ยาคุมฉุกเฉินปี1กินได้กี่ครั้ง

การคุมกำเนิดในปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นวิธีที่ต้องอาศัยหัตถการทางการแพทย์ เช่น การทำหมัน ใส่ห่วงคุมกำเนิด แต่ในบางครั้งวิธีเหล่านี้ค่อนข้างยุ่งยาก และอาจทำให้ไม่สามารถกลับมามีลูกได้เมื่อถึงเวลาที่ต้องการ การใช้ยาคุมกำเนิดแบบรายเดือนและยาคุมฉุกเฉินจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ป้องกันการตั้งครรภ์มากขึ้น แต่บางคนอาจเคยได้ยินข้อมูลที่ว่า “กินยาคุมฉุกเฉินมากเกินไป อันตรายต่อร่างกาย” แล้วเกิดความกังวล ซึ่งความจริงแล้วการกินยาคุมฉุกเฉินบ่อย ๆ อันตรายจริงไหม ? อย่างไร ? หาคำตอบได้จากบทความนี้

 

ประสิทธิภาพของยาคุมฉุกเฉิน

“ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน” (Emergency Contraception Pill) สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ 80 – 95% ซึ่งคำว่าฉุกเฉินในที่นี้อาจหมายถึง การมีเพศสัมพันธ์ทั้งยินยอมและไม่ยินยอมโดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย หรือถุงยางอนามัยมีการฉีกขาด รั่วซึม รวมถึงกรณีที่ขาดการรับประทานยาคุมกำเนิดแบบรายเดือนติดต่อกันเกินกว่า 3 วัน โดยประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์จะลดลงตามระยะเวลาการใช้ยา และไม่ได้มีผลทำให้แท้งในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ไปแล้ว

 

วิธีกินยาคุมฉุกเฉินที่ถูกต้อง

ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินเป็นยาคุมกำเนิดชนิดเม็ดที่ประกอบด้วยฮอร์โมนโปรเจสตินซึ่งเป็นฮอร์โมนเพศชายเพียงชนิดเดียว มีทั้งรูปแบบรับประทาน 1 เม็ด ประกอบด้วย Levonorgestrel 1.50 มิลลิกรัม และรูปแบบรับประทาน 2 เม็ด Levonorgestrel 0.75 มิลลิกรัม ทางองค์การอนามัยโลกได้ให้ข้อมูลไว้ว่าสามารถทานได้หลังจากมีเพศสัมพันธ์ไปนานที่สุด 5 วัน แต่ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดก็ควรรับประทานให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยไม่เกิน 72 ชั่วโมงหรือ 3 วันหลังจากการมีเพศสัมพันธ์ในครั้งนั้น ๆ เพื่อให้การคุมกำเนิดมีประสิทธิภาพสูงสุด 

สำหรับยาคุมกำเนิดฉุกเฉินที่มี 2 เม็ด ใน 1 กล่อง ให้รับประทานเม็ดที่ 2 ห่างจากรับประทานเม็ดแรกไป 12 ชั่วโมง ตัวยาจะเข้าไปป้องกันหรือยับยั้งการตกไข่ ทำให้ไม่เกิดการตั้งครรภ์ ซึ่งการรับประทานยาคุมกำเนิดฉุกเฉินอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ ไม่ว่าจะเป็นอาการคลื่นไส้ อาเจียน มีเลือดออกกะปริดกะปรอย รอบประจำเดือนเปลี่ยน หรือบางคนอาจมีอาการคัดตึงเต้านมได้

 

ยาคุมฉุกเฉิน กินบ่อย ๆ ไม่ดีจริงหรือ ? 

หลายคนตั้งคำถามว่า “กินยาคุมฉุกเฉินบ่อย ๆ ไม่ดีจริงหรือ” คำตอบคือ จริง แม้ว่ายาคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินจะลดความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ได้ แต่หากการรับประทานบ่อยเกินความจำเป็น อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงจากยามากขึ้น ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานยาคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินเกิน 2 กล่องต่อเดือน ควรใช้ยามจำเป็นเท่านั้น 

 

นอกจากนี้ ยาคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินยังไม่สามารถป้องกันการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ ดังนั้นหากเป็นไปได้ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์เพื่อลดความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ อีกทั้งยังป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้อีกด้วย 

ยาคุมฉุกเฉิน หรือ ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน  ( emergency contraceptive pills, morning-after pills ) เป็นยาเม็ดฮอร์โมนที่มีขนาดสูง ใช้สำหรับรับประทานหลังจากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อลดโอกาสตั้งครรภ์ การคุมกำเนิดวิธีนี้จะให้ประสิทธิภาพภายใน 2 – 3 วัน โดยจะไปรบกวนการตกไข่ หรือรบกวนการปฏิสนธิของไข่กับอสุจิแต่หากได้รับการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนแล้ว จะไม่สามารถป้องกันได้    

ยาคุมฉุกเฉิน หรือ ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน  ( emergency contraceptive pills, morning-after pills ) เป็นยาเม็ดฮอร์โมนที่มีขนาดสูง ใช้สำหรับรับประทานหลังจากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อลดโอกาสตั้งครรภ์ การคุมกำเนิดวิธีนี้จะให้ประสิทธิภาพภายใน 2 – 3 วัน โดยจะไปรบกวนการตกไข่ หรือรบกวนการปฏิสนธิของไข่กับอสุจิแต่หากได้รับการปฏิสนธิเป็นตัวอ่อนแล้ว จะไม่สามารถป้องกันได้

ข้อบ่งชี้ การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน

  1. หลังมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน
  2. ถูกข่มขืน (Sexual assault)
  3. ใช้การคุมกำเนิดที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งมีโอกาสล้มเหลว เช่น ถุงยางแตก หลุด หรือ ใส่ไม่ถูกต้อง
  4. ลืมกินยาคุมกำเนิด
    • ชนิดฮอร์โมนรวมตั้งแต่ 3 เม็ด
    • ชนิดฮอร์โมนโปรเจสตินชนิดเดี่ยวลืมทานเกินเวลา 3 ชั่วโมง จากเวลาเดิมที่ทานประจำ หรือเกิน 27 ชั่วโมง จากเม็ดก่อนหน้า
    • ชนิด desogestrel-containing pill (0.75 mg) มากกว่า 12 ชั่วโมง จากเวลาทานปกติ หรือเกิน 36 ช่วงโมง จากเม็ดที่ทานก่อนหน้า
  5. เลยกำหนดฉีดยาคุมกำเนิด
    • มากกว่า 2 อาทิตย์ ชนิด norethisterone enanthate (NET-EN)
    • มากกว่า 4 อาทิตย์ ชนิด depot-medroxyprogesterone acetate (DMPA)
    • มากกว่า 7 วัน ชนิด combined injectable contraceptive (CIC)
  6. diaphragm or cervical cap หลุด ขาด หรือแตก ก่อนเอาออก
  7. ล้มเหลวในวิธีการหลั่งข้างนอก เช่น หลั่งในช่องคลอด หรือ อวัยวะเพศด้านนอก
  8. คำนวณวันเว้นมีเพศสัมพันธ์พลาด
  9. ห่วงคุมกำเนิดหลุด หรือยาฝังหลุด

ข้อควรรู้เกี่ยวกับยาคุมฉุกเฉิน

  • ยาคุมฉุกเฉินไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อได้ ไม่สามารถป้องกันโรคจากเพศสัมพันธ์ได้ หากต้องการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ควรสวมถุงยางอนามัย
  • ยาคุมฉุกเฉินไม่ใช่ยาทำแท้ง ยาคุมฉุกเฉินเป็นเพียงการป้องกันการตั้งครรภ์  และต้องได้ยาเข้าไปในร่างกายก่อนที่จะมีการฝังตัวของไข่ที่เยื่อบุโพรงมดลูก เแต่หากไข่ที่ผสมกับอสุจิได้ฝังตัวที่ผนังมดลูกไปแล้ว ยานี้จะไม่มีผลอะไรกับการตั้งครรภ์
  • ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินมีผลข้างเคียงสูงมาก ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินจะออกฤทธิ์ต่อสภาพแวดล้อมของเยื่อบุโพรงมดลูก จึงมีผลต่อฮอร์โมนและทำให้เกิดความผิดปกติต่อตัวผู้ใช้ เช่น มีประจำเดือนผิดปกติ คลื่นไส้อาเจียน และหากกินบ่อยๆ อาจมีผลกับร่างกาย เช่น เสี่ยงต่อการท้องนอกมดลูกได้
  • มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องว่ายาคุมฉุกเฉินอาจทำให้ทารกพิการได้หากรับประทานไปโดยไม่ทราบว่าตั้งครรภ์ ทั้งนี้ ไม่มีรายงานว่าพบทารกพิการจากมารดาที่รับประทานยาโดยที่ไม่ทราบว่าตนเองกำลังตั้งครรภ์
  • การรับประทานยาเม็ดแรกภายใน 72 ชั่วโมง หลังการมีเพศสัมพันธ์ดังกล่าวตามด้วยยาเม็ดที่สอง จะให้ประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ได้ 75% แต่หากเริ่มยาภายใน 24 ชั่วโมง หลังการมีเพศสัมพันธ์ จะให้ประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเป็น 85% ดังนั้น จึงควรรับประทานยาเม็ดแรกหลังการมีเพศสัมพันธ์ให้เร็วที่สุด
  • มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องว่าใช้ยาคุมฉุกเฉินเพื่อคุมกำเนิดระยะยาวได้ ดังนั้นหากสามีภรรยาที่ยังไม่พร้อมมีบุตรแต่ต้องการคุมกำเนิดในระยะยาว มีวิธีคุมกำเนิดที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากกว่าเช่น การรับประทานยาคุมกำเนิดแบบปกติชนิดเม็ด โดยรับประทานทุกวันวันละ 1 เม็ด  นอกจากนี้การรับประทานยาคุมฉุกเฉินเป็นประจำจะพบอาการข้างเคียงสูง เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เลือดออกกะปริดกะปรอย รวมทั้งพบความเสี่ยงในการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกเพิ่มขึ้น
  • ยาคุมฉุกเฉินไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ครั้งใหม่ และไม่มีผลทำให้การตั้งครรภ์ครั้งถัดไปช้าลง
  • ถ้ามีอาเจียนภายใน 2 ชั่วโมง ควรทานยาซ้ำ ยาคุมฉุกเฉินชนิดฮอร์โมนเดี่ยวชนิดโปรเจสตินนิยมมากกว่าชนิดฮอร์โมนรวม เนื่องจากมีคลื่นไส้อาเจียนน้อยกว่า ยังไม่แนะนำให้ทานยาแก้อาเจียนทุกครั้งที่ทานยาคุมฉุกเฉิน

วิธีคุมกำเนิดฉุกเฉิน

  1. Ulipristal acetate (UPA) ทาน 1 เม็ดครั้งเดียว (30 mg) มีประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดฉุกเฉินสูงกว่า Levonorgestrel ถึงแม้จะรับประทานยาล่าช้าออกไปจนถึง 120 ชั่วโมง หลังการมีเพศสัมพันธ์ นอกจากนี้ UPA ยังสามารถต้านการฝังตัวของไข่ที่ผสมแล้วได้โดยออกฤทธิ์รบกวนการเตรียมความพร้อมของเยื่อบุมดลูก ในขณะที่ levonorgestrel ไม่มีผลดังกล่าว ยังไม่มีจำหน่ายในประเทศไทย
  2. ยาเม็ดฮอร์โมนเดียวโพรเจสโตเจน (75 mg) 2 เม็ด ทานห่างกัน 12 ชั่วโมง เม็ดแรกทันทีหรือไม่เกิน 72 ชั่วโมง ยี่ห้อที่มีขายในประเทศไทย เช่น Madonna, Postinor, Mary Pink หรือรับประทาน levonorgestrel 1.5 mg ครั้งเดียวมีประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์และอาการข้างเคียงไม่แตกต่างกัน
  3. ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมนรวม (100 μg of ethinyl estradiol + 0.50 mg of LNG) 2 เม็ด ทานห่างกัน 12 ชั่วโมง (Yuzpe method) เช่น ใช้ยาคุมกำเนิดยี่ห้อYasmin ที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจน 30 ไมโครกรัม ต่อ 1 เม็ด เพราะฉะนั้นให้กินครั้งละ 4 เม็ด อีก 12 ชั่วโมง
  4. การใส่ห่วงคุมกำเนิดทองแดงไม่เกิน 5 วัน หลังมีเพศสัมพันธ์ วันหลังการร่วมเพศซึ่งช่วยการตั้งครรภ์ได้ร้อยละ 99 มีการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการป้องกันการตั้งครรภ์ของการทานฮอร์โมนlevonorgestrel 0.75 mg (LNG) กับวิธี Yuzpe โดยให้รับประทาน 2 ครั้ง ห่างกัน 12 ชั่วโมง เช่นกัน พบว่ายาคุมกำเนิดฉุกเฉินที่มีตัวยา LNG เดี่ยวๆ มีประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ร้อยละ 85 (74 – 93) ในขณะที่ยาคุมกำเนิดที่มีตัวยาผสมระหว่าง estrogen กับ progestin (Yuzpe method) ป้องกันได้เพียงร้อยละ 57 (39 – 71) ดังนั้นการใช้ฮอร์โมน LNG จึงเป็นที่นิยมมากกว่าในปัจจุบัน แต่มีการศึกษาพบว่าน้ำหนักและค่า body mass index (BMI) มีผลต่อประสิทธิภาพยาคุมกำเนิดฉุกเฉินชนิด LNG เดี่ยวๆ โดยในหญิงที่มีน้ำหนักมากกว่า 75 กิโลกรัมมีความเสี่ยงที่จะคุมกำเนิดฉุกเฉินล้มเหลวสูงกว่าคนที่น้ำหนักน้อยกว่าประมาณ 5 เท่า และในหญิงที่มีค่า BMI มากกว่า 25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร มีความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นประมาณ 2 เท่า ดังนั้นสตรีที่มีน้ำหนักเกินจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการคุมกำเนิดได้ จึงควรรีบรับประทานให้เร็วที่สุดหลังมีเพศสัมพันธ์

ผลข้างเคียงของยาคุมฉุกเฉิน

  • ประจำเดือนมาไม่ปกติ
  • คลื่นไส้ อาเจียน และรู้สึกพะอืดพะอม
  • ปวดศีรษะ
  • ปวดท้อง มีอาการปวดท้องคล้ายกับตอนมีประจำเดือนได้
  • เสี่ยงตั้งครรภ์นอกมดลูก

ผู้ที่ห้ามใช้ยาคุมกำเนิด

  • มะเร็งของอวัยวะภายในของผู้หญิง และมะเร็งเต้านม
  • โรคตับเฉียบพลันหรือตับแข็ง มะเร็งตับ
  • เคยหรือเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด
  • ความดันโลหิตสูง
  • โรคลิ่มเลือดอุดตัน
  • โรคลมชัก ที่รับประทานยากันชัก
  • โรคเบาหวาน ที่มีภาวะไตทำงานผิดปกติ หรือมีภาวะหลอดเลือดผิดปกติ
  • อายุมากกว่า 35 ปีสูบบุหรี่จัด
  • อ้วน มีไขมันในเลือดสูง
  • เป็นไมเกรนชนิดที่มีอาการเตือน (Migraine with aura)

แม้ว่ายาคุมฉุกเฉินจะมีประสิทธิภาพดีในการป้องกันการตั้งครรภ์ โดยเฉพาะถ้าทานเม็ดแรกทันทีหลังมีเพศสัมพันธ์ทันที แต่ไม่แนะนำให้ใช้ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินแทนการคุมกำเนิดปกติ แม้ยาจะปลอดภัยก็ตาม เพราะขนาดของฮอร์โมนที่สูง ผลข้างเคียงของยา ตลอดจนความผิดปกติของรอบเดือนที่เกิดขึ้น อาการปวดเกร็งช่องท้องน้อย รวมทั้งไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ ดังนั้น ควรเลือกใช้ในกรณีที่จำเป็นเท่านั้น และหลังการใช้หากประจำเดือนมาไม่ปกติ ขาดประจำเดือน เลือดออกไม่หยุด หรือปวดท้องไม่ดีขึ้น ควรรีบมาพบแพทย์

ยาคุมฉุกเฉินมีประสิทธิภาพดีในการป้องกันการตั้งครรภ์ แต่ไม่แนะนำให้ใช้ยาคุมกำเนิดฉุกเฉินแทนการคุมกำเนิดปกติ ควรใช้ในกรณีที่จำเป็นเท่านั้น

กินยาคุมฉุกเฉินได้กี่ครั้งต่อปี

ไม่ควรกินยาคุมฉุกเฉินมากกว่า 2 แผง (4 เม็ด) ภายในรอบเดือนเดียว เนื่องจากยาจะส่งผลให้ระบบสืบพันธุ์สร้างฮอร์โมนผิดปกติ ควรใช้ยาคุมฉุกเฉินเมื่อการมีเพศสัมพันธ์เกิดขึ้นแบบฉุกเฉินโดยไม่ได้ป้องกันเท่านั้น เนื่องจากการกินยาคุมฉุกเฉินบ่อย ๆ อาจทำให้การคุมกำเนิดไม่ได้ผล และไม่ควรใช้ยาคุมฉุกเฉินแทนยาคุมปกติ

ยาคุมฉุกเฉิน 1 เม็ด กินกี่ครั้ง

วิธีการรับประทานที่ถูกต้องคือ รับประทานเม็ดแรกให้เร็วที่สุด ภายหลังมีเพศสัมพันธ์แบบที่ไม่ได้ป้องกันภายใน 72 ชั่วโมง และรับประทานเม็ดที่ 2 หลังจากเม็ดที่ 1 ภายใน 12 ชั่วโมง และไม่แนะนำให้รับประทานยาเกิน 4 เม็ด หรือ 2 กล่องต่อเดือน สามารถรับประทานยาคุมฉุกเฉิน 2 เม็ด พร้อมกันในครั้งเดียวได้ โดยที่ประสิทธิภาพและความปลอดภัย ...

ยาคุมฉุกเฉิน กินได้กี่ครั้ง/เดือน

โดยทั่วไปไม่แนะนำให้ใช้ยาคุมฉุกเฉินเกิน 2 ครั้งต่อเดือน เนื่องจากมีปริมาณฮอร์โมนที่สูง ซึ่งจะไปมีผลต่อการทำงานของรังไข่ ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่างๆ ได้ เช่น มีเลือดออกกะปริดกะปรอย ประจำเดือนมาผิดปกติ และอาจเสี่ยงต่อการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกได้ นอกจากนี้ ยาคุมฉุกเฉินถือว่าไม่ได้มีประสิทธิภาพดีนักในการป้องกันการตั้งครรภ์ ...

กินยาคุมฉุกเฉิน 2 ครั้ง ใน 1 เดือน อันตราย ไหม

หลายคนตั้งคำถามว่า “กินยาคุมฉุกเฉินบ่อย ๆ ไม่ดีจริงหรือ” คำตอบคือ จริง แม้ว่ายาคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินจะลดความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ได้ แต่หากการรับประทานบ่อยเกินความจำเป็น อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงจากยามากขึ้น ดังนั้นจึงไม่ควรรับประทานยาคุมกำเนิดแบบฉุกเฉินเกิน 2 กล่องต่อเดือน ควรใช้ยามจำเป็นเท่านั้น

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด