามรอย
พระยุคลบาท กิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมเพ่ือประโยชน์
ต่อตนเอง ชุมชน ทอ้ งถน่ิ และประเทศชาติ
4. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลโดยใช้กระบวนการกลุม่

คาอธิบายรายวิชา
ปฏิบัติเก่ียวกับกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลตามค่านิยมหลักของ

คนไทย 12 ประการ กจิ กรรมปลกู จิตสานึกความเป็นคนดี กิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท
กจิ กรรมอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรม กิจกรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมอื่น ๆ
ท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ โดยการวางแผน ลงมือปฏิบัติ บันทึก
ประเมินผล และปรบั ปรงุ การทางาน

แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 23

• กรอบแนวคิดการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม

การแบ่งหนว่ ยกิจกรรม

กรอบแนวคิดในการจัดกิจกรรมรายวิชา 20000-2007 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และรายวิชา 3000-2005 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง เวลา ๒ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ หรือ ๓๖ ชั่วโมงต่อภาคเรียน ไม่มีค่าหน่วยกิต
จดั ในรูปแบบของการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์แก่
ผู้เรียนผ่านการปฏิบัติกิจกรรม โดยเน้นคุณธรรมหลักความพอเพียง มีวินัย สุจริต จิตอาสาและอ่ืน ๆ
ตามลักษณะของกิจกรรม ซง่ึ แบ่งออกเปน็ ๖ หนว่ ยกจิ กรรม ดงั น้ี

หน่วยกจิ กรรมที่ ชือ่ หนว่ ย เวลา (ชว่ั โมง)

๑ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าล

ตามค่านยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ๖

๒ กจิ กรรมปลูกจิตสานึกความเป็นคนดี ๖

๓ กิจกรรมทาความดีตามรอยพระยุคลบาท ๓๖

๔ กิจกรรมอนุรกั ษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม

๕ กิจกรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

๖ กจิ กรรมพฒั นาตน ชมุ ชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ

รวม

แนวการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือสร้างเสริมและพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์แก่ผู้เรียน สามารถทาได้ ๔ แนวทาง โดยเลือกแนวทางใดแนวทางหน่ึง หรือ
หลายแบบรวมกนั ได้ คอื

แนวทางที่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

จัดในช่วงเวลาของรายวิชากิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ๒ ช่ัวโมงต่อสัปดาห์
๒ รวม ๓๖ ชว่ั โมงต่อภาคเรียน
เลือกบางกิจกรรมเพื่อนาไปจัดในช่วงเวลากิจกรรมลูกเสือวิสามัญ และหรือกิจกรรม
๓ องคก์ ารวิชาชพี ซึ่งจัด ๒ ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์
เลือกเฉพาะกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องนาไปบูรณาการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคม
๔ ศกึ ษา/สงั คมศาสตร์ และหรอื รายวชิ าอน่ื
จัดในรูปแบบค่ายคุณธรรม ระยะเวลา ๓ วัน โดยกาหนดเป็น ๖ ฐาน ให้ผู้เรียนหมุน
เปลี่ยนเรยี นรทู้ ากิจกรรมในแต่ละฐาน

24 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา

จดั ในชว่ งเวลาของรายวชิ ากิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม เลอื กบางกจิ กรรมจัดในชว่ งเวลากจิ กรรมลูกเสอื ฯ
จริยธรรม ๒ ช.ม. /สปั ดาห์ รวม ๓๖ ช.ม./ภาคเรียน และหรอื องคก์ ารวชิ าชพี ๒ ช.ม./สัปดาห์

ประเมนิ คุณธรรมหลกั ความพอเพยี ง มวี นิ ัย สุจริต ประเมินคุณธรรมหลกั ความพอเพยี ง มีวนิ ยั สุจริต
จติ อาสา ฯลฯ จิตอาสา ฯลฯ

แนวทางที่ ๑ แนวทางท่ี ๒

กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล

กิจกรรมปลกู จติ สานกึ ความเปน็ คนดี

กจิ กรรมทาความดตี ามรอยพระยคุ ลบาท

กิจกรรมอนรุ กั ษศ์ ิลปวฒั นธรรม

กจิ กรรมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

กจิ กรรมพฒั นาตน ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และประเทศชาติ

แนวทางท่ี ๓ แนวทางท่ี ๔

เลือกเฉพาะกิจกรรมท่เี กยี่ วขอ้ งนาไปบูรณาการ จดั ในรปู แบบคา่ ยคุณธรรม ระยะเวลา ๓ วัน
ในการจัดการเรียนรูร้ ายวิชาสงั คมศึกษา/ โดยกาหนดเป็น ๖ ฐาน ใหผ้ ู้เรียนหมุนเปลี่ยนเรียนรู้
สังคมศาสตร์ และหรอื รายวชิ าอ่นื
ทากจิ กรรมในแต่ละฐาน
ประเมนิ คุณธรรมหลักความพอเพยี ง มวี นิ ยั สจุ รติ
จติ อาสา ฯลฯ ประเมินคณุ ธรรมหลกั ความพอเพยี ง มีวนิ ยั สุจรติ
จติ อาสา ฯลฯ

แสดง กรอบแนวทางการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
ของสถานศึกษาสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

สาหรับกิจกรรมเสนอแนะในแต่ละหน่วยกิจกรรม สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาสามารถนาแนวทาง
ดังกล่าวไปใช้และหรือประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนและหรือการจัดกิจกรรมได้ตามความ
เหมาะสม รวมท้ังสามารถพิจารณากาหนดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมพัฒนานักเรียน นักศึกษาเพ่ิมเติมได้
ตามบริบทของสถานศกึ ษา เพ่อื สรา้ งความเปน็ เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษาคณุ ธรรม จริยธรรม

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 25

• การประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตาม
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ และระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัด
การศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช ๒๕๕๗
กาหนดให้ผู้เรียนต้องเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สถานศึกษาจัด โดยมีเวลาเข้าร่วมปฏิบัติ
กิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาที่จัดกิจกรรมในแต่ละภาคเรียน หากผู้เรียนได้เข้าร่วมปฏิบัติ
กิจกรรมครบถ้วนตามเกณฑ์ในภาคเรียนใดถือว่าประเมินผ่านในภาคเรียนน้ัน ให้บันทึกช่ือกิจกรรมและ
ตัวอักษร “ผ.” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ช่อง “ผลการเรียน” ซ่ึงหมายถึง “ผ่าน” หากผู้เรียนเข้า
ร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ในภาคเรียนใด สถานศึกษาสามารถพิจารณามอบงานหรอื กจิ กรรม
ในส่วนท่ีผู้เรียนผู้น้ันไม่ได้เข้าร่วมปฏิบัติ ให้ปฏิบัติให้ครบถ้วนภายในเวลาที่สถานศึกษากาหนด เมื่อ
ผู้เรียนดาเนินการครบถ้วนแล้วถือว่าประเมินผ่าน ให้บันทึกช่ือกิจกรรมและตัวอักษร “ผ.” ในระเบียน
แสดงผลการเรยี นของภาคเรียนนัน้ ซึง่ หมายถงึ “ผา่ น” ถา้ นักเรียนดาเนินการไมค่ รบถว้ น ถอื วา่ ประเมิน
ไมผ่ า่ น ใหบ้ ันทกึ ชอ่ื กจิ กรรมและตัวอกั ษร “ม.ผ.” ซึ่งหมายถึง “ไม่ผ่าน”

อย่างไรก็ดี แม้ว่ารายวิชากิจกรรมเสริมหลักสูตรจะไม่ได้เน้นการเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมของ
ผู้เรียนจะสามารถสะท้อนให้เห็นถึงคุณธรรมความรับผิดชอบ แต่ในการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมก็
ยงั คงต้องใหค้ วามสาคญั กบั การประเมินเจตคตแิ ละพฤตกิ รรมลักษณะนสิ ัย

• แนวทางการประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม

การประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม มแี นวทางในการพจิ ารณา ดงั น้ี
1. การวัดความรู้สึกเป็นการวัดทางอ้อม ต้องใช้เวลาสังเกตนาน ๆ จึงจะมีความเที่ยงตรง
การเรยี นการสอนทม่ี จี านวนผู้เรยี นมาก ๆ อาจทาไดย้ าก
2. ผู้สังเกตต้องต้ังจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนว่าจะศึกษาพฤติกรรมผู้เรียนในด้านใด เช่น ความ
ซ่อื สัตย์ ความรับผดิ ชอบ ฯลฯ
3. ผเู้ รียนอาจตอบหรือแสดงพฤตกิ รรมไม่ตรงกับความเปน็ จรงิ ผู้สอนจึงควรเป็นกันเอง และ
กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเห็นถึงประโยชน์ที่เขาจะไดร้ บั

• ขอ้ พิจารณาในการเลือกเครือ่ งมอื ทใ่ี ชว้ ดั และประเมินด้านจิตพสิ ัย

การวัดและประเมินคุณลักษณะด้านจิตพิสัย เปน็ การวัดและประเมนิ ท่ีทาไดย้ าก เพราะไมใ่ ช่
เร่อื งถกู -ผดิ แต่เปน็ การวัดความร้สู ึก การวดั และประเมินพฤตกิ รรมดา้ นจิตพิสัยมี 2 วิธี คอื

1. ผอู้ น่ื ประเมิน ครูประเมนิ หรือเพื่อนประเมิน
2. การประเมนิ ตนเอง

26 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

สาหรับเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวัดและประเมินผล มี 2 ประเภท ประกอบด้วย
1. แบบจากัดคาตอบ ได้แก่ แบบมาตรประมาณค่า แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบ
ตรวจสอบรายการ แบบวัดเชิงสถานการณ์ ฯลฯ
2. แบบตอบโดยเสรี ได้แก่ แบบวัดเชิงสถานการณ์ แบบระเบียบพฤติการณ์ แบบระบาย
ความในใจ ฯลฯ

เครื่องมือที่ผู้สอนสามารถนาไปใช้ได้ง่าย ๆ คือ “แบบสังเกต” โดยครูผู้สอนต้องใช้ประสาท
สัมผัสในการสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ผลการสังเกตจะมีความเท่ียงตรงเพียงไร ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ
3 ประการ ดังน้ี

1. สิ่งท่ีจะสังเกต สิ่งที่สังเกตจะต้องเป็นรูปธรรมจึงจะสังเกตได้ เช่น สังเกตผลงานของ
ผู้เรียน พฤติกรรมในการทางาน แต่บางอย่างสังเกตยาก เช่น อารมณ์ ความรู้สึก การยอมรับ ทัศนคติ
ฯลฯ ผู้วัดจึงต้องใช้เทคนิคให้ผู้ถูกวัดแสดงส่ิงเร้าท่ีต้องการวัดออกมาในรูปพฤติกรรม เช่น พูด ทา เขียน
จึงจะสามารถวดั ทางด้านจติ ใจได้

2. ผู้สังเกต การสังเกตจะได้ผลมากน้อยเพียงไรข้ึนอยู่กับผู้สังเกต ดังนั้นผู้ที่จะทาหน้าที่
ในการสงั เกตจะต้องมอี งค์ประกอบต่อไปนี้

2.1 ความตั้งใจ คือ ผู้สังเกตจะต้องมีความต้ังใจท่ีจริงจังและให้ความสนใจในเรื่องท่ี
สังเกต และต้องตดั ความอคติหรือความลาเอียงต่าง ๆ ออกไป

2.2 ประสาทสัมผัส ประสาทสัมผัสของผู้สังเกตต้องดีพอ เช่น ไม่สังเกตขณะง่วงนอน
มึนเมา มอี ารมณห์ งุดหงิดหรอื ขณะที่โมโห เพราะจะทาใหข้ ้อมลู ทไ่ี ดไ้ มต่ รงกับสภาพทแ่ี ทจ้ รงิ

2.3 การรับรู้ การสังเกตจะดีหรือไม่ข้ึนอยู่กับประสบการณ์และความสามารถของ
ผู้สังเกต ผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์เก่ียวกับเรื่องที่จะสังเกตย่อมรับรู้และทาความเข้าใจกับเรื่องท่ี
สังเกตได้เปน็ อย่างดี

3. ผู้ถูกสังเกต การสังเกตนั้นจะต้องไม่ให้ผู้ท่ีถูกสังเกตรู้ตัวว่ากาลังถูกสังเกต เพราะหาก
ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว พฤติกรรมจะไม่เป็นไปตามธรรมชาติ อาจเป็นพฤติกรรมที่เสแสร้ง เช่น ทาตัวเรียบร้อย
ทง้ั ๆ ทป่ี กตไิ มใ่ ช่ เป็นต้น

• ข้นั ตอนการกาหนดเกณฑใ์ นการประเมนิ
1. วเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมทคี่ าดหวังในกจิ กรรมหรืองานทม่ี อบหมาย
2. กาหนดประเดน็ ท่ีตอ้ งการประเมิน
3. คัดเลือกประเด็นการประเมนิ ทสี่ าคัญ
4. กาหนดรูปแบบในการสรา้ งเกณฑ์การประเมนิ
5. กาหนดค่าระดบั คณุ ภาพของพฤติกรรมในการประเมิน
6. บรรยายคณุ ภาพพฤติกรรมการประเมินแตล่ ะระดับ
7. กาหนดคะแนนการตัดสนิ ระดับคุณภาพพฤตกิ รรม
8. สรา้ งเครอื่ งมอื ประเมนิ พฤติกรรมทค่ี าดหวงั ในกจิ กรรมหรืองานทมี่ อบหมาย

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 27

กจิ กรรมเสนอแนะ

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม
ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

28 แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

- หน้าว่าง -

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา 29

หนว่ ยกจิ กรรมที่ ๑

กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมภบิ าล
ตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ

30 แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

- หนา้ วา่ ง -

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 31

กิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม หน่วยท่ี ๑

ชอ่ื หน่วย กิจกรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมและ กจิ กรรมที่ ๑.๑
ธรรมาภบิ าลตามคา่ นยิ มหลักของคนไทย
12 ประการ เวลา ๒ ชวั่ โมง

ชื่อกจิ กรรม แม่

หลักการและเหตผุ ล

การส่งเสริมการสร้างคุณธรรมให้กบั เยาวชนควรเริ่มจากจดุ เล็ก ๆ ที่ใกลต้ ัว แลว้ ขยายผลออกไป
ซ่ึงเป็นไปตามหลักทรงงาน แก้ปัญหาท่ีจุดเล็ก ครอบครัว พ่อแม่ ครู คือจุดเล็ก ๆ ใกล้ตัวจุดแรก ๆ
ท่ีเยาวชนนึกถึง กิจกรรมแม่จะช่วยสร้างจิตสานึกกตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ตามค่านิยมหลักของ
คนไทย 12 ประการ

จุดประสงค์ของกจิ กรรม

1. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รยี นตระหนกั ถงึ พระคณุ ของพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูและผู้มพี ระคุณ
2. เพอื่ ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมคี วามกตญั ญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูและผ้มู พี ระคุณ

สอ่ื วสั ดุ อุปกรณ์และแหลง่ เรยี นรอู้ นื่ ๆ

1. คอมพวิ เตอร์ พร้อมเคร่ืองฉาย LCD และจอ
2. วดี ิทศั น์ เก่ียวกบั พระคณุ ของพอ่ /แม่ เช่น

//www.youtube.com/watch?v=Tqmrq3hBJ88
//www.youtube.com/watch?v=nMzZt8wOyn8
3. กระดาษ A4 พร้อมปากกาเคมี คละสี จานวน ๒๐ ชดุ
4. ธงกระดาษรปู สามเหลีย่ ม เขยี นคาว่า “ธงแห่งความกตญั ญู”
5. แบบประเมนิ ผลงานกลุ่มและแบบสงั เกตพฤติกรรม

ขน้ั ตอนการดาเนนิ กจิ กรรม

1. ผู้สอนถามผเู้ รียนว่า “คาแรกท่ีนักเรยี น/นักศกึ ษาพูดไดค้ อื อะไร” (ผ้เู รยี นจะตอบ แม่ พ่อ...)
2. ผู้สอนถามต่อว่า “พอโตข้ึน ประโยคท่ีพูดกับพ่อแม่บ่อย ๆ คืออะไร” โดยสุ่มถามผู้เรียนที่

ยกมอื 5 คน
4. ผู้สอนสรุปเพ่ือนาสู่พระคุณของพ่อแม่ และต่อด้วย “มาดูความรู้สึก สิ่งท่ีลูกคนหน่ึงพูด

ถงึ แมก่ นั ” โดยเปิดวดี ทิ ศั น์ เกี่ยวกบั พระคุณของพอ่ แม่
5. หลังจากดูวดี ิทัศน์ แล้ว ผูส้ อนถามความรู้สกึ ของผู้เรยี นว่ารสู้ ึกอย่างไร

32 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา

6. แบ่งผู้เรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม ๆ ละ 10 คน แล้วแจกกระดาษและปากกาเคมี ให้แต่ละคน
ใหแ้ ต่ละกลุม่ ปฏบิ ัตดิ ังน้ี
กลมุ่ ที่ ๑ กาหนดให้ 5 คน เป็นพ่อหรือแม่ เขยี นประโยค “ถา้ แม.่ ........” / “ถา้ พอ่ .........”

สว่ นอีก 5 คน เป็นลกู เขยี นประโยค “ฉันจะ........”
กลมุ่ ที่ ๒ กาหนดให้ 5 คน เป็นครู เขียนประโยค “ถ้าครู........ ส่วนอีก 5 คน เป็น

นักเรียน/นักศึกษาเขยี นประโยค “ฉนั จะ........”
กติกาคือ ผู้เรยี นแต่ละคนต้องไมใ่ ห้คนอ่นื เห็นวา่ ตนเองเขียนอะไร จากนั้นใหส้ มุ่ จับคู่กันอา่ น

ข้อความของคนเป็นพ่อ/แม่ก่อน คู่ไหนข้อความสัมพันธ์สอดคล้องไปกันได้ ได้ 1 คะแนน
กลมุ่ ไหนได้คะแนนมากท่ีสดุ ไดธ้ งแห่งความกตัญญู
7. ให้แตล่ ะกลุ่มนาประโยคท่ีไม่ได้คะแนนมาจับกลมุ่ ใหม่ และร่วมกันต้งั ปณิธานว่าจะประพฤติ
ปฏบิ ัติตน กตญั ญกู ตเวทตี ่อพ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูและผ้มู ีพระคณุ

ข้อเสนอแนะ

1. กิจกรรมนเี้ หมาะกับกลุ่มผู้เรียนจานวน ๒๐ คน หากมีจานวนมากกวา่ น้ี ผสู้ อนสามารถเพิ่ม
จานวนสมาชกิ ต่อกลมุ่ หรอื เพ่มิ จานวนกลุ่มไดต้ ามความเหมาะสม

2. กิจกรรมขั้นตอนที่ ๑ ผู้สอนอาจจาเป็นต้องกระตุ้นการมีส่วนร่วมในการตอบคาถาม โดย
เลือกถามผู้เรียนที่มีความกระตือรือร้น สนใจใฝ่รู้ก่อน เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนท่ีเหลือ
ตอบตาม

๓. กจิ กรรมขน้ั ตอนท่ี 2 และ 3 ผูส้ อนอาจจาเป็นตอ้ งกระตนุ้ การมสี ่วนร่วมในการตอบคาถาม
โดยเร่ิมถามผู้เรียนที่มีความกระตอื รอื ร้น สนใจใฝ่รู้เป็นคนแรกเช่นกัน เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียน
คนถัดไปมีส่วนรว่ มในการตอบ เช่น “แม่..หิวข้าว” “แม่..เสือ้ อยู่ไหน” “แม่..ขอตงั คห์ น่อย”
หรอื อื่น ๆ ในทานองเดียวกัน ผ้สู อนอาจเพมิ่ ความสนุกปิดทา้ ยดว้ ย “พอ่ ...แมอ่ ยไู่ หน”

แนวทางการประเมิน

๑. ประเมนิ จากผลการทากิจกรรมกลมุ่
๒. ประเมนิ พฤติกรรมผู้เรียนโดยการสงั เกตหรอื ใชแ้ บบสังเกต

พฤติกรรม หลักคณุ ธรรมทปี่ ระเมนิ
- เขยี นมาจากเรอื่ งท่ใี กลต้ วั และมีเหตุมีผล
- เขยี นประโยคดว้ ยตนเองโดยไมล่ อกเลียนผู้อน่ื พอเพยี ง 30%
- มุ่งมัน่ ทากจิ กรรมอยา่ งต่อเน่ืองจนเกดิ ผลสาเรจ็
- ต้ังปณธิ านความกตญั ญตู ่อพอ่ แม่ ผู้มีพระคณุ สุจรติ ๒0%

ความเพยี ร ๑0%

กตญั ญูกตเวที 40%

รวม 100%

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา 33

กิจกรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม หนว่ ยที่ ๑

ชอ่ื หน่วย กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ กจิ กรรมท่ี ๑.๒
ธรรมาภิบาลตามค่านยิ มหลักของคนไทย
12 ประการ เวลา ๒ ชว่ั โมง

ชื่อกิจกรรม ความดขี องฉัน

หลกั การและเหตุผล

คุณธรรมหรือความดีท่ีเกิดขึ้นภายในจิตใจของเยาวชนน้อยลงทุกวันจากสภาพแวดล้อมที่ขาด
การส่งเสริมการสร้างคุณธรรม นามาซึ่งการขาดจริยธรรม คือ พฤติกรรมที่ดีงามในสังคมและครอบครัว
กิจกรรมความดีของฉัน เป็นกิจกรรมที่กระตุ้นการค้นหาและสร้างคุณค่าในความดีของตนเอง ใน
ขณะเดียวกันก็เป็นการเปิดทัศนคติให้ยอมรับแนวคิดของการทาความดีของผู้อ่ืนว่ามีความแตกต่างและ
เปน็ ปจั เจก เพือ่ เปน็ ฐานคิดนาไปสู่การสร้างพฤตกิ รรมหรือจรยิ ธรรมท่ดี ีงามแก่สงั คมต่อไป

จดุ ประสงค์ของกิจกรรม

1. เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้ทบทวนความดที ่ตี วั เองมอี ยู่และไดล้ งมอื ปฏิบัตไิ ปแลว้
2. เพอ่ื ให้ผเู้ รียนเปดิ ใจฟังและยอมรับความแตกต่างในวิธคี ิด ไม่ด่วนตัดสินคณุ ค่าการทาความดี

ของผอู้ ่ืน อนั เปน็ พื้นฐานเบ้ืองตน้ ของการมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
3. เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญร่วมกันในส่งเสริมตนเองและผู้อ่ืนให้มีกาลังใจในการดาเนิน

ชีวิตอย่างมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

สอื่ วสั ดุ อปุ กรณ์และแหลง่ เรยี นร้อู ่ืน ๆ

๑. กระดาษ A4 ตดั ครึ่ง จานวนเทา่ กบั หรือมากกว่าผู้เรยี น
๒. ปากกาเคมีคละสี จานวนเทา่ ผเู้ รยี น
๓. กระดาษกาวยน่
๔. กระดานไวท์บอร์ดพร้อมปากกาเขียนไวท์บอร์ด หรือฟลิปชารท์ พร้อมปากกาเคมี
๕. แบบประเมนิ ผลงานกลุ่มและแบบสงั เกตพฤติกรรม

ขน้ั ตอนการดาเนินกจิ กรรม

1. ผู้สอนทักทายผู้เรียน แล้วให้ทุกคนลองทบทวนความดีที่ตนเองได้เคยทา ว่ามีอยู่ก่ีคร้ัง
อะไรบ้าง จากนั้นขออาสาสมัครให้ช่วยแชร์เร่ืองราวของตนเองให้เพ่ือนได้ฟัง จานวน ๑-๒
คน และให้ผู้เรียนที่ร่วมแชร์ประสบการณ์นี้ร่วมนากิจกรรมในข้ันตอนต่อไป (หากไม่มีผู้ใด
อาสาสมัคร ผู้สอนอาจเล่าเร่ืองการทาความดีของตนเอง หรือความดีท่ีเห็นผู้อื่น/ผู้เรียน
ในสถานศึกษาเคยทากไ็ ด)้

34 แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา

2. ผสู้ อนให้ผเู้ รียนทุกคนเขียนความดที ภ่ี าคภูมใิ จท่สี ุดท่ตี นเองเคยทามา (ไมใ่ ช่เขยี นเรยี งความ)
ลงในกระดาษท่ีแจกให้แลว้ นามาติดบนกระดาน โดยเดินมาหยิบกระดาษและปากกาทว่ี างไว้
หน้าห้องเอง (เพือ่ ความรวดเรว็ อาจขออาสาสมัครผเู้ รียนชว่ ยแจกกระดาษและปากกาก็ได้)
ใหเ้ วลาสาหรับทากจิ กรรม ๓ นาที

3. เมื่อทุกคนนากระดาษมาติดท่ีกระดานแล้ว ผู้สอนขออาสาสมัครผู้เรียน ๒-๓ คน ช่วยอ่าน
ความดีทุกแผ่นอย่างรวดเร็ว แล้วถามผู้เรียนว่า “ชอบหรือประทับใจความดีใดมากที่สุด”
แล้วให้ผู้เรียนทายวา่ ความดนี ัน้ เป็นของผเู้ รยี นคนใด เพราะอะไรจงึ คดิ เช่นน้นั ฯลฯ

๔. ผู้สอนให้เจ้าของความดีที่เลือกจากข้อ ๓ แสดงตัว แล้วเล่ารายละเอียดถึงสาเหตุหรือ
แรงจงู ใจที่ทาความดีน้ัน รวมทั้งความร้สู กึ และผลทเ่ี กดิ ข้นึ หลังจากทีไ่ ด้ทาความดีเสร็จส้นิ ลง

๕. หลังจากที่ได้เลือกอ่านและทายผู้ทาความดีไป ๓-๕ คนแล้ว ผู้สอนถามผู้เรียนว่า “มีใคร
อยากเล่าความดีของตนเองอีกบ้าง” และเมื่อมีผู้เสนอตนเองแล้ว ให้ผู้สอนดาเนินการ
เชน่ เดยี วกนั กบั ข้อ ๔ พร้อมสงั เกตพฤติกรรมของผ้เู รียนระหวา่ งการทากิจกรรมไปด้วย

๖. ผสู้ อนเขยี นคาถามบนกระดานและเก็บประเด็นคาตอบของผู้เรยี น ดงั นี้
๖.๑ รู้สึกอยา่ งไรเม่ือได้เล่าความดขี องตนเอง
๖.๒ รู้สกึ อยา่ งไรเมอ่ื ไดย้ นิ ผูอ้ ่นื เลา่ ถึงความดีที่เขาเคยทา

๗. หลังจากการถาม-ตอบตามข้อ ๖ ระยะหนึ่ง ผสู้ อนตั้งคาถามเพิ่มเติมเพอื่ การสรุปผลทไ่ี ดจ้ าก
การทากจิ กรรม ดังนี้
๗.๑ เม่อื เพ่อื นเสนอตัวออกมาเล่าความดขี องตนเองนัน้ พวกเรารู้สึกอย่างไร เพราะอะไรจึง
รสู้ กึ เชน่ นัน้ ท่าทที เ่ี ราแสดงออกจะช่วยให้เขาทาความดตี ่อไปหรอื ไม่ อย่างไร
๗.๒ ความดที ่เี ราทากับความดีทเ่ี พ่ือน ๆ ทา มคี วามเหมอื นหรอื แตกตา่ งกันหรือไม่ อยา่ งไร
เพราะอะไรจึงเหมือน หรือไมเ่ หมอื น
๗.๓ การทาความดขี องคน ๑ คน สง่ ผลอยา่ งไร
๗.๔ การทาความดโี ดยไมค่ าดหวงั ประโยชนต์ อบแทน จะส่งผลต่อสงั คมอย่างไร
๗.๕ ผู้เรียนมแี นวทางหรือมสี ว่ นชว่ ยสง่ เสรมิ การทาความดีของคนในสงั คมได้อยา่ งไร
๗.๖ ผเู้ รียนได้เรยี นรอู้ ะไรจากกิจกรรม “ความดขี องฉัน”

ข้อเสนอแนะ

1. กิจกรรมนีเ้ หมาะกับผ้เู รยี นจานวน ๓๐ คน
2. กิจกรรมข้ันตอนที่ ๓ ผู้สอนอาจปรับให้ผู้เรียนเป็นอาสาสมัคร ๓-๕ คน หยิบกระดาษ

ความดีที่ชอบมาคนละ ๑ แผ่น และอ่านให้ทุกคนฟัง ผู้สอนถามถึงเหตุผลที่เลือก แล้วให้
ผู้เรียนทายวา่ ความดีน้นั เปน็ ของผูเ้ รยี นคนใด เพราะอะไรจงึ คดิ เช่นนน้ั
3. ผสู้ อนควรเกบ็ ประเด็นคาตอบให้ครบ เพือ่ ส่งเสริมให้ผ้เู รียนแสดงออก และมสี ว่ นรว่ มใหม้ าก
ที่สดุ ซึ่งเปน็ ธรรมชาตขิ องการเรียนรู้แบบ Active Learning หรือ Student Center

แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 35

แนวทางการประเมิน

๑. ประเมินจากผลการทากจิ กรรมกล่มุ
๒. ประเมินพฤติกรรมผเู้ รียนโดยการสังเกตหรอื ใช้แบบสงั เกต

พฤตกิ รรม หลกั คณุ ธรรมทป่ี ระเมนิ
- ความดีท่ที าหรอื ตง้ั ใจจะทามีความเปน็ ไปได้และ
พอเพยี ง ๔0%
ไม่ขัดตอ่ หลกั ธรรมาภิบาล
- ไมน่ าความดีของคนอน่ื มาเปน็ ของตนเอง สุจรติ ๓0%
สามัคคี ๑๕%
- ใหค้ วามร่วมมือในการทากจิ กรรมกลมุ่ มีวนิ ยั ๑๕%
- มุ่งม่นั ทากจิ กรรมตามขน้ั ตอนและเวลาทก่ี าหนด

จนเกิดผลสาเร็จ

รวม 100%

36 แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา

กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หนว่ ยที่ ๑

ชอ่ื หน่วย กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ กิจกรรมที่ ๑.๓
ธรรมาภบิ าลตามคา่ นิยมหลักของคนไทย
12 ประการ เวลา ๒ ชวั่ โมง

ชื่อกจิ กรรม ลกู โป่งความดี

หลักการและเหตผุ ล

คุณธรรมหรือความดีที่เกิดข้ึนภายในจิตใจของเยาวชนน้อยลงทุกวันจากสภาพแวดล้อมที่ขาด
การส่งเสริมการสร้างคุณธรรม นามาซึ่งการขาดจริยธรรม คือ พฤติกรรมที่ดีงามในสังคมและครอบครัว
กิจกรรมลูกโป่งแห่งความดีเปน็ กิจกรรมทก่ี ระต้นุ การคน้ หาคณุ ธรรมในตวั เอง และศกึ ษาพฤตกิ รรมกลุ่มท่ี
แสดงออกมา นาไปสกู่ ารสรา้ งพฤติกรรมหรือจรยิ ธรรมทด่ี งี าม

จดุ ประสงค์ของกิจกรรม

1. เพื่อใหผ้ เู้ รียนคน้ หาความดที ต่ี วั เองมอี ยู่หรือที่อยากทา
2. เพื่อสง่ เสริมให้ผู้เรยี นปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุม่ บนพนื้ ฐานของความมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
3. เพ่ือให้ผเู้ รยี นเห็นความสาคญั ของการดาเนนิ ชวี ิตอย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรม

สอ่ื วัสดุ อุปกรณ์และแหลง่ เรียนรอู้ ื่น ๆ

๑. กระดาษครง่ึ ของ A4 พรอ้ มปากกาเคมีคละสี จานวนเทา่ ผเู้ รยี น
๒. ลกู โปง่ สเี ดียวกนั จานวนเทา่ ผูเ้ รยี น
๓. อุปกรณล์ ้อมลกู โป่งขนาดพอใสล่ ูกโป่งไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 30 ใบ
๔. แบบประเมนิ ผลงานกลุ่มและแบบสงั เกตพฤตกิ รรม

ขัน้ ตอนการดาเนินกิจกรรม

1. แบ่งผู้เรียนเป็น ๓ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิกมีจานวนเท่า ๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่มเลือก
หัวหนา้ กลุ่ม พร้อมกับตงั้ ช่อื กล่มุ แล้วส่งตัวแทนรบั กระดาษและปากกาเคมี

2. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มค้นหาความดีท่ีตัวเองมีในตัว หรือความดีที่อยากทาให้กับตัวเอง
ครอบครัว หรือคนอ่ืน โดยเขียนเป็นข้อความสั้น ๆ ลงในกระดาษที่ได้รับโดยไม่ให้คนอื่นรู้
แล้วเกบ็ ไวก้ บั ตัว

3. แจกลูกโป่งให้กับสมาชิกคนละ 1 ใบ เป่าให้ได้ขนาดเท่า ๆ กันในกลุ่ม ให้แต่ละคนเขียน
ข้อความเดียวกับที่เขียนในกระดาษลงบนลูกโป่งด้วยปากกาเคมี แล้วนาลูกโป่งไปมอบให้
ผสู้ อนเพอ่ื นาไปใสใ่ นอปุ กรณ์ลอ้ มลกู โปง่ ทีเ่ ตรียมไว้

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 37

๔. ให้ทุกคนหาลูกโป่งของตัวเองให้พบเร็วท่ีสุด เม่ือสมาชิกหาลูกโป่งได้ครบทั้งกลุ่มแล้ว ให้มา
ยืนรวมกนั พร้อมกบั กล่าว “ชอื่ กล่มุ ...” และรอ้ ง “เย”้ พร้อม ๆ กัน

๕. ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนระหว่างการทากิจกรรม โดยเน้นเรื่องของความซื่อสัตย์
(ในการเขียนข้อความด้วยตนเอง ไม่ลอกเลียนผู้อื่น หรอื ให้ผู้อืน่ เขียนแทน) การตรงต่อเวลา
ความสามคั คี ความเอื้อเฟื้อ ไม่กลนั่ แกล้งคนอื่นระหวา่ งค้นหาลูกโปง่

๖. เมื่อแต่ละกลุ่มปฏิบัติกิจกรรมสาเร็จครบทุกกลุ่มแล้ว ให้แต่ละกลุ่มแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับความสาเร็จในการทางาน ผู้สอนให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม พร้อมเน้นย้าเรื่อง
คุณธรรม จรยิ ธรรม และพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงคใ์ นการทากจิ กรรม

๗. ให้สมาชิกแต่ละคนแสดงข้อความที่เขียนในกระดาษและบนลูกโป่ง พร้อมกับอ่านความดี
ของตนหรอื ความดีทอ่ี ยากทาใหก้ ับตัวเอง ครอบครัวหรือคนอืน่ ทีเ่ ขียนไว้ให้เพอื่ นฟงั ผู้สอน
สอบถามเหตุผลเพิม่ เติม เชน่ ทาไมจึงคิดเชน่ น้นั สิ่งท่ีคิดจะทานน้ั ดอี ย่างไร

๘. ผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปถึงความสาคัญของการเป็นคนดีมีคุณธรรม และประพฤติ
ปฏิบตั ิตนอย่างมีจริยธรรมในการดาเนินชวี ติ

ข้อเสนอแนะ

1. กิจกรรมน้เี หมาะกับผ้เู รยี นจานวน ๓๐ คน
2. อุปกรณ์ล้อมลูกโป่ง เช่น สระว่ายน้าเป่าลม หรือเป็นวัสดุอ่ืน ๆ ที่ไม่เป็นอันตราย เช่น

ผ้าสแลน แผ่นพลาสติก เป็นต้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 40 เซนติเมตร หรอื มี
ขนาดกวา้ งพอทจี่ ะบรรจลุ ูกโป่งท่ีเปา่ ลมแลว้ ได้ ๓๐ ใบ
3. หากมผี เู้ รียนจานวนมากกว่าทกี่ าหนด อาจจาเปน็ ตอ้ งใช้อุปกรณ์ลอ้ มลูกโปง่ ๒ วง

แนวทางการประเมิน

๑. ประเมินจากผลการทากิจกรรมกล่มุ
๒. ประเมนิ พฤติกรรมผ้เู รยี นโดยการสงั เกตหรือใช้แบบสังเกต

พฤติกรรม หลักคณุ ธรรมทป่ี ระเมิน
- ความดที ี่ทาหรอื ตั้งใจจะทามคี วามเป็นไปได้และ
พอเพยี ง ๔0%
ไมข่ ดั ตอ่ หลักธรรมาภบิ าล
- ไม่นาความดีของคนอ่ืนมาเปน็ ของตนเอง สุจรติ ๓0%
- ใหค้ วามรว่ มมือในการทากจิ กรรมกลมุ่ สามัคคี ๑๕%
- มุ่งมน่ั ทากิจกรรมตามขนั้ ตอนและเวลาทีก่ าหนด มีวินัย ๑๕%

จนเกดิ ผลสาเรจ็

รวม 100%

38 แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

กจิ กรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม หนว่ ยที่ ๑

ชื่อหน่วย กิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมและ กิจกรรมท่ี ๑.๔
ธรรมาภิบาลตามค่านยิ มหลักของคนไทย
12 ประการ เวลา ๒ ช่ัวโมง

ชอ่ื กิจกรรม จดั อันดับและความสาเร็จ

หลักการและเหตุผล

ภายใต้การเปล่ียนแปลงสภาพเศรษฐกิจ ปัญหาการเมือง การปกครอง สังคมโลก การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดเพ่ือตอบสนองความต้องการที่ไม่มีขอบเขตของมนุษย์ ทาให้เกิดปัญหาทาง
สังคมตามมาอย่างมากมาย อาทิเช่น ความไม่ซื่อสัตย์ ความเห็นแก่ตัว ภาวะอดทนอดกลั้นน้อยลง ขาด
อุดมการณ์และความมุ่งม่ันทีจ่ ะทาสิง่ ดงี ามเพ่ือส่วนรวม สถานศึกษาและครจู ึงมีส่วนสาคญั ในการช่วยให้
เยาวชนของชาติ ซ่ึงถือเป็นหน่ึงของพลโลกได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มี
อุดมการณ์ในส่งิ ทดี่ งี ามเพอ่ื ส่วนรวม

จุดประสงค์ของกจิ กรรม

1. เพ่ือปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้กบั ผเู้ รียน
2. เพอ่ื สง่ เสรมิ แนวคดิ ของการเปน็ ผู้เสยี สละ อดทนและทาส่ิงดงี ามเพอ่ื สว่ นรวม
3. เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนรูจ้ ักการทางานเปน็ ทีม

สอื่ วัสดุ อปุ กรณ์และแหลง่ เรยี นรอู้ นื่ ๆ

๑. เชอื กฟาง ๔ เส้น ความยาวเส้นละไมน่ อ้ ยกว่า ๔ เมตร
๒. กระดาษกาวยน่ หรอื เทปผ้าแล็คซนี
๓. กระดานไวทบ์ อร์ดพร้อมปากกาเขยี นไวทบ์ อรด์ หรอื กระดาษฟลิปชารท์ พร้อมปากกาเคมี
๔. แบบประเมนิ ผลงานกลมุ่ และแบบสงั เกตพฤติกรรม

ข้ันตอนการดาเนินกิจกรรม

๑. ผู้สอนชวนสนทนาเก่ียวกับกิจกรรมที่ผ่านมา โดยถามว่า “ในสัปดาห์ท่ีผ่านมา นักเรียน/
นักศึกษาจาได้ไหมว่าได้ทากิจกรรมอะไรไปแล้วบ้าง และได้เรียนรู้อะไรจากกิจกรรม
เหล่านั้น” ผู้สอนจดคาตอบของผู้เรียนทุกคนลงบนกระดานแล้วบอกผู้เรียนว่า “ในวันนี้
นักเรียน/นักศึกษาจะได้ทากิจกรรมท่ีมีชื่อว่า “จัดอันดับและความสาเร็จ” พร้อมทั้งบอก
จุดประสงค์ของกิจกรรม

๒. แบ่งผู้เรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม ๆ ละ ๑๐ คน โดยให้ผู้เรียนจับกลุ่มกันเองตามความสมัครใจ
ไม่มกี ารแทรกแซงจากผู้สอน (ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมเพื่อสะท้อนในท้ายช่ัวโมง)

แนวการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา 39

๓. ผู้สอนวางเชือกฟางจากหน้าห้องไปท้ายห้อง ๔ เส้นขนานกัน เว้นระยะห่างระหว่างเส้น
ตามความเหมาะสมของสภาพห้องเรียนหรือพ้ืนท่ีจัดกิจกรรม แล้วใช้กระดาษกาวย่นหรือ
เทปผา้ แล็คซนี แปะหัว-ท้ายของเชอื กฟาง เพ่ือไม่ใหเ้ ชอื กฟางหลุด

๔. ใหผ้ ู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ยืนบนเชือกฟางของกล่มุ ตนเอง และใหห้ นั หนา้ มาทางครูเพื่อรบั ฟงั คาสัง่
๕. ผู้สอนอธิบายว่า “กิจกรรมนี้ คือ กิจกรรมจัดอันดับความสาเร็จ ซ้ายมือของนักเรียน/

นักศึกษาคือผา ขวามือคือเหว เชือกฟางคือทางเดินแคบ ๆ ท่ีกว้างพอให้ฝ่าเท้าเหยียบก้าว
ไปได้เท่านั้น” แล้ว “ให้นักเรียน/นักศึกษาทุกคนทาขวาหัน (เพื่อให้เหมือนหลังพิงผา หน้า
มองเหว) จากน้ันบอกผู้เรียนว่า “เส้นทางอยู่ขวามือ เส้นชัยคือซ้ายมือ (ปลายเชือกอยู่
หนา้ ห้อง) กล่มุ ไหนจัดอันดบั ไดถ้ กู ตอ้ งและเสร็จเร็วกว่า กล่มุ นนั้ ชนะเลศิ
กติกา คอื หา้ มล้าหนา้ ผา ห้ามตกเหว เท้าตอ้ งอยู่บนเชือกฟางเทา่ นั้น ผดิ กติกาถือว่าแพ้

๖. รอบที่ ๑ ผู้สอนให้คาสั่ง “จัดอันดับตามส่วนสูง” แล้วคอยสังเกตพฤติกรรมของแต่ละกลุ่ม
วา่ ทาตามกติกาหรอื ไม่ เม่ือผู้เรยี นจัดอันดับเสร็จแล้ว ผู้สอนเช็คส่วนสูงของผู้เรียนวา่ เป็นไป
ตามลาดับจากมากไปนอ้ ย (หรือน้อยไปมาก) เพ่อื หากล่มุ ที่ชนะเลิศ

๗. รอบที่ ๒ ผู้สอนกาชับกติกาการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแก้ตัว แล้วให้คาสั่ง
“จัดอนั ดับตามเดือนเกิด” และตรวจสอบการเรยี งลาดบั

๘. เมื่อทากจิ กรรมเสร็จแล้วใหผ้ ู้เรียนน่งั เกา้ อีต้ ามเดมิ แตล่ ะกล่มุ เก็บเชือกฟางใส่ทีก่ ลอ่ งเดิม
๙. ผู้สอนถามผู้เรียนและเขียนคาตอบของทกุ คนเพือ่ แสดงถึงการยอมรบั ความคิดเห็น ดงั นี้

๙.๑ รู้สึกอยา่ งไรเมอื่ ได้ทากิจกรรม “จัดอันดับความสาเรจ็ ”
๙.๒ อะไรสาคญั กว่ากันระหว่าง “ชยั ชนะ” และ “ความสาเรจ็ ”
๙.๓ สงิ่ ท่ีชว่ ยใหท้ มี ประสบความสาเร็จคอื อะไร
๙.๔ ไดเ้ รยี นรูอ้ ะไรจากกิจกรรมนี้
๙.๕ จะนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อยา่ งไร
๑๐. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมสรุปผลที่ได้จากการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงความ

ซือ่ สตั ย์ เสยี สละ อดทนและมอี ดุ มการณ์ในส่งิ ท่ดี งี ามเพอ่ื สว่ นรวม

ขอ้ เสนอแนะ

1. กิจกรรมนี้สามารถจัดได้กับผู้เรียนจานวนมาก ขึ้นอยู่กับพื้นท่ีที่ใช้จัดกิจกรรม โดยอาจเพิ่ม
จานวนสมาชิกต่อกลมุ่ แตไ่ ม่ควรเกิน ๑๕ คนต่อกลุ่ม และต้องจัดในพ้ืนที่โล่ง เพื่อไม่ให้เกิด
อุบัติเหตุ กรณีจัดกับผู้เรยี นท้ังสถานศึกษาในห้องประชุม อาจให้ผู้เรียนอาสาสมัครมาร่วม
ทากิจกรรมกลุ่มแขง่ ขนั กัน จานวนกลุ่มแล้วแต่ขนาดพ้ืนท่ี โดยผู้เรียนท่ีไม่ได้เข้าแข่งขันเป็น
กรรมการและกองเชียร์

2. สมาชิกแต่ละกลุ่มมีทั้งเพศหญิงและชายได้ แต่ผู้สอนต้องคอยสังเกตพฤติกรรมเพ่ือนามา
สรุปเป็นประเดน็ พูดคุยเนน้ ย้าเร่ืองคณุ ธรรม จริยธรรม

3. ครูต้องกาชับให้ผู้เรียนรู้สึกว่า ข้างหน้าคือเหวและข้างหลังคือหน้าผาให้ได้ เพ่ือให้การเล่น
เกม มีความสนกุ และสมจริงมากขนึ้

40 แนวการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา

4. หากมีเวลาพอ สามารถทากิจกรรม ๓ - ๕ รอบได้ โดยเปลี่ยนคาสั่งหรือโจทย์ในแต่ละรอบ
และอาจเพิ่มคาสั่งย่อย เช่น ให้เรียงลาดับตามวันเกิดในรอบสัปดาห์ จากวันอาทิตย์ถึง
วันเสาร์ หากเกิดวันเดียวกันให้เรียงลาดับตามวันท่ีเกิดหรือเดือนเกิดจากมากไปหาน้อย

เป็นตน้
5. ในข้ันตอนแสดงความคิดเห็น ผู้สอนควรเปิดใจรับฟังทุกคาตอบอย่างต้ังใจ ไม่เพิกเฉย

ไม่ตาหนคิ าตอบ หรอื ทากริยาทา่ ทางอันเปน็ การสกัดกัน้ การแสดงความคิดเหน็ ของผู้เรียน

แนวทางการประเมนิ

๑. ประเมินจากผลการทากิจกรรมกล่มุ
๒. ประเมนิ พฤตกิ รรมผเู้ รยี นโดยการสังเกตหรอื ใช้แบบสงั เกต

พฤตกิ รรม หลกั คณุ ธรรมท่ีประเมิน

- วางแผนก่อนการปฏิบตั ิกิจกรรม พอเพียง ๒๐%
- ทากจิ กรรมดว้ ยความรอบคอบ ระมดั ระวงั
สุจริต ๓๐%
- ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ าทก่ี าหนดอย่างเครง่ ครดั สามัคคี ๓๐%

- ใหค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมกลุ่ม มวี ินยั ๒๐%
- มภี าวะผนู้ า ผตู้ าม ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่ืน

- มุ่งมัน่ ทากิจกรรมตามขัน้ ตอนและเวลาที่กาหนด
จนเกดิ ผลสาเร็จ

รวม 100%

แนวการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา 41

กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม หนว่ ยที่ ๑

ชื่อหน่วย กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ กิจกรรมที่ ๑.๕
ธรรมาภบิ าลตามค่านยิ มหลักของคนไทย
12 ประการ เวลา ๔ ช่วั โมง

ชอื่ กิจกรรม ผ้าป่าความดี

หลกั การและเหตุผล

ความดีตามวิถีไทยได้ถูกละเลยและถอยห่างจากเยาวชนออกไปทุกขณะ เน่ืองจากการไหล
เข้ามาของการส่ือสารในทุกรูปแบบจากเทคโนโลยีที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เยาวชนถูกกระแส
เหล่าน้ีหล่อหลอมจนมีพฤติกรรมที่ขาดจริยธรรมมากข้ึน กิจกรรมผ้าป่าความดีเป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียน
ทเ่ี ปน็ เยาวชนทัง้ หลายหนั มาสร้างความดีตามวถิ แี ละค่านยิ มหลกั ของคนไทย

จุดประสงค์ของกิจกรรม

1. เพือ่ ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรมตามวิถีและคา่ นิยมหลักของไทยใหก้ ับผเู้ รียน
2. เพื่อส่งเสรมิ การประพฤติปฏิบัตติ นเป็นคนดีตามคา่ นิยมหลกั ของคนไทย

ส่ือ วสั ดุ อปุ กรณ์และแหลง่ เรียนรู้อน่ื ๆ

๑. พมุ่ ผ้าป่า ได้แก่ กระถาง/ถงั พร้อมทรายหรอื วัสดุอื่นสาหรบั ปักต้นผ้าป่า ก่งิ ไม้พร้อมเชือก/
ดา้ ยสาหรบั แขวนความดี ถ้าใชต้ น้ กล้วยตอ้ งมกี ้านไมไ้ ผ่สาหรับเสียบ

๒. กระดาษสีต่าง ๆ ขนาด A4 ตัดเป็น ๘ ช้ินต่อแผ่น พร้อมปากกาเคมีคละสี จัดเป็น ๑๒ ชุด
(กาหนดให้ ๑ ชุด เป็นกระดาษสีเดียวกันอย่างน้อย ๒๔ แผ่น และปากเคมี ๑ สี หากมี
กระดาษสไี มค่ รบ ๑๒ สี อาจจัดใหก้ ล่มุ ทีใ่ ชก้ ระดาษสเี ดยี วกนั ใชป้ ากกาเคมีสีตา่ งกัน)

๓. วีดทิ ัศน์ เพลงค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ เพลงกลองยาว/เซิง้ หรืออ่นื ๆ ตามท้องถนิ่
๔. คอมพวิ เตอร์ พร้อมเคร่ืองฉาย LCD และจอ
๕. ไมโครโฟนและเคร่อื งเสียง
๖. แบบประเมนิ ผลงานกลุ่มและแบบสงั เกตพฤติกรรม

ขนั้ ตอนการดาเนนิ กิจกรรม

๑. ผู้สอนเปิดวีดิทัศน์ เพลงค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ แล้วต้ังประเด็นคาถามจาก
วีดิทัศน์เพลงเพื่อทบทวนความรู้และประสบการณ์เก่ียวกับค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒
ประการ วา่ มอี ะไรบ้าง

๒. แบง่ กลมุ่ ผเู้ รียนออกเปน็ ๑๒ กลุม่ จับฉลากค่านยิ มหลกั ของคนไทยกลมุ่ ละ ๑ ประการ แล้ว
สง่ ตัวแทนไปรบั กระดาษสี พร้อมปากกาเคมี กลมุ่ ละ ๑ ชุด

42 แนวการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา

๓. ให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันคิดพฤติกรรมความดีท่ีจะทาตามค่านิยมท่ีได้รับ เขียนแล้วติดบนพุ่ม
ผ้าปา่ ของแตล่ ะกล่มุ ใหส้ วยงาม

๔. ให้สมาชิกในกลุ่มประชาสัมพันธ์ให้นักเรียน/นักศึกษาอ่ืน ๆ มาร่วมกันเขียนความดีแขวน
บนพุ่มผ้าป่าของกลุ่มของตนเอง โดยจัดกระบวนแห่ผ้าป่าความดีตามวิถีไทย ใช้ขบวน
กลองยาว/เซิ้ง/ฟอ้ น หรอื อนื่ ๆ ตามท้องถิ่นในชัว่ โมงถดั มา

๕. ทาพิธที อดผ้าป่าโดยนิมนต์พระสงฆ์มาทาพธิ ีตามประเพณีไทย โดยให้ผู้เรยี นที่ได้รับค่านิยม
ที่ ๑ และท่ี ๕ เป็นตัวหลักในการดาเนินกิจกรรมถวายผ้าป่าตามวิถีไทย โดยผู้สอนคอยให้
คาแนะนาช่วยเหลอื

๖. หลังจากรบั มอบผ้าปา่ คืนมาจากพระ ให้แต่ละกลุม่ นามาต้งั ปณธิ านความดีและสะทอ้ นความ
คดิ เห็น ดงั นี้
๖.๑ รสู้ กึ อยา่ งไรเมอื่ ไดท้ ากจิ กรรมน้ี
๖.๒ ไดเ้ รยี นร้อู ะไรจากกจิ กรรมน้ี
๖.๓ จะนาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้อยา่ งไร

๗. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมสรุปผลท่ีได้จากการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนตระหนักถึงการประพฤติ
ปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ และให้มกี ารบันทึกความดที ่ที าทุกวัน

ข้อเสนอแนะ

1. กิจกรรมนี้สามารถจัดได้กับผู้เรียนทั้งสถานศึกษา แต่ต้องแบ่งเป็น ๑๒ กลุ่ม และต้องเพิ่ม
ขนาดของพุ่มผ้าป่า โดยควรประชาสัมพันธ์ให้ผู้เรียนเข้ารว่ มกิจกรรมเขียนและติดข้อความ
บนพ่มุ ผ้าปา่ นอกเวลาเรยี น หรืออาจจะตงั้ พมุ่ ผ้าป่าไว้ตลอดภาคการศกึ ษา

2. การจัดกิจกรรมในเวลาเรียน ผู้สอนควรควบคุมเวลาเพ่อื ให้เป็นไปตามทก่ี าหนด
3. ควรนมิ นตพ์ ระสงฆไ์ ว้ลว่ งหนา้ และถวายปัจจยั โดยการวธิ ีเรีย่ ไรตามศรทั ธา
4. ในขั้นตอนแสดงความคิดเห็น ผู้สอนควรเปิดใจรับฟังทุกคาตอบอย่างตั้งใจ แต่หากมีผู้เรียน

จานวนมาก อาจปรับเปน็ แจกกระดาษโพสอิทใหผ้ เู้ รยี นแตล่ ะคนเขยี น แล้วนาไปตดิ ทบ่ี อรด์
5. การจัดทาบันทึกความดี สถานศึกษาสามารถออกแบบฟอร์ม กาหนดวิธีการบันทึก (เช่น

บันทึกในสมุด แฟ้มสะสมผลงาน แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์) และกาหนดวันส่งตาม
ความเหมาะสม (เช่น ทุกวันศกุ ร์ ทกุ วนั ที่ 1 และวันที่ ๑๕ ของเดอื น พรอ้ มภาพประกอบ

กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม มีอะไรบ้าง

กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ ธรรมาภิบาล ประจำปี 2560.
การถวายความจงรักภักดี ตามรอยพ่อ ... .
งานจิตอาสาและการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสังคม ... .
งานทำบุญทางพุทธศาสนา และแสดงมุทิตาจิตแด่พี่ๆ ที่เกษียณอายุราชการแล้ว.
การส่งเสริมพระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาจิตให้เกิดปัญญาและสันติสุข ... .
การส่งเสริมและพัฒนาจิตปัญญา.

อบรมคุณธรรมจริยธรรมได้อะไรบ้าง

๑. เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ เรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. เด็กและเยาวชนได้น้อมนาหลักธรรมคาสอนทางพระพุทธศาสนาไปปรับเปลี่ยนใช้ในการดาเนินชีวิตให้ เป็นไปอย่างถูกต้อง ๓. เด็กและเยาวชน มีความพร้อมและรู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบัน ๔. เด็กได้รับการสร้างสุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางสังคม ...

คุณธรรม จริยธรรมของ นักเรียน มี อะไร บ้าง

คุณธรรม 4 ประการที่ควรปลูกฝังในผู้เรียน คือ การรักษาความสัตย์, การรู้จักข่มใจตนเอง, การอดทน อดกลั้น และอดออม และการรู้จักละวางความชั่ว

การมีคุณธรรม จริยธรรม มีอะไรบ้าง

ประเภทของคุณธรรม คุณธรรมจริยธรรม คุณธรรมที่เป็นปัจจัยแรงผลักดัน ๑. ความมีวินัย ๒. ความอดทนอดกลั้น ๓. ความขยันหมั่นเพียร คุณธรรมที่เป็นปัจจัยหล่อเลี้ยง ๔. ความซื่อสัตย์ซื่อตรง ๕. ความรับผิดชอบ คุณธรรมที่เป็นปัจจัยเหนี่ยวรั้ง ๖. ความมีสติ ๗. ความพอเพียง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด