คนไร้ความสามารถทําพินัยกรรมพินัยกรรมจะมีผลอย่างไร นิติกรรมที่คนวิกลจริตและคนไร้ความสามารถกระทำมีผลทางกฎหมายอย่างไรบ้าง คนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถทำนิติกรรมจะมีผลเป็นอย่างไร คนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถมีความแตกต่างกันอย่างไร คนไร้ความสามารถ ทําพินัยกรรม คนเสมือนไร้ความสามารถ ทําอะไรได้บ้าง คนเสมือนไร้ความสามารถ ทํานิติกรรมอะไรได้บ้าง คนไร้ความสามารถทํานิติกรรมข้อใดได้ หากผู้อนุบาลยินยอม คนไร้ความสามารถทําพินัยกรรม พินัยกรรมมีผลอย่างไร คนเสมือนไร้ความสามารถ ใครดูแล ผู้อนุบาล ทําอะไรได้บ้าง คนไร้ความสามารถ ตัวอย่าง

คนไร้ความสามารถ ทํา นิติกรรม มีผล อย่างไร

 

...�Թ�յ�͹�Ѻ��躷���¹..."�����¡Ѻ�ԪҪվ��Һ��"....���Թ��� �ѹ�ķ���...�Է����¾�Һ�� ����Ҫ���� �����...

˹��·�� 4 ��ػ�����Ӥѭ��������

                 �. ������������ö
                 ��� �ؤ���ԡŨ�Ե��������� �ؾ���� ����׺�ѹ�ҹ�ͧ����� ���;�ѡ�ҹ��¡�� ��ͧ�͵����� ���������������繤�����������ö�������ش��觡���繤�����������ö ������㹡óշ�褹����������ö�֧�������� ������������������ԡ�͹���������繤�����������ö�ؤ�ŷ��������������繤�����������ö��ͧ�Ѵ�������㹤���͹غ�Ţͧ���͹غ�� ���͹غ�Ţͧ������������ö ���� �Դ���ô� 㹡óշ�褹����������ö�ѧ����ӡ������ �����Ҩ����������������� 㹡óշ�褹����������ö�ӡ���������ǹԵԡ�����褹����������ö���ŧ���������з����� �����Ҩ����Ѻ�����Թ����ҡ���͹غ������������ �е�ͧ�����͹غ���繼���᷹����ѧࡵ ���ԡŨ�Ե�������ѧ�����������繤�����������ö��������������㹰ҹ��繼���դ�������ö����͹�ؤ�Ÿ����ҷ���� �֧����ö�ӹԵԡ��� � � ������ó������ �Ҩ���������������ҡ���٨������ҹԵԡ��������Ӣ��㹢�з�������ԡŨ�Ե���� ��Ф��ó��ա����˹�������������Ҽ�����繤��ԡŨ�Ե
                �. ������͹����������ö
                ��� �ؤ�ŷ���������ö�Ѵ�ӡ�çҹ�ͧ���ͧ�������ա�¾ԡ�� �Ե�����͹ �������Сͺ ��оĵ������������� �������ҨԳ �Դ��������� ��Ф������ �ؾ���� ����׺�ѹ�ҹ ���;�ѡ�ҹ��¡����ͧ�͵�������������������繤�����͹����������ö�������ش��觡���繤�����͹����������ö ������㹡óշ��ؤ�Ź�鹶֧�������� ����������繤�����������ö ����������������觶͹���������繤�����͹����������ö��鹺ؤ�ŷ������������繤�����͹����������ö�е�����㹤����Էѡ��ͧ�ؤ�ŷ�����¡��Ҽ��Էѡ�� ��Шж١�ӡѴ��������ö�ҧ��Դ ����Ǥ�� ����ѡ����令�����͹����������ö��������ö���зӹԵԡ���� � ������ռ�����ó� ����� �Եԡ�������˹����� �����š���������оҳԪ�� �ҵ�� 34 �� ��ùӷ�Ѿ���Թ�ŧ�ع ��÷��ѭ�ҡ����������Ѻ��Сѹ ��û�йջ�й��������� ������������������ѧ�������Ѿ���Թ���� 6 ��͹ ������ѧ�������Ѿ���Թ���� 3 �� �繵� �е�ͧ���Ѻ�����Թ����ҡ���Էѡ���͹ �ԩй����������
 

���Թ��� �ѹ�ķ���

คนไร้ความสามารถ คือ บุคคลวิกลวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ ซึ่งต้องเป็นบุคคลที่ขาดความรู้สึกและขาดความรับผิดชอบอย่างรุนแรง เช่น โรคสมองฝ่อ สมองเสื่อมขั้นรุนแรง สมองพิการ จิตไม่ปกติ โรคเส้นเลือดในสมองตีบ โรคพาร์กินสัน โรคชรา  อัมพาต เจ็บป่วยไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ไม่สามารถประกอบกิจการงาน และทำภารกิจส่วนตัวหรือช่วยเหลือตัวเองได้อย่างบุคคลทั่วไป ต้องมีคนคอยดูแลตลอดเวลาซึ่งต้องจัดให้อยู่ในความดูแลของผู้อนุบาล ตามมาตรา 28 

    ไม่สามารถทำการได้ด้วยตนเอง ผู้อนุบาลเป็นผู้ทำการแทนทั้งหมด แต่บางนิติกรรมต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อน ตามมาตรา 1574

คนอายุ 92 ปี ไม่รู้จักตนเอง ไม่รู้สึกตัว พูดรู้เรื่องบ้าง ไม่รู้เรื่องบ้าง ถือเป็นคนวิกลจริตแล้ว

คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ ผู้ที่ศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ

2.1 เป็นบุคคลมีกายพิการ เช่น หูหนวก ตาบอด เป็นใบ้ แขนขาด ขาขาด  อัมพาต ซึ่งอาจเป็นมาโดยกำเนิด หรือเกิดขึ้นภายหลัง เช่น จากอุบัติเหตุ โรคภัยไข้เจ็บ ชราภาพ เป็นต้น

2.2 มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ เช่น จิตผิดปกติ สมองพิการ แต่ยังไม่ถึงขั้นวิกลจริต

2.3 ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ ใช้จ่ายเงินเกินกว่าฐานะอยู่เป็นประจำ ซึ่งทำให้ทรัพย์สมบัติร่อยหรอลงไปทุกวัน จนในที่สุดต้องหมดตัว

2.4 ติดสุรา เมาตลอดเวลา ติดฝิ่น เฮโรอีน จนไม่สามารถจะจัดทำการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว

    แต่ไม่ถึงกับวิกลจริต ต้องจัดอยู่ในความดูแลของผู้พิทักษ์ ตามมาตรา 32 

    ถ้าคนเสมือนไร้ความสามารถกระทำการไป โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ มีผลทำให้นิติกรรมเป็นโมฆียะ แต่ผู้พิทักษ์ไม่สามารถกระทำการแทนได้ ตามมาตรา 34 

    ถ้าไม่มีคู่สมรส ให้พ่อแม่เป็นผู้พิทักษ์ ถ้ามีคู่สมรสให้คู่สมรสเป็นผู้พิทักษ์

ป.พ.พ. มาตรา 28 บุคคลที่มีสิทธิร้องขอศาลมีคำสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ

1 คู่สมรส สามีภริยา

2 บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด

3 ผู้สืบสันดาน ลูก หลาน เหลน ลื่อ

4 ผู้ปกครอง กรณีผู้เยาว์ไม่มีบิดามารดา หรือมีแต่ถูกถอนอำนาจปกครอง

5 ผู้พิทักษ์ คือ ผู้ดูแลคนเสมือนไร้ความสามารถ 

6 ผู้ที่ปกครองดูแลอยู่ เช่น พี่สาว น้องชาย เป็นต้น

7 พนักงานอัยการ

8 บุตรบุญธรรม

ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดี คือ ศาลเยาวชนและครอบครัวที่มูลคดีเกิดขึ้นหรือที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล

คำสั่งศาลมีผล ดังนี้

1 นิติกรรมที่คนไร้ความสามารถได้ทำลงไปเป็นโมฆียะทั้งสิ้น ไม่ว่าจะได้รับความยินยอมจากผู้อนุบาลหรือไม่ก็ตาม จะต้องให้ผู้อนุบาลเป็นผู้ทำแทน ยกเว้นนิติกรรมบางชนิด ต้องได้รับอนุญาจจากศาล ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1574 เช่น ขาย ให้เช่าซื้อ จำนอง เป็นต้น

2 ห้ามทำนิติกรรมที่ต้องทำเฉพาะตัวทั้งหมด

ความสิ้นสุดของการเป็นคนไร้ความสามารถ : เมื่อศาลได้สั่งเพิกถอนคำสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ เท่านั้น

หลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 28 บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าคู่สมรสก็ดี ผู้บุพการีกล่าวคือ บิดา มารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด ก็ดี ผู้สืบสันดานกล่าว คือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผู้ปกครองหรือผู้พิทักษ์ก็ดี ผู้ซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยู่ก็ดี หรือพนักงานอัยการก็ดี ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถ ศาลจะสั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้

    บุคคลซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล การแต่งตั้งผู้อนุบาล อำนาจหน้าที่ของผู้อนุบาลและการสิ้นสุดของความเป็นผู้อนุบาล ให้เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายนี้

    คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 29 การใดๆ อันบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นเป็นโมฆียะ

มาตรา 30 การใดๆ อันบุคคลวิกลจริตซึ่งศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นจะเป็นโมฆียะ ต่อเมื่อได้กระทำในขณะที่บุคคลนั้นจริตวิกลอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้กระทำเป็นคนวิกลจริต

มาตรา 31 ถ้าเหตุที่ทำให้เป็นคนไร้ความสามารถได้สิ้นสุดไปแล้ว และเมื่อบุคคลผู้นั้นเองหรือบุคคลใดๆ ดังกล่าวมาในมาตรา 28 ร้องขอต่อศาลก็ให้ศาลสั่งเพิกถอนคำสั่งที่ให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น

มาตรา 32 บุคคลใดมีกายพิการหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบหรือประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น จนไม่สามารถจะจัดทำการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เมื่อบุคคลตามที่ระบุไว้ในมาตรา 28 ร้องขอต่อศาล ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้ บุคคลซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้อยู่ในความพิทักษ์ การแต่งตั้งผู้พิทักษ์ ให้เป็นไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายนี้

    ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการสิ้นสุดของความเป็นผู้ปกครองในบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายนี้ มาใช้บังคับแก่การสิ้นสุดของการเป็นผู้พิทักษ์โดยอนุโลม

    คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

มาตรา 33 ในคดีที่มีการร้องขอให้ศาลสั่งให้บุคคลใดเป็นคนไร้ความสามารถเพราะวิกลจริต ถ้าทางพิจารณาได้ความว่าบุคคลนั้นไม่วิกลจริต แต่มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อมีคำขอของคู่ความหรือของบุคคลตามที่ระบุไว้ในมาตรา 28 ศาลอาจสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้ หรือในคดีที่มีการร้องขอให้ศาลสั่งให้บุคคลใดเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถเพราะมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ถ้าทางพิจารณาได้ความว่าบุคคลนั้นวิกลจริต เมื่อมีคำขอของคู่ความหรือของบุคคลตามที่ระบุไว้ในมาตรา 28 ศาลอาจสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้

มาตรา 34 คนเสมือนไร้ความสามารถนั้นต้องได้รับความยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนแล้ว จึงจะทำการอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ได้

(1) นำทรัพย์สินไปลงทุน

(2) รับคืนทรัพย์สินที่ไปลงทุน ต้นเงินหรือทุนอย่างอื่น

(3) กู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืมสังหาริมทรัพย์อันมีค่า

(4) รับประกันโดยประการใดๆ อันมีผลให้ตนต้องถูกบังคับชำระหนี้

(5) เช่าหรือให้เช่าสังหาริมทรัพย์มีกำหนดระยะเวลาเกินกว่า 6 เดือนหรืออสังหาริมทรัพย์มีกำหนดระยะเวลาเกินกว่า 3 ปี

(6) ให้โดยเสน่หา เว้นแต่การให้ที่พอควรแก่ฐานานุรูป เพื่อการกุศลการสังคม หรือตามหน้าที่ธรรมจรรยา

(7) รับการให้โดยเสน่หาที่มีเงื่อนไขหรือค่าภาระติดพัน หรือไม่รับการให้โดยเสน่หา

(8) ทำการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อจะได้มาหรือปล่อยไป ซึ่งสิทธิในอสังหาริมทรัพย์หรือในสังหาริมทรัพย์อันมีค่า

(9) ก่อสร้างหรือดัดแปลงโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น หรือซ่อมแซมอย่างใหญ่

(10) เสนอคดีต่อศาลหรือดำเนินกระบวนพิจารณาใดๆ เว้นแต่การร้องของตามมาตรา 35 หรือการร้องขอถอนผู้พิทักษ์

(11) ประนีประนอมยอมความหรือมอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย ถ้ามีกรณีอื่นใดนอกจากที่กล่าวในวรรคหนึ่ง ซึ่งคนเสมือนไร้ความสามารถอาจจัดการไปในทางเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว ในการสั่งให้บุคคลใดเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ หรือเมื่อผู้พิทักษ์ร้องขอในภายหลังศาลมีอำนาจสั่งให้คนเสมือนไร้ความสามารถนั้นต้องได้รับความยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนจึงจะทำการนั้นได้

    ในกรณีที่คนเสมือนไร้ความสามารถไม่สามารถจะทำการอย่างหนึ่งอย่างใดที่กล่าวมาในวรรคหนึ่งหรือวรรคสองได้ด้วยตนเอง เพราะเหตุมีกายพิการหรือมีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ศาลจะสั่งให้ผู้พิทักษ์เป็นผู้มีอำนาจกระทำการนั้นแทนคนเสมือนไร้ความสามารถก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ ให้นำบทบัญญัติที่เกี่ยวกับผู้อนุบาลมาใช้บังคับแก่ผู้พิทักษ์โดยอนุโลม

    คำสั่งของศาลตามมาตรานี้ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

    การใดกระทำลงโดยฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรานี้ การนั้นเป็นโมฆียะ

มาตรา 1463 ในกรณีที่ศาลสั่งให้สามีหรือภริยาเป็นคนไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ ภริยาหรือสามีย่อมเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ แต่เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรืออัยการร้องขอ และถ้ามีเหตุสำคัญศาลจะตั้งผู้อื่นเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ก็ได้

พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมายพุทธศักราช 2481

มาตรา 10 ความสามารถและความไร้ความสามารถของบุคคลย่อมเป็นไปตามกฎหมายสัญชาติของบุคคลนั้น

คนไร้ความสามารถทําพินัยกรรมพินัยกรรมจะมีผลอย่างไร

(๓) คนวิกลจริต ซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ (คนบ้า) หากได้ทำพินัยกรรม พินัยกรรมเป็นโมฆะ ถ้าศาลยังไม่สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ พินัยกรรมนั้นใช้ได้ จะใช้ไม่ได้ (เสียเปล่า) ก็ต่อเมื่อพิสูจน์ได้ว่าบุคคลนั้นได้ทำพินัยกรรมในขณะที่บุคคลนั้นเป็นคนวิกลจริต (๔) คนเสมือนไร้ความสามารถ ทำพินัยกรรมได้มีผลสมบูรณ์

นิติกรรมที่คนวิกลจริตและคนไร้ความสามารถกระทำมีผลทางกฎหมายอย่างไรบ้าง

คนวิกลจริต สามารถทำนิติกรรม เช่น ขายที่ดิน ยกที่ดินให้ผู้อื่นโดยสเน่หา ซื้อทรัพย์สินต่างๆ เหมือนกับบุคคลทั่วไปทุกประการ เว้นแต่จะปรากฎข้อเท็จจริงว่า ขณะทำนิติกรรมดังกล่าว บุคคลดังกล่าวมีอาการวิกลจริต และคู่กรณีอีกฝ่ายได้รู้ถึงความเป็นคนวิกลจริตของผู้ทำนิติกรรมด้วย จะถือว่านิติกรรมดังกล่าวเป็นโมฆียะ (ปพพ ม.30)

คนวิกลจริตที่ศาลยังไม่ได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถทำนิติกรรมจะมีผลเป็นอย่างไร

มาตรา 30 การใด ๆ อันบุคคลวิกลจริตซึ่งศาลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถได้กระทำลง การนั้นจะเป็นโมฆียะต่อเมื่อได้กระทำในขณะที่บุคคลนั้นจริตวิกลอยู่ และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้กระทำเป็นคนวิกลจริต

คนไร้ความสามารถและคนเสมือนไร้ความสามารถมีความแตกต่างกันอย่างไร

หลักเกณฑ์การเป็นเสมือนไร้ความสามารถนี้แตกต่างจากเรื่องคนไร้ความสามารถ คือในกรณี คนไร้ความสามารถ เหตุที่ศาลจะสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถถือเอาโรคคือความวิกลจริตเป็นข้อส าคัญเพียง ประการเดียว ส่วนเรื่องคนเสมือนไร้ความสามารถถือเอาเหตุบกพร่อง และผลคือการไม่สามารถประกอบ กิจการงานได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด