ในสมัย พ่อขุน รามคำแหง มหาราช ตรงกับราชวงศ์ ใด ของจีน

          ��ػ����¾�͢ع������˧����Ҫ���觷ٵ��ԭ�Ҫ����աѺ�չ 4 ���� ��� �.�.1835, �.�.1837, �.�.1838, �.�.1840 ��зٵ����µ����  ���  ��зٵ �.�. 1841 �����ѡ�ҹ�չ�к�������˹�Ҥ�зٵ���Ѫ���ҷ�ͧ��ѵ������⢷�� ������ѭ�ԭ����Ҫ���칡�Һ��Ũѡþ�ô���� "����;���Ҫ�ԴҢ�鹤�ͧ�Ҫ�� (�ѡþ�ô�) ����Ҫ�ҹ�ҹ��� �ѧ���¹��� ��Ң�� �������ʹ��¡�ͧ�ͧ �֧�;���Ҫ�ҹ��觢ͧ�ѧ������蹡ѹ�" ��ҡ���Ҩѡþ�ôԻ�зҹ���������ʹ��¡�ͧ�ͧ ������зҹ��� ����ҧ�����⢷�����ҳҨѡ���� ������繸������ҳҨѡ����͹��ҹ��� � �ͧ��⢷�� �����Ӥѭ�ͧ��ͤ����ѧ����Ǣ�ҧ����������� ��͢ع������˧�������ä������ �.�. 1841 

          ด้วยพระเกียรติคุณ พระราชกรณียกิจที่ทรงสร้างไว้แก่ประเทศชาตินานัปการ มุ่งประโยชน์สุขของราษฎรเป็นสำคัญ การรวมประเทศ การแผ่ขยายอาณาเขต การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และการประดิษฐ์คิดค้นอักษรไทย อันเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของชาติ     ประชาชนชาวไทยจึงร่วมใจกันสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระองค์ ประดิษฐานไว้ ณ เมืองกรุงเก่าสุโขทัย  เพื่อเป็นที่เคารพสักการะ และเป็นการเฉลิมพระเกียรติคุณให้ยั่งยืนสืบไปชั่วกาลนาน   

����������������� ������� ���ͷ�����ѡ�ѹ�������ҳ������� ��л���Ȩչ �繻�������͹��ҹ�����§�Ҫ�ҹҹ �������Ъ�Ǩչ������������еԴ�������ѹ��ѹ��駷ҧ�Ѳ����� ���ɰ�Ԩ��С�����ͧ�ҵ������ҳ �����һ���Ȩչ�繻���ȷ���˭��������վ����ͧ�ҡ���һ�����¡��� ���������ѹ�������ҧ����ȷ���ͧ��ǹ�ҡ�����ѡɳз������ͻ���ª���͡ѹ�ѹ��ҵ��Ե� ��ʹ���������ѹ��ǹҹ�ͧ����ѵ���ʵ�� ������¡Ѻ����Ȩչ���դ�������ѹ���ѹ���Դ �ҧ����Ҩ��������ѹ���¤��� 㹺ҧ�����Ҩ��ҧ��Թ仺�ҧ �ѹ���ͧ�Ҩҡ�ѭ�����㹢ͧ���л�������ʶҹ��ó������ҧ�����

����������������� ����;�ä�����ǹ�ʵ�չ������ùӢͧ������͵ا�ִ�ӹҨ�蹴Թ�˭�չ �������¹�ŧ��û���ͧ�繤����ǹ�ʵ� ��ʶһ�һ������ ��Ҹ�ó�Ѱ��ЪҪ��չ� ��ѹ��� 1 ���Ҥ� �.�. 2492 �������Ѻ�ͧ�Ѱ����Ҹ�ó�Ѱ��ЪҪ��չ ����з���ѹ��� 1 �á�Ҥ� �.�. 2518 ����� Ͼ�� �.�.�. �֡ķ��� ������ ��¡�Ѱ����բͧ��㹢�й�� �Թ�ҧ����͹��ا�ѡ��� ���ŧ�����ŧ��ó��������ѹ��ҧ��÷ٵ���ҧ�繷ҧ��áѺ����Թ��� ��¡�Ѱ������Ҹ�ó�Ѱ��ЪҪ��չ �Ѻ��������Ҩ��֧�Ѩ�غѹ ��������ѹ�������ҧ������¡Ѻ�Ҹ�ó�Ѱ��ЪҪ��չ���դ������Դ��觢�� ���ա���Թ�ҧ��������ѹ�����дѺ��ЪҪ����������дѺ���Ӣͧ����ͧ����� �ա��駤�������ѹ�����¤�ͺ����价ء � ��ҹ ��駡�����ͧ ���ɰ�Ԩ ����ѧ���Ѳ�����

㹡���֡�����������������ѹ�������ҧ������¡Ѻ�Ҹ�ó�Ѱ��ЪҪ��չ ��ͺ 30 �շ���ҹ�� ���������͹Ҥ� ���繵�ͧ���㨤����������ͻ���ѵ�������ѧ�ͧ��������ѹ������Шչ�ʹյ����

��������ѹ�������ҧ����Шչ�ʹյ��͹���ʶһ�Ҥ�������ѹ��ҧ��÷ٵ���ҧ�繷ҧ���� �.�. 2518 ��� ��Ѳ���� 3 ���дѧ��� ���

����������������1.����������ѹ���������ҳ �繤�������ѹ�������ҧ�չ�Ҫǧ���ҧ� �Ѻ�� ��������·���ҳҨѡ���ҳ������ͧ��ǧ��������⢷��� �.�. 1825 ������������ͧ��ǧ�ҷ����ظ�� ������ ��С�ا෾� ���֧ �.�. 2396 ����¾�кҷ���稾�Ш��������������������Ҫǧ��ѡ�շ���ا෾�

��������������� 2.����������ѹ���������� ��͹ʧ�����š���駷�� 2 �繤�������ѹ�������ҧ�չ�Ѻ�·��༪ԭ�Ѻ�ѡ���ôԹ������ѹ�������ҧ �.�. 2400 � 2488 ����繻�����شʧ�����š���駷�� 2

ตำราเรียนหลายเล่ม หรือบทความหลายชิ้นบทอินเตอร์เน็ตอ้างว่า พ่อขุนรามคำแหงเป็นผู้นำเข้าเทคโนโลยีทำถ้วยชามเข้ามาจากจีน และเริ่มมีการผลิตเครื่องถ้วยชามอันโด่งดังของอาณาจักรสุโขทัยที่เรียกกันว่า “ชามสังคโลก” ในรัชสมัยของพระองค์

เหตุที่มีการเขียนตำรากันในลักษณะนี้มีที่มาที่ไปอยู่ ไม่ใช่เขียนขึ้นลอยๆ เพราะนอกจากจะปรากฏในตำนานพระร่วงแล้ว ยังมีการแปลเอกสารจีนในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นหลักฐานยืนยันว่า “เสี้ยมก๊กอ๋องกังมกติ๋ง” เคยเสด็จไปเฝ้าพระเจ้ากรุงจีนถึงสองครั้ง

ผู้ที่แปลเรื่องดังกล่าวก็คือ ขุนเจนจีนอักษร (สุดใจ) แปลจากหนังสือคิมเตี้ยซกทงจี่ ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงอธิบายไว้ในคำนำประชุมพงศาวดารภาค 5 ว่า “จดหมายเหตุจีนเหล่านี้ หลวงเจนจีนอักษร (สุดใจ) พนักงานหอพระสมุดฯ ได้แปลเป็นภาษาไทยเฉพาะตอนที่กล่าวด้วยสยามประเทศ เรียบเรียงทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปีระกา เอกศก พ.ศ. ๒๔๕๒”

และพระองค์ก็ทรงอธิบายเรื่องของการเทียบศักราชไว้ว่า “เมื่อพิมพ์ครั้งแรกนั้น ยังไม่ได้สอบศักราชครั้งกรุงเก่าได้แน่นอน จดหมายเหตุจีนมักเรียกพระเจ้าแผ่นดินสยามแต่ว่า ‘เสี้ยม-หลอก๊กอ๋อง’ ไม่รู้ใคร่ได้ว่าความที่กล่าวตรงไหนจะเป็นแผ่นดินไหนแน่ บัดนี้ได้สอบศักราชรัชกาลครั้งกรุงเก่ารู้ได้เกือบจะไม่ผิดแล้ว ข้าพเจ้าจึงได้บอกรัชกาลและได้ทำคำอธิบายเพิ่มเติมลงไว้ในฉบับที่พิมพ์ในเล่มนี้”

ข้อความที่ว่า “เสี้ยมก๊กอ๋องกังมกติ๋ง” ไปเมืองจีนตามสำนวนแปลของ ขุนเจนจีนอักษร (สุดใจ) มีอยู่ว่า

“แผ่นดินจี่หงวนปีที่ ๓๑ กะโหงวชิดหง้วย (ตรงกับ ณ วันเดือนเก้า ปีมะเมียจุลศักราช ๖๕๖ ปี) ในปีนั้นพระเจ้าหงวนสี่โจ๊วฮ่องเต้ สวรรคต พระเจ้าหงวนเสงจงฮ่องเต้ขึ้นเสวยราชสมบัติ แต่ยังไม่ได้เปลี่ยนนามแผ่นดิน เสี้ยมก๊กอ๋องกังมกติ๋งมาเฝ้า พระเจ้าหงวนเสงจงฮ่องเต้รับสั่งกับเสี้ยมก๊กอ๋องกังมกติ๋งว่าแม้ท่านคิดว่าเป็นไมตรีกันแล้วก็ควรให้ลูกชายหรือขุนนางมาเป็นจำนำไว้บ้าง

แผ่นดินไต๋เต็ก (นามแผ่นดินของพระเจ้าหงวนเสงจงฮ่องเต้) ปีที่ ๔ แกจื๊อลักลักหง้วย (ตรงกับ ณ เดือนแปดปีชวดจุลศักราช ๖๖๒ ปี) เสี้ยมก๊กอ๋องมาเฝ้า”

และในประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 5 ก็มีการใส่เชิงอรรถอธิบายเสริมคำ “เสี้ยมก๊กอ๋องกังมกติ๋ง” ที่กล่าวถึงครั้งแรกเอาไว้ว่า “ที่จีนเรียกพระนามเสียมก๊กอ๋องว่า กังมกติ๋ง จะมาแต่อะไรยังคิดไม่เห็น แต่ศักราชนั้นตรงกับแผ่นดินพระเจ้ารามคำแหง” (“กังมกติ๋ง” นั้นผู้รู้ยุคหลังท่านว่าน่าจะหมายถึง “กมรเตง” อย่างที่เรียกเจ้าเขมร) 

และอีกครั้งที่มีการกล่าวถึง “เสี้ยมก๊กอ๋อง” เฉยๆ ไม่มีสร้อยว่า “กังมกติ๋ง” ก็มีการอธิบายเสริมว่า “พระเจ้ารามคำแหงเสด็จไปเมืองจีน ๒ ครั้งนี้ ที่ไปเอาจีนเข้ามาทำเครื่องถ้วยสังคโลก”

ที่มีการตีความว่า “เสี้ยมก๊กอ๋อง” หมายถึงพ่อขุนรามคำแหง ก็เพราะเชื่อกันว่า “เสี้ยมก๊ก” (หรือที่เดี๋ยวนี้สะกดว่า “เสียมก๊ก” มากกว่า) ต้องหมายถึง “สุโขทัย” เป็นแน่ และเป็นเหตุให้การเล่าประวัติพ่อขุนรามคำแหงจึงมีการกล่าวอ้างว่าพระองค์เป็นผู้นำเข้าเทคโนโลยีการทำถ้วยชามมาจากจีนเพราะตรงกับรัชสมัยของพระองค์พอดี

แต่นักประวัติศาสตร์ยุคหลังหลายคนไม่ค่อยจะเชื่อว่า “เสียมก๊ก” หมายถึงสุโขทัย กลับมองว่าน่าจะเป็นหัวเมืองใกล้ชายทะเลอย่าง “สุพรรณภูมิ” เสียมากกว่า

คุณทักษิณ อินทโยธา ได้รวบรวมข้อโต้แย้งไว้หลายประการ โดยหลักฐานหลายชิ้นก็เป็นของฝั่งจีนเอง เช่น “บันทึกภูมิประเทศและจารีตประเพณีของ เจินหล้า (เขมร)” ของโจวต๋ากวาน ที่เดินทางมาเมืองเขมรเมื่อปี พ.ศ. 1838 และได้เขียนถึง “เสียน” และ “หลอหู” (ละโว้) เอาไว้ด้วย โดยได้ระบุที่ตั้งของ “เสียนหลอ” ไว้ว่าตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเขมร จึงไม่ใช่สุโขทัยแน่ๆ

บันทึกหนานไห่ที่เฉินต้าเจินเขียนขึ้นในราวปี พ.ศ. 1840-50 ก็บรรยายว่า อาณาจักรเสียนปกครอง ซั่งสุ่ย (ศรีสัชนาลัย?) และ “สูกู่ไถ” อันน่าจะหมายถึง “สุโขทัย” นั่นก็น่าจะแปลว่า เสียนกับสุโขทัยนั้นแยกกัน และเสียนมีอิทธิพลเหนือสุโขทัย

ส่วน “บันทึกย่อเผ่าชาวเกาะ” ของ วังต้ายวน ที่เขียนขึ้นในยุคใกล้ๆ กับที่ตั้งกรุงศรีอยุธยาก็ว่า เสียนกับหลอหูรวมกันในช่วง พ.ศ. 1892 กลายเป็นกรุงศรีอยุธยา ซึ่งหลังจากนี้เวลาจีนเรียกศูนย์กลางของอาณาจักรสยามก็มักจะเรียกว่า “เสียนหลอ” หรือ “เสียน” เฉยๆ เสมอ และนั่นก็เป็นช่วงก่อนที่อยุธยาจะผนวกสุโขทัยหลายสิบปี

หรือเอกสารสมัยราชวงศ์ชิงก็ว่า เสียนนั้นมีแม่น้ำเกิดจากภูเขาทางใต้ไหลขึ้นเหนือมาออกอ่าวไทย ซึ่งแม่น้ำลักษณะดังกล่าวก็ไม่มีอยู่ในสุโขทัยหรือละโว้ แต่เป็นลักษณะของแม่น้ำหลายแห่งในภาคใต้

หลักฐานอื่นที่ไม่ใช่ของจีนก็มีเช่นจารึกภาษาจามในเมืองยาตรัง ที่จารึกว่า “กษัตริย์ชัยปรเมศวรมันที่ ๑ แห่งจัมปา ถวายทาสชาวเขมร, จีน พุกาม และสยามเป็นข้าวัดแห่งหนึ่งเมื่อ พ.ศ. ๑๕๘๓” หรือจารึกนครวัดก็มีการกล่าวถึง “สยาม” เช่นกัน แสดงว่า สยาม หรือที่จีนเรียกว่า “เสียน” นั้นมีอยู่ก่อนสุโขทัยหลายร้อยปีทีเดียว และก็ควรต้องอยู่ในภาคกลาง หรือภาคใต้ของไทย เมื่อพิจารณาประกอบคำบรรยายทั้งแม่น้ำ และที่ตั้งในเอกสารจีน ซึ่งก็สอดรับกับเอกสารฝรั่งในยุคหลังอย่างจดหมายเหตุลาลูแบร์ที่บอกว่า “สยาม” นั้นแต่ก่อนเรียกว่า “สุพรรณ”

คุณทักษิณ อินทโยธาจึงได้สรุปว่า “เสียน” นี้ควรมีสองกลุ่มคือกลุ่มในภาคกลางก็คือ กลุ่มสุพรรณภูมิ กับเสียนในภาคใต้คือกลุ่มตามพรลิงค์หรือนครศรีธรรมราชนั่นเอง

หากเชื่อคุณทักษิณ (อินทโยธา) โอกาสที่ “เสียมก๊กอ๋องกังมกติ๋ง” จะหมายถึง “พ่อขุนรามคำแหง” จึงไม่น่าจะเป็นไปได้

ข้อมูลของคุณสุจิตต์ วงษ์เทศยังบอกว่า ตอนแรกกรมดำรงฯ เองก็ไม่ทรงเชื่อเรื่องที่ว่าไว้ในพงศาวดารเหนือว่าพระร่วงไปเมืองจีน แต่พอได้มาเห็นจดหมายเหตุจีนที่ผู้รู้สมัยนั้นแปลไว้ก็ต้องเชื่อไปตามนั้น แต่มันมาโอละพ่อตรงที่ ภายหลัง ดร.สืบแสง พรหมบุญ มาทำวิจัยและพบว่า ผู้รู้ท่านแปลเอกสารจีนผิดไป

อย่างไรก็ดี เชื้อพระวงศ์จากสยามที่เคยไปเมืองจีนนั่นมีอยู่จริง (ตามหลักฐาน) ก็คือ “เจ้านครอินทร์” แห่งรัฐสุพรรณภูมิ ดังที่ “บันทึกเรื่องจริงแห่งราชวงศ์หมิง” ได้กล่าวไว้ว่า “เมื่อวันที่ ๒๒ เดือน ๙ ปีที่๔ แห่งรัชศกหงหวู่ หลี่จงจิ้นเดินทางกลับมาจากราชอาณาจักรสยาม ซานเลี่ยเจาผีหยา กษัตริย์แห่งอาณาจักรนั้น ทรงแต่งตั้งราชทูตนามว่าเจาเอี้ยนกูหมาน แลคณะติดตามหลี่จงจิ้นมาเข้าเฝ้า ณ ราชสำนัก…”

และคำว่า “เจาเอี้ยนกูหมาน” นี้ผู้แปลหนังสือ “บันทึกเรื่องจริงแห่งราชวงศ์หมิง” คือ ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร ได้ขยายความว่าหมายถึง “เจ้าอินทรกุมาร” (เจ้านครอินทร์) รัชทายาทของเมืองสุพรรณบุรีนั่นเอง และก็มีความเป็นไปได้สูงทีเดียว (อย่างน้อยก็สูงกว่าพ่อขุนรามคำแหง) ที่เจ้าอินทรกุมารจะเป็นผู้นำเข้าเทคโนโลยีการทำถ้วยชามสังคโลกเข้ามาในสยาม เนื่องจากอาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม เคยกล่าวไว้ว่า เตาเผาเครื่องเคลือบส่วนใหญ่นั้น “ล้วนเป็นแหล่งที่พัฒนาขึ้นใหม่ในพุทธศตวรรษที่ 20 เกือบทั้งสิ้น” และปีที่ “เจ้านครอินทร์” เดินทางไปเมืองจีนนั้นก็ตรงกับปีพ.ศ. 1914 ซึ่งเป็นช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 20 พอดิบพอดี “พระร่วง” ที่ไปเมืองจีนจึงน่าจะเป็น “เจ้านครอินทร์” อย่างที่อาจารย์พิเศษ เจียจันทร์พงษ์ ได้ตั้งสมมติฐานไว้ เพราะพระองค์ก็มีเชื้อสายพระร่วง ด้วยมีแม่เป็นเชื้อวงศ์สุโขทัย

 

อ้างอิง:

1. ทักษิณ อินทโยธา. “แย้งข้อสรุปของคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทยที่ว่า ‘เสียน’ ในเอกสารราชวงศ์หยวนหมายถึงสุโขทัย.” ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (ธันวาคม 2530): น.24-31.

2. ทักษิณ อินทโยธา. “แย้งข้อสรุปของคณะกรรมการชำระประวัติศาสตร์ไทยที่ว่า ‘เสียน’ ในเอกสารราชวงศ์หยวนหมายถึงสุโขทัย.” ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (มกราคม 2531): น.104-111.

3. สุจิตต์ วงษ์เทศ. “สุจิตต์ วงษ์เทศ : พ่อขุนรามคำแหง ไม่เคยไปเมืองจีน.” มติชนออนไลน์ 8 ก.พ. 2559. matichon.co.th. เว็บ. 5 ก.ค. 2559. <//www.matichon.co.th/news/29904>

4. ศรีศักร วัลลิโภดม. “พ่อขุนรามไม่เคยค้า ‘สังคโลก'” ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (พฤศจิกายน 2528): น.63-64.

5. วินัย พงศ์ศรีเพียร. หมิงสือลู่-ชิงสือลู่ บันทึกเรื่องจริงราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา, 2559. น.84-85

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด