แผนการสอนสุขศึกษา ป.2 พว doc

คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคปลาย เล่มน้ี จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมอย่างเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าอย่าง ละเอียด เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งมีเนื้อหาประกอบด้วย วิชา ฟุตบอล ยืดหยุ่น วิชาสุขศึกษาเร่ืองการพักผ่อน และความปลอดภัยในการเดินทาง กิจกรรมการ เรียนการสอน ส่ือการสอน แหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล จุดเด่นของแผนการจัดการ เรียนรู้เล่มน้ีจะมีคาศัพท์เฉพาะภาษาอังกฤษประกอบในการเรียนเร่ืองท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งหากผู้สอน นาไปบูรณาการใช้กับผู้เรียนจะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและคุ้นชินในคาศัพท์ ภาษาองั กฤษทางพลศึกษาและนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 2 ภาคปลาย เล่มนี้ จะทาให้ผู้สอนที่ได้อ่าน เกิดองค์ความรู้ เจตคติและค่านิยม ที่ดี ตลอดจนนาไปเป็นแนวทางในการออกแบบองค์ความรู้ใหม่ เพ่ือพัฒนานักเรียนให้มีศักยภาพ ครบถ้วนตามหลักการสอนพลศึกษาตอ่ ไป ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรยณ์ ัฐพร สุดดี ผู้จัดทา

สำรบญั คานา........................................................................................................................... ข สารบัญ....................................................................................................................... ค – จ หนว่ ยท่ี 1 ฟตุ บอล 1) ปฐมนเิ ทศ, ช้ีแจงข้อตกลงเบ้อื งตน้ ในการเรยี นวชิ าพลศึกษาและสุขศกึ ษา ภาคปลาย (Orientation)................................................................................................................................ 1 2) ประวตั กิ ีฬาฟุตบอล (History of Chairball) 3) ทักษะการสรา้ งความคุน้ เคยกับลกู บอลแบบต่างๆ (Ball Control) - ทักษะการควบคุมลูกบอลดว้ ยฝา่ เทา้ (Sole Trap) - ทกั ษะการควบคมุ ลกู บอลดว้ ยขา้ งเท้าดา้ นใน (Inside Foot Trap) - ทกั ษะการควบคุมลกู บอลดว้ ยข้างเท้าดา้ นใน (InstepTrap) ทักษะการเลี้ยงบอลดว้ ยสว่ นต่างๆ ของเท้า (Dribbing)……………………………………………………… 17 - การเลย้ี งลูกบอลดว้ ยขา้ งเท้าด้านใน - การเลีย้ งลกู บอลด้วยหลงั เท้า - การเลย้ี งลกู บอลซิกแซก ทกั ษะการรับและส่งบอล 2 คน (Passing and Receiving)……………………………………………….. 30 - การรับและส่งบอล 2 คน ด้วยขา้ งเท้าด้านใน (Inside Foot Pass and Receive) - การรบั และสง่ บอล 2 คน ดว้ ยหลังเทา้ (Instep Pass and Receive) - การรบั หรือหยุดบอล (Receive the ball) ทกั ษะการโหมง่ บอล (Heading)……………………………………………………………………………………… 43 ทักษะการยงิ ประตู (Shooting)………………………………………………………………………………………. 55 ทักษะการเปน็ ผู้รักษาประตู (Koalkeeping)…………………………………………………………………….. 68 - ทา่ ยืนเตรียมพร้อมรบั ลูก (Ready Position) - การรบั ลูกบอลระดบั ตา่ กว่าหวั เข่า (Rolling Ball) - การรับลกู บอลระดบั เอวหรือต่ากว่าเอว (Medium Height Balls) - การรับลูกสงู กวา่ ศรี ษะ (High Ball) การท่มุ ลกู เขา้ เล่นจากข้างสนาม(Throw-In).............................................................................. 81 วิธกี ารเลน่ ฟุตบอล (How to play Football)………………………………………………………………… 93 - ตาแหน่งการยืนในสนาม (The player position) - กตกิ าการเลน่ ฟุตบอล (Rules of Football)

ทกั ษะการเลน่ ทมี (Team play), การแข่งขัน (The Match)……………………………………………………. 104 หนว่ ยท่ี 2 วชิ ำสุขศึกษำ-กำรพกั ผ่อน (Relaxation)…………………………………………. 127 ทดสอบทกั ษะ (Skills test), เล่นทีม (Play)………………………………………………………………… 134 - กำรรบั และสง่ บอล 2 คน อยู่กบั ที่ 5 คะแนน - กำรรบั และส่งบอล 2 คน เคล่ือนท่ี 5 คะแนน 145 ทดสอบทกั ษะ (Skills test), เลน่ ทมี (Play)……………………………………………………………………. 156 - กำรเล้ยี งลูกบอลไปขำ้ งหนำ้ 5 คะแนน 168 - เล้ยี งบอลซิกแซก 5 คะแนน 180 ทดสอบทกั ษะ (Skills test), เล่นทีม (Play)……………………………………………………………………. 185 - ยิงประตู 10 คะแนน 197 ทดสอบทักษะ (Skills test), เลน่ ทีม (Play)……………………………………………………………….. - แขง่ ขันภำยในหอ้ งเรยี นและระหว่ำงห้อง 10 คะแนน 210 223 สอบข้อเขยี นสุขศึกษำและพลศกึ ษำ (Subjective test)……………………………………………… 236 ใบงำนวิชำสขุ ศึกษำ (Worksheet) 248 261 หน่วยท่ี 3 ยดื หยนุ่ 276 288 ปฐมนิเทศ, ชแี้ จงข้อปฏบิ ัติตนในการเรยี นยดื หยุ่น (Orientation)……………………………………….. 301 ประวัติยดื หยุ่น (History of Tumbling) 308 ทักษะทีจ่ าเปน็ ในการเล่นยืดหยุ่น - ทา่ กล้งิ ไข่ (Egg Roll) - ทา่ ขอนไม้ (Log Roll) - ท่าโล้ตวั (Arch) - ทา่ เดนิ ดว้ ยมอื แบบต่างๆ (Push Up) ทักษะมว้ นหนา้ (Forward Roll)…………………………………………………………………………………… ทักษะการม้วนหน้าข้ามสงิ่ กดี ขวาง (Forward Over Obstacle) ทกั ษะมว้ นหลงั (Backward Roll)…………………………………………………………………………………. ทกั ษะหกกบ (Frog Stand)………………………………………………………………………………………….. ทักษะหกสามเส้าตดิ ฝาผนงั (Head Stand)…………………………………………………………………… ทักษะหกสูงติดฝาผนัง (Hand Stand)………………………………………………………………..…………. ทกั ษะลอ้ เกวยี น (Cartwheel)………………………………………………………………………………………. ทกั ษะการโหนเชือกข้ามสง่ิ กีดขวาง (The Rope Swing)…………………………………………………. ทักษะการต่อตัว (Pyramid Gymnastics)……………………………………………………………………… หน่วยที่ 4 วิชำสุขศึกษำ เรือ่ ง ควำมปลอดภยั ในกำรเดนิ ทำง (Travel Safety) ทดสอบทักษะ (Skills test), เลน่ เกม (Play)…………………………………………………………….. - มว้ นหน้ำ 5 คะแนน - มว้ นหน้ำขำ้ มสง่ิ กดี ขวำง 5 คะแนน

ทดสอบทกั ษะ (Skills test), เล่นเกม (Play)……………………………………………………………… 322 - ม้วนหลัง 5 คะแนน 334 346 ทดสอบทักษะ (Skills test), เลน่ เกม (Play)....................................................................... 358 - หกกบ 5 คะแนน 369 381 ทดสอบทักษะ (Skills test), เล่นเกม (Play)...................................................................... 386 - หกสำมเสำ้ 5 คะแนน 397 ทดสอบทักษะ (Skills test), เล่นเกม (Play)...................................................................... - ล้อเกวียน 5 คะแนน 409 411 ทดสอบทกั ษะ (Skills test), เลน่ เกม (Play)...................................................................... - แข่งขันต่อตัว 6-8 คน ภำยในห้องเรยี น 10 คะแนน สอบข้อเขียนสุขศึกษำและพลศึกษำ (Subjective test)................................................... ใบงำนวชิ ำสขุ ศึกษำ (Worksheet) ทดสอบสมรรถภาพทางกายก่อนเรยี น (Physical Fitness Pre-Test)...................................... - นงั่ งอตัว (Sit and Reach Teast) - ลุกนงั่ 30 วนิ าที (30 Second Sit up Test) - ว่งิ เกบ็ ของ (Run A Faster Shuttle Run) กจิ กรรมเน่ืองในสปั ดาห์แสนสนุกสุขหรรษา............................................................................... สนุกกับเกมบอล (Fun with Ball Games) - เกมกลิง้ บอล (Rolling A Ball) - เกมลิงชงิ บอล (Monkey in The Minddle) - เกมขว้างลิง (Dodge Ball / Big Ball) - บอลพษิ (Poison Ball) บรรณำนกุ รม....................................................................................................... ภำคผนวก............................................................................................................

409 บรรณำนุกรม การยิงบอลดว้ ยหลงั เท้า. 2556. [ออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า: https://www.youtube.com/watch?v =_oGMyUZUH4o [1 เมษายน 2563] กิจกรรมการตอ่ ตัว. 2556. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/535126 [1 เมษายน 2563] เกรยี งไกร อินทรชยั . 2559. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. พมิ พ์ครั้งที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอร์พร้ินท์กรปุ๊ จากัด. เกรียงไกร อินทรชยั . 2559. สุขศกึ ษาและพลศึกษา ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เลม่ 1. พมิ พ์คร้ังที่ 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอร์พรนิ้ ท์กรุป๊ จากัด. ณัฐพร สุดดี. 2561. เทคนิคการสอนเกมมูลฐาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อดั สาเนา) ตาแหน่งฟตุ บอล 7 คน. 2562. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า: https://www.youtube.com/watch?v =7V4Gz9hKa-8 [1 เมษายน 2563] ถาวร วรรณศิร.ิ 2551. สุขศึกษาและพลศกึ ษา : ฟตุ บอล ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5-6. พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอร์พร้ินท์กรุป๊ จากดั . ทักษะพน้ื ฐานกีฬายิมนาสติก. 2558. [ออนไลน์]. แหล่งทมี่ า: https://www.youtube.com/watch?v =OroZl4oZ0_4 [1 เมษายน 2563] ทกั ษะม้วนหนา้ . 2556. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: https://www.youtube.com/watch?v=QxOzXmfW1aI [1 เมษายน 2563] ศัพทภ์ าษาอังกฤษเกีย่ วกับคาสั่งทางการทหาร. 2556. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: http://mytranslationarchives. blogspot.com/2008/11/blog-post_253.html?m=1 [1 เมษายน 2563] ศพั ท์ภาษาอังกฤษเกีย่ วกับฟุตบอล. 2556. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: https://www.trueplookpanya. com/knowledge/content/61567/-laneng-lan- [1 เมษายน 2563] สานักงานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ. 2561. การทดสอบสมรรถภาพทางกายเพ่อื สขุ ภาพสาหรบั นกั เรียน [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: http://www.cusc.chula.ac.th/wordpress/wp- content/uploads/2018/08/ 4de7e493e9e51df225eadd6a1ae00e6a.pdf [1 เมษายน 2563] สุรเชษฐ์ วศิ วธรี านนท.์ 2561. กีฬาแชร์บอลและทักษะการเคล่ือนไหวขั้นพืน้ ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 1. พมิ พ์ ครงั้ ท่ี 1. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ร้ินทก์ รปุ๊ จากัด. สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท์.2561. กฬี าฟตุ บอลและกิจกรรมยืดหยุน่ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2. พิมพ์ครัง้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: ไซเบอร์พริ้นทก์ ร๊ปุ จากัด. A Gide To Passing in Handball. 2556. [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v

=tMLu3zWV3Sg [1 เมษายน 2563] 410 Handstand Against The Wall Progression. 2561. [ออนไลน์]. แหลง่ ท่ีมา: https://www.youtube. com/ watch?v=xMFRkQpXVo [1 เมษายน 2563] Headstand (Sirsasana) & Modifications for Headstand. 2556. [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: https://www.youtube.com/watch?v=0tTjzz7sb_c [1 เมษายน 2563] How to do a cartwheel. 2560. [ออนไลน์]. แหล่งทีม่ า: https://www.youtube.com/watch?v=49hYMvT10sg [1 เมษายน 2563] How to Frog Stand. 2559. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=fAg1ZlngaMo [1 เมษายน 2563] What is the Backward Roll. 2559. [ออนไลน์]. แหล่งทม่ี า: https://www.youtube.com/watch?v=DJwbLFhDbXg [1 เมษายน 2563]

โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 หน่วย กีฬาฟุตบอล (Football) ภาคเรยี น ปลาย เร่อื ง ปฐมนเิ ทศ, ชแ้ี จงขอ้ ตกลงเบ้ืองตน้ ในการเรียนวชิ าพลศึกษา (Orientation) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาที) ประวัติกีฬาฟุตบอล (History of Football), การสร้างความคุน้ เคยกบั ลกู บอลแบบต่างๆ (Ball control) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกฬี าสากล พ 3.1: เข้าใจ มที ักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกม และกฬี า พ 3.2: รกั การออกกาํ ลงั กาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบัตเิ ปน็ ประจําอย่างสมาํ่ เสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎกตกิ า มนี ํ้าใจ มีจติ วญิ ญาณในการแข่งขนั และชื่นชมในสุนทรีภาพของการกีฬา 2. ตวั ช้วี ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคมุ การเคลอ่ื นไหวร่างกาย ขณะอยู่กับท่ี เคลือ่ นที่ และใช้อปุ กรณป์ ระกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลม่ เกมเบด็ เตล็ดและเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางกายที่วิธีเลน่ อาศัยการเคลอ่ื นไหวเบ้ืองต้นทง้ั แบบอยูก่ บั ท่ี เคลอ่ื นที่ และใช้อปุ กรณป์ ระกอบ พ 3.2 ป.2/1: ออกกําลังกาย และเล่นเกม ไดด้ ้วยตนเองอยา่ งสนุกสนาน พ 3.2 ป.2/2: ปฏิบตั ติ ามกฎ กติกาและขอ้ ตกลงในการเล่นเกมเป็นกลุ่ม 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 นกั เรยี นสามารถรู้และเขา้ ใจในข้อตกลงเบื้องตน้ ในการเรยี นวชิ าพลศึกษาและสุขศึกษาได้ (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถอธบิ ายประวตั ิของกีฬาฟุตบอลไดอ; ยา< งถกู ต;อง (SQ) 3.3 นกั เรียนมีความสนกุ สนานจากการเรยี นและการแขง่ ขนั (AQ) 3.4 เพือ่ ใหน้ กั เรียนสามารถพฒั นาสมรรถภาพทางกายในด้านความอดทน (Endurance) จาการกระโดดตบต่อเนือ่ ง ไดใ้ นเวลา 1 นาที (PQ) 3.5 สามารถเขา; แถวอยา< งเปน@ ระเบยี บ แตง< กายเรียบรอ; ย พดู จาสุภาพ (MQ)

4. สาระสําคัญ ปฐมนิเทศ (Orientation) ก่อนการเรยี นวิชาพลศึกษา นักเรียนจะตอ้ งไดร้ ับทราบถึงกฏระเบียบ ข้อปฎบิ ตั เิ บอื้ งตน้ ในการเรียน การแต่งกาย อปุ กรณ์ของใช้ ตลอดจนระเบยี บวนิ ยั การเข้าแถว อันได้แก่ การเดิน แถวเดีย่ ว การเขา้ แถวคู่ การเขา้ แถวตอน การนั่งในแถวตอน การจัดแถวตอนยาว แถวตรง แถวพกั และตาม ระเบียบพกั ซง่ึ ถอื ไดว้ ่าเปน็ ความรู้เบอ้ื งต้นท่สี ําคญั เพื่อใหก้ ารเรียนการสอนวชิ าพลศกึ ษาตลอดภาคการศึกษา เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อยและตรงตามจุดประสงการเรียนรมู้ ากท่ีสุด และชว่ ยใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนพลศึกษาได้ อย่างมคี วามสขุ ประวตั ิความเปน็ มาของกีฬาฟุตบอล (History of Football) กอ่ นท่นี กั เรยี นจะเรยี นกีฬาฟุตบอลน้นั นักเรยี นควรไดเ้ รียนรูแ้ ละทาํ ความรจู้ กั กีฬาฟตุ บอลก่อนจะเร่ิมเรยี นรูเ้ ก่ียวกบั ทักษะและการเลน่ กีฬาฟุตบอล โดย การเรียนรู้ประวัติและวิวฒั นาการกฬี าของกฬี าฟุตบอล ทกั ษะการทําความคุ้นเคยกับลูกบอล (Ball Control) เปน็ ทกั ษะทีฝ่ ึกใหน้ กั เรยี นค้นุ เคยกบั นํ้าหนกั ขนาด และการกระดอนของลูกฟุตบอล และเป็นพ้ืนฐานสําคญั ของทกั ษะทส่ี ําคัญ ๆ ตอ่ ไป 5. ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั นักเรยี น 80% สามารถปฏบิ ัติได้ตามจุดประสงค์การเรยี นรแู้ ละสามารถนาํ เอาความรไู้ ปใช้ได้อย่าง คลอ่ งแคล่วในการเรยี นการสอนรายวชิ าอืน่ และชวี ติ ประจําวัน

6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ ข้อตกลงในการเรียนวชิ าพลศึกษา 1.ขน้ั เตรียม/อบอ่นุ ร่างกาย (10 นาที) (P.E. Regulations) 1.1 ครูเดนิ ไปรบั นกั เรยี น แลว้ พานักเรียน - นกั เรยี นมีความเขา้ ใจ 1. ระเบยี บวนิ ัยในชั่วโมงพลศึกษา ไปสถานท่ีเรยี น (สนาม 3) และปฏบิ ตั ิตามคาํ ส่งั (P.E. Discipline) 1.2 ครูใหน้ ักเรยี นวางถงุ ยา่ มในชั้นวางของ ครผู ้สู อน 1.1 ครพู ดู ขอใหน้ กั เรยี นฟัง นักเรียนจะ โดยใหน้ กั เรียนชายไว้แถวล่างของช้ันวาง และ - นกั เรียนมีความเปน็ ตอบคาํ ถามในชว่ งเวลาทีค่ รใู หต้ อบ นักเรยี นหญงิ วางไว้แถวบนของชน้ั วางของ ระเบยี บเรยี บร้อย 1.2 ตัง้ ใจฟงั และดูขณะครูกาํ ลงั สอนและ 1.3 ครูให้นักเรยี นแบง่ เปน็ แถวตอน ภายในแถวตามท่ี สาธติ ท้ังหมด 4 แถวตามกลุ่ม กาํ หนด 1.3 หากมีการกระทําใดๆ ท่ไี ม่ถกู ตอ้ ง - นกั เรียนมคี วาม ครง้ั แรกครจู ะเตือน หากทาํ อกี ครั้งต่อไป พร้อมในการเรียนทง้ั จะดาํ เนนิ การลงโทษตามความเหมาะสม ทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ 1.4 แต่งชุดพลศึกษาใหถ้ กู ตอ้ งระเบยี บ และอารมณ์ - นักเรียนเคารพกตกิ า ตามระเบยี บโรงเรียน 1.4 อบอนุ่ รา่ งกาย (Warm – Up) ครใู ห้ 1.5 การใชอ้ า่ งลา้ งหนา้ และการใช้ตูน้ ํ้า นักเรียนขยายแถวหนึ่งชว่ งแขนเพือ่ อบอนุ่ รา่ งกาย ภายในห;องเรียนแตง< เย็น 1.4.1 ครูนํานกั เรียนยืดเหยยี ดกล้ามเนอ้ื 4 ท่า กายเรยี บร;อย 1.6 การใช้สัญญาณนกหวีดในชวั่ โมงพล ท่าที่ 1 หมุนเอว ซ้ายและขวา ขา้ งละ 10 คร้ัง - นกั เรียนบริหาร ศึกษา ร่างกายและอวยั วะต่างๆ ไดเ้ หมาะสมตามวยั - สญั ญาณนกหวีดสนั้ หลายคร้งั (ป๊ิด ปิด๊ ปด๊ี ) ใหน้ กั เรยี นทุกคนหยดุ กิจกรรมทที่ ํา อยู่ กลับมานงั่ ที่ หรือต้งั ใจฟังทคี่ รพู ดู เพื่อ ปฏบิ ัตติ าม - สญั ญาณนกหวีดส้ัน 1 ครงั้ ให้ ท่าที่ 2 ไขว้ขามาด้านหน้าขา ก้มแตะปลาย นกั เรยี นเริม่ ปฏิบตั ิตามท่ีครบู อก เทา้ สลับขา้ งละ 10 วินาที - สญั ญาณนกหวีดสั้น 1 ยาว 1 ครง้ั ใหน้ ักเรยี นเตรยี มตวั - สัญญาณนกหวีดส้นั 2 ยาว 1 ครั้ง คอื หมดเวลาทํากิจกรรมนัน้

สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ 2. เคร่ืองแบบพลศกึ ษา (P.E. Uniform) ท่าที่ 3 ท่าเหยียดต้นขาซ้ายและขวา สลับ ใสช่ ุดพลศกึ ษาตามระเบยี บของโรงเรียน ข้างละ 10 วินาที (เส้อื สีชมพู กางเกงวอรม์ ขายาว รองเท้าผ้าใบ) ทา่ ที่ 4 วิง่ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) 1.6 พฒั นาสมรรถภาพร่างกาย ครูให้นักเรียนกระโดดตบมือเหนือศีรษะ ต่อเนือ่ งภายในระยะเวลา 1 นาที การปักช่ือและนามสกุลทเี่ สื้อ 3. อปุ กรณข์ องใช้ในการเรยี นพลศกึ ษา (P.E Supplies) นักเรียนแต่ละคนจะต้องเตรียมอุปกรณ์ 2. ขนั้ อธิบายและสาธติ (10นาที) 2.1 ครูอธิบายและชี้แจงข้อปฏิบัติในการเรียน ของใช้ส่วนตัว ดังน้ี การสอนพลศกึ ษาและสุขศึกษา ตลอดภาคเรยี น 2.2 ครูอธิบายและสาธิตร่วมกับนักเรียนใน ระบบการเข้าแถวรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การเข้า “ถุงย่าม” “ผ้าขนหนูผืนเล็ก” “หวี” แถวตอน การเข้าแถวหน้ากระดาน การนั่งใน A comb แถว การเดนิ แถวเด่ยี ว การเดนิ แถวคู่ การจดั แถว A bag A small towel of soap ตอน แถวตรง แถวพัก และตามระเบยี บพกั

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ 2.4 ครูเล<าประวตั คิ วามเปน@ มาของกฬี า ฟุตบอลให;นกั เรียนฟงI 2.5 ครถู ามคาํ ถามนกั เรยี นวา่ “นกั เรียนคดิ -นักเรียนฟงั ถามและ วา่ นักเรยี นสามารถใชส้ ว่ นใดของเทา้ พาลูก ตอบคาํ ถาม “แกว้ นํ้า” “หนังสอื เรยี น” “เชือกกระโดด” บอลเคลื่อนที่ไปกบั ตนเองในทศิ ทางต่างๆได้ แลกเปลีย่ นความ A glass A book A Jump rope บา้ ง” คิดเห็นกับครผู ู้สอนได้ แนวคําตอบ : 3 ส่วน 1.) ฝา่ เท้า 2.) ข้างเทา้ อยา่ งเหมาะสม ดา้ นใน และ 3.) หลังเทา้ 2.6 ครูอธบิ ายการใชส; <วนตา< งๆของเทา; กับ ลกู ฟุตบอล “สบ”ู่ “เคร่อื งเขียน” 2.7 ครูอธิบายเกีย่ วกับความสำคัญของการ สร;างความคนุ; เคยกับลูกฟตุ บอล A small bottle Stationary of soap 2.8 ครูสาธิตทักษะการสรา; งความคน;ุ เคย กับลูกฟตุ บอล 3. ระเบยี บแถว (Line up regulation) -การสมั ผัสลูกฟุตบอลดว; ยฝาX เท;าและ ปลายเทา; อย<ูกับท่ี 3.1 การเข้าแถว (Line up) ให้นักเรียนเข้าแถวตามที่ครูบอก -การสัมผสั ลูกบอลด;วยข;างเท;าดา; นในอย<ู อาจจะเป็นแถวตอนหรือแถวหน้ากระดาน กบั ที่ กไ็ ด้ -การสัมผสั ลกู บอลดว; ยขา; งดา; นในแบบ เคล่ือนที่ -การคลึงลูกบอล (ขึน้ และลง,จากซา; ยไป ขวา,เป@นวงกลม) 2.9 ครใู หน; ักเรยี น ขยายแถว 2 ชว< งแขน 2.10 ครูบอกใหห; วั แถวแต<ละแถวมารับลกู - นกั เรยี นมีทกั ษะ - การจัดแถวตอน (one arm Length a บอลท่คี รูเตรยี มมาใหเ; พอ่ื ไปแจกเพอ่ื นในแถว การสร;างความ apart) ค;นุ เคยกับลูกบอล, เมือ่ ได้ยนิ คําสงั่ วา่ “จัดแถวตอนเรยี งหนง่ึ ”ครู 3.ข้นั การฝึกหัดทกั ษะ (20 นาท)ี การสัมผัสลกู บอล ทําสญั ญาณมอื ยกแขนไปดา้ นหน้าให้นกั เรยี น 3.1 ครแู จกบอลใหน; ักเรียนคนละ 1 ลกู ด;วยฝXาเท;าและปลาย และใหน; กั เรยี นฝกc ทกั ษะการสรา; งความ เทา; อยูก< บั ท่ี คุ;นเคยกบั ลกู บอล ตามแบบท่ีครสู อน ทลี ะท<า

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ แตะมือไปที่ไหล่เพื่อนด้านหนา้ 2มือใชเ้ วลา30 ทำท<าละ 3 เซท เซทละ 10 ครง้ั วินาที 3.2 ครใู หน; กั เรยี นฝกc ทักษะพรอ; มๆกัน โดย ครูใหส; ญั ญาณนกั หวดี ในแต<ละทักษะ 4.ขน้ั นําไปใช้ (10 นาที) 4.1 ครใู หน; กั เรียนแขง< ขนั แตล< ะแถว โดย - นักเรียนสนกุ สนาน การสมั ผสั ลกู บอลดว; ยฝXาเทา; และปลายเท;าอยู< ในการเล่นเกมอย่าง กับที่คนละ 10 ครัง้ แล;วว่งิ ออ; มกรวยแลว; ไป น้อย 80% ของจํานวน - นงั่ ในแถว (Sit down) ตอ< ทา; ยแถวจนถงึ คนสุดทา; ยแล;วนัง่ ลง แถว นักเรียนทงั้ หมด ไหนทำเสรจ็ กอ< นชนะ เมอื่ ได้ยินคําสั่งว่า “ทั้งหมดนั่ง” แบบที่ 1 ให้นง่ั พร้อมกัน แบบท่ี 2 ใหน้ ั่งทลี ะคน สมั ผสั ลกู บอล 10 กครรวงั/ ย - แถวพัก (Relax) เข้าต่อท้ายแถว ให้นักเรียนหย่อนเข่าด้านใดด้านหนึ่ง อยู่ใน ทิศทางการวิ>ง ทา่ ท่ผี อ่ นคลาย 4.2 ครใู หน; ักเรยี นแข<งขนั แต<ละแถว ว่งิ ไปที่ กรวยแล;วใชเ; ทา; สัมผสั ลูกบอลดว; ยข;างเท;า ดา; นใน สลับเทา; ซา; ยและขวาอยก<ู บั ท่คี นละ 10 ครง้ั แล;วแลว; วง่ิ กลับไปต<อทา; ยแถวจนถึง 3.2 การเดินแถว (Walk) คนสดุ ท;ายแล;วนัง่ ลง แถวไหนทำเสรiจกอ< น ชนะ 3.2.1 การเดินแถวเด่ยี ว (Single Walk) - ใหน้ กั เรียนเข้าตอนเรยี งหน่ึง - คาํ สง่ั ”หน้าเดนิ …ก้าว ปฎิบัต”ิ - ให้นักเรียนเริ่มต้นด้วยเท้าซ้ายเสมอ โดยเดนิ ให้อยตู่ รงกลางชอ่ งที่กําหนด - เมื่อตอ้ งการหยุดแถว ใหใ้ ชค้ าํ ส่งั “แถวหยดุ ” ลงด้วยเท้าขวา แลว้ ลากเทา้

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ซา้ ยมาชิด 5. ขนั้ สรปุ และสุขปฏบิ ตั ิ (10 นาที) 3.2.2 การเดินแถวคู่ (Double Walk) 5.1 ครสู รปุ เน้อื หาทแี่ ละถามคําถามเก่ียวกบั - นกั เรียนได;ฝกc - ให้นักเรียนเข้าแถวคู่ โดยแบ่งเป็น การเรียนพลศกึ ษาในคาบนี้ ประมวลความคดิ รวบยอดอีกครงั้ นักเรียนชาย 1 แถว และนักเรียนหญิง 1 5.1.1 กีฬาฟุตบอลมตี ้นกาํ เนิดมาจาก หลังจากเรียน แถว ประเทศใด - นกั เรียนรจ;ู กั การ - คาํ สัง่ ”หน้าเดิน…กา้ ว ปฎิบัต”ิ ดูแลรกั ษาความ ให้นักเรียนเริ่มต้นด้วยเท้าซ้ายเสมอ โดย แนวคาํ ตอบ : ประเทศองั กฤษ สะอาดอวยั วะตา< งๆ เดนิ ใหอ้ ยูภ่ ายในชอ่ งท่กี ําหนด 5.2 กล่าวชมเชยนักเรียนที่มีความตั้งใจและ ของรา< งกายตนเอง หลังจากเลน< กีฬา - เมื่อต้องการหยุดแถว ให้ใช้คําส่ัง ให้ความสนใจในชัว่ โมงเรียน - นักเรียนไดฝ; กc ความ “แถวหยุด” ลงด้วยเท้าขวา แล้วลากเท้า รบั ผดิ ชอบในการ ซ้ายมาชดิ 5.3 ครูให้นักเรียนไปล้างหน้า ล้างมือ ดื่ม ตรวจสอบและแก;ใข ในเรื่องการนำของใช; นา้ํ และกลับมาเข้าแถว มาโรงเรยี น 5.4 ครูสํารวจอุปกรณ์และของใช้ส่วนตัว ของนักเรยี น 5.5 ครูให้นักเรียนบันทึกหัวข้อเรื่องที่เรียน ในชั่วโมงนี้ลงในหนังสือเรียนหน้า 52 (อาจมี การเปลยี่ นแปลง) 5.6 ครูแจ้งการบ้านให้นักเรียนไปออกกําลังกาย เพิ่มเติม อย่างน้อย 15 นาที แล้วบันทึกข้อมูลลงใน หนังสือหน้า 57-58 และติดรูปถ่ายการออกกําลัง กายกับครอบครัวและการไปชมการแข่งขันกีฬามา อย่างละ 1 รูปภาพ (อาจมีการเปลี่ยนแปลง) โดยงาน 3.3 การหนั ตัว 2 ในข้อ 5.6 นี้ จะส่งในชวั่ โมงการสอบทฤษฎี 3.3.1 การทําขวาหนั (Turn right) ทําเปน็ และ 5.7 ครปู ลอ่ ยเลกิ แถว จังหวะ ดงั นี้ จงั หวะ1เปดิ ปลายเท้าขวา 5.8 ครพู านักเรยี นเดนิ แถวกลบั หอ้ งเรยี น ยกสน้ เท้าซ้าย โดยใหส้ ้นเท้าและปลายเท้า ตดิ อยกู่ ับพ้นื จงั หวะ 2 ชักเท้าซ้ายมาชดิ เทา้ ขวา 3.3.2 การทําซ้ายหัน(Turnleft) ทําเป็น 2 จังหวะ เหมือนกับท่าขวาหันโดยเปลี่ยนคําว่า “ขวา” เป็นซ้าย

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ 3.3.3 การทํากลบั หลังหัน (Turn around) เป็นท่าทีเ่ ปลีย่ นการหนั หนา้ ของ แถว จากด้านหน้าเปน็ ด้านหลังมีขนั้ ตอน เช่นเดยี วกบั ทา่ ขวาหนั แต่หนั เลยไปจน กลบั จากหน้าเป็นหลังครบ 180 องศา ทักษะการสรา. งความคน.ุ เคยกับลกู ฟตุ บอล เพื่อจะไดค; วบคมุ บังคับทิศทางการ เคล่อื นทข่ี องลกู บอลใหไ; ด;ตามความ ตอ; งการ 1. การสมั ผัสลูกบอลด.วยฝาB เท.าและ ปลายเท.าอยกEู บั ท่ี ใหน; กั เรียนวางลกู บอลไวท; พี่ ื้นดา; นหน;า ของตนเอง และยกฝาB เท.าหรอื ปลายเท.า วางด;านบนของลูกบอลเบาๆ คล;ายการ สมั ผสั เพอื่ เป@นการควบคุมฟุตบอลไมใ< ห;ลูก บอลขยบั หนี สลับเทา; ซ;ายและเท;าขวา ทำ จากชา; ไปเร็ว

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ 1 2 2. การสัมผัสลูกบอลด.วยขา. งเทา. ดา. นใน อยูกE ับท่ี ให;นักเรยี นวางลูกบอลไว;ที่พื้นด;านหนา; ของตนเอง และยกข.างเทา. ด.านในแตะ ขา; งของลูกบอลเบาๆคลา; ยการสมั ผสั เพ่ือ

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ เปน@ การคาบคมุ ลูกบอลไม<ใหล; ูกบอลขยบั หนสี ลบั เท;าซ;ายและเท;าขวา ทำจากช;าไป เรว็ 1 2

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ 3. การสัมผสั ลูกบอลด.วยขา. งเท.าด.านใน แบบเคล่อื นที่ ปฏิบัติเหมือนขอ; 2 แตใ< ชเ; ทา; ใดเท;า หนงึ่ ยนื เปน@ หลกั แล;วใช;อกี เทา; ควบคมุ บอลใหเ; คลื่อนท่รี อบตัวเอง 4.การคลงึ ลูกบอล การฝXาเท;าคลงึ ลกู บอลที่อย<ูบนพ้ืน สนาม มี 3 แบบ คือ 1) คลงึ ลกู บอลขนึ้ และลง จากปลาย เทา; มาส;นเท;า สน; เทา; กลับไปยังปลายเทา; 2) คลงึ ลกู บอลจากซา. ยไปขวา จาก ฝXาเท;าดา; นในไปฝาX เทา; ด;านนอกและจาก ฝXาเท;าดา; นนอกกลบั มาทีฝ่ Xาเท;าดา; นใน 3) คลงึ ลกู บอลเปTนวงกลม คลงึ ลูก บอลใหเ; คล่ือนทร่ี อบตวั เป@นวงกลมจาก ซา; ยไปขวาหรอื จากขวาไปซ;าย

7. ส่อื การสอน/แหล่งการเรียนรู้ - สอ่ื การสอน นกหวดี หนงั สือเรยี นวิชาสุขศึกษา กรวย แผ่นยางมารก์ เกอร์ Whistle Cones Markers และพลศกึ ษา ป..2 เล่ม 2 A Book กระดานไวท์บอร์ด ปากกาไวทบ์ อร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวท์บอรด์ เร่อื งท่สี อนในชั่วโมง Whiteboard eraser poster/Image media ลูกฟตุ บอล กรวยจราจร A Football Traffic cones Traffic cones แหลง่ การเรยี นรู้ สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท.์ 2561. กีฬาฟตุ บอลและกจิ กรรมยืดหยนุ่ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 เลม่ 2. พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ริ้นท์กรปุ๊ จาํ กดั . ศพั ทภ์ าษาองั กฤษเกย่ี วกบั คําส่ังทางการทหาร. 2556. [ออนไลน]i . แหลง่ ทม่ี า: http://mytranslationarchives.blogspot.com/2008/11/blog-post_253.html?m=1 [1 เมษายน 2563]

8. คาํ ศัพทภ์ าษาองั กฤษ ความหมาย การปฐมนเิ ทศ ลําดับ คาํ ศัพทภ์ าษาองั กฤษ ประวัติกีฬาฟุตบอล 1 Orientation ข้อตกลงในการเรียนวชิ าพลศึกษา 2 History of Football ระเบียบวนิ ัยในชว่ั โมงพลศกึ ษา 3 P.E. Regulations เครอ่ื งแบบพลศกึ ษา 4 P.E. Discipline อปุ กรณ์ของใช้ในการเรยี นพลศึกษา 5 P.E. Uniform ระเบยี บแถว 6 P.E Supplies การเข้าแถว 7 Line up regulation การจดั แถวตอน 8 Line up นัง่ ในแถวตอน 9 one arm Length a apart แถวพกั 10 Sit down ตามระเบยี บพัก 11 Relax การเดนิ แถว 12 Arms behind your back การเดินแถวเดีย่ ว 13 Walk การเดนิ แถวคู่ 14 Single Walk นกหวดี 15 Double Walk หนังสอื เรยี น 16 Whistle กรวย 17 Book แผ่นยางมารก์ เกอร์ 18 Cone กระดานไวท์บอรด์ 19 Marker ปากกาไวท์บอรด์ 20 White board แปรงลบกระดานไวท์บอรด์ 21 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเร่อื งท่ีสอนในช่วั โมง 22 Whiteboard eraser ทักษะการสร้างความคุ้นเคยกับลกู บอลแบบตา่ ง ๆ 23 poster/Image media ทกั ษะการควบคุมลกู ดว้ ยฝ่าเท้า 24 Ball Control ทกั ษะการควบคมุ ลูกบอลด้วยข้างเทา้ ด้านใน 25 Sole Trap ทักษะการควบคุมลกู บอลด้วยหลังเทา้ 26 Inside Foot Trap เกมการเล่นของชาวโรมันโบราณ 27 Instep Trap 28 Harpastium

ลาํ ดบั คําศพั ท์ภาษาอังกฤษ ความหมาย 29 The Federation International สหพนั ธฟ์ ุตบอลนานาชาติ of Football Association 30 Football Association of สมาคมฟุตบอลแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ Thailand under the Royal Patronage of his Majestic the King 9. การวัดและประเมินผล ลําดับท่ี เร่อื ง เครื่องมอื แบบสังเกต 1 สงั เกตความสนใจและการมีสว่ นร่วมตลอดชน้ั เรยี น แบบตรวจสอบ 2 สํารวจเคร่อื งแตง่ กายและบกั ทกึ คะแนนความรบั ผิดชอบและ แบบสงั เกต คะแนนสขุ ปฏิบตั ิ 3 สงั เกตการตอบคําถามระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม แบบประเมนิ ความสนใจ การมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรม และผลสาํ เร็จของการฝกึ ทกั ษะและการนําไปใช้ วนั ที่ ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศกึ ษา.................. หนว่ ยการเรยี นร.ู้ ..................................... เร่อื ง...................................................................ระดับช้นั ........................... ระดับ 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรงุ /เพม่ิ เติม) PQ นกั เรยี น 80% ขึ้นไปกระโดดตบ นักเรยี น 60%-80% กระโดดตบ นักเรยี นนอ9 ยกวา: 60% กระโดดตบ สมรรถภาพ มือ ไดอ9 ย:างตอ: เนอ่ื งโดยไม:เหนื่อย มือ ไดอ9 ยา: งต:อเนื่องโดยไมเ: หนอ่ื ย มือ ไดอ9 ย:างต:อเนอื่ งโดยไม:เหน่อื ย ทางกาย นักเรียน 80% ข้ึนไปให้ความ นักเรยี น 60%-80%ใหค้ วาม นกั เรยี นน้อยกว่า 60%ใหค้ วาม MQ คุณธรรม รว่ มมอื กับครูในการจดั กจิ กรรม ร่วมมอื กับครใู นการจดั กิจกรรม รว่ มมอื กบั ครูในการจัดกิจกรรม จริยธรรม เปน็ อย่างดี ยอมรบั การเปน็ ผูน้ ํา ผู้ เป็นอย่างดี ยอมรบั การเปน็ ผู้นํา ผู้ เปน็ อย่างดี ยอมรบั การเป็นผู้นํา ผู้ ตามท่ดี ี เช่ือฟังครู ตามท่ีดี เชอ่ื ฟังครู ตามทดี่ ี เชือ่ ฟงั ครู AQ เจตคติ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปมคี วาม นักเรียน 60%-80%มีความ นักเรยี นน้อยกว่า 60%มคี วาม กระตอื รอื ร้น แตง่ กายเรยี บร้อย กระตอื รือร้น แต่งกายเรียบรอ้ ย กระตอื รือรน้ แตง่ กายเรยี บรอ้ ย พร้อมท่ีจะเรยี น พร้อมที่จะเรียน พรอ้ มทจ่ี ะเรียน IQ ความรู้ นกั เรยี น 80% ขน้ึ ไปสามารถบอก นกั เรียน 60%-80%สามารถบอก นกั เรยี นน9อยกว:า 60%สามารถ ความเขา้ ใจ ประวตั ิกฬี าฟตุ บอล, การสรา9 ง ประวัติกฬี าฟุตบอล, การสร9าง บอกประวตั กิ ีฬาฟตุ บอล, การสร9าง ความค9ุนเคยกับลูกบอลแบบตา: งๆ ความคนุ9 เคยกบั ลูกบอลแบบตา: งๆ ความคุ9นเคยกับลกู บอลแบบตา: งๆ อยา: งถูกต9อง อย:างถกู ตอ9 ง อย:างถกู ตอ9 ง SQ ทักษะ นกั เรยี น 80% ข้ึนไปสามารถ นกั เรยี น 60%-80%สามารถ นักเรยี นนอ9 ยกวา: 60%สามารถ สัมผัสลูกบอลและคลึงลูกบอลใน สมั ผสั ลกู บอลและคลึงลกู บอลใน สมั ผัสลกู บอลและคลึงลูกบอลใน แบบตา: งๆถกู ต9องได9 แบบตา: งๆถกู ตอ9 งได9 แบบตา: งๆได9 ระดับคณุ ภาพ ระดับ 3 หมายถึง จาํ นวนนักเรียน 80% ขึน้ ไป ระดับ 2 หมายถงึ จาํ นวนนกั เรยี น 60-80% ระดับ 1 หมายถึง จํานวนนกั เรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงชื่อ...........................................................ผปู้ ระเมิน

โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ฝา่ ยประถม บันทึกหลงั สอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 หนว่ ย กฬี าฟตุ บอล (Football) ภาคเรียน ปลาย เรือ่ ง ปฐมนเิ ทศ, ชแ้ี จงขอ้ ตกลงเบื้องตน้ ในการเรียนวชิ าพลศกึ ษา (Orientation) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี ประวตั กิ ีฬาฟตุ บอล (History of Football), การสร้างความคุ้นเคยกับลกู บอลแบบตา่ งๆ (Ball control) วันท.่ี .........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจดั การเรียนรู้ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอุปสรรค(กอ่ นสอน-ระหว่างสอน-หลังสอน) ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแกไ้ ขเพื่อใช้ในการสอนคร้งั ตอ่ ไป ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ...................................................... (………………………………………………………..) ผ้สู อน

โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 หนว่ ย กีฬาฟตุ บอล (Football) ภาคเรยี น ปลาย เร่อื ง การเลีย้ งลูกบอลดว้ ยส่วนต่างๆของเท้า (Dribbling) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาท)ี ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 3 การเคลอ่ื นไหว การออกกําลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล พ 3.1: เข้าใจ มที ักษะในการเคล่อื นไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา พ 3.2: รักการออกกาํ ลงั กาย การเลน่ เกม และการเล่นกฬี า ปฏิบัตเิ ป็นประจาํ อยา่ งสม่าํ เสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎกติกา มีนํ้าใจ มีจิตวญิ ญาณในการแขง่ ขนั และชนื่ ชมในสุนทรภี าพของการกฬี า 2. ตัวชว้ี ัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคมุ การเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กบั ท่ี เคลือ่ นท่ี และใช้อปุ กรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลม่ เกมเบ็ดเตล็ดและเขา้ ร่วมกิจกรรมทางกายทว่ี ธิ ีเลน่ อาศัยการเคลอื่ นไหวเบอ้ื งตน้ ทง้ั แบบอยกู่ ับที่ เคลื่อนท่ี และใช้อปุ กรณ์ประกอบ พ 3.2 ป.2/1: ออกกําลงั กาย และเลน่ เกม ไดด้ ว้ ยตนเองอยา่ งสนกุ สนาน พ 3.2 ป.2/2: ปฏิบัติตามกฎ กตกิ าและข้อตกลงในการเล่นเกมเป็นกล่มุ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 นกั เรยี นสามารถเข้าใจและสามารถบอกวิธกี ารเล้ยี งลูกบอลในแบบต่างๆได้ (IQ) 3.2 นักเรยี นสามารถเล้ียงลกู บอลไปข้างหน้าไดอ้ ย่างถูกต้อง (SQ) 3.3 นกั เรียนมคี วามสนกุ สนานจากการเรียนและการแขง่ ขัน (AQ) 3.4 นกั เรียนมีพฒั นาการสมรรถภาพทางกายด้านความคล่องแคลว่ ว่องไวที่ดโี ดยการแขง่ ขนั กันเล้ียงลกู บอล อ้อมกรวย (PQ) 3.5 นกั เรยี นสามารถเขา้ แถวอยา่ งเป็นระเบียบ แตง่ กายเรยี บร้อย พดู จาสุภาพ (MQ)

4. สาระสาํ คัญ ทกั ษะการเล้ียงบอลด้วยส่วนต่างๆของเท้า (Dribbling) เป็นทกั ษะทีใ่ ชป้ ระโยชนใ์ นการพาบอลไปทํา ประตู และหลบหลีกคตู่ ่อสู้ ซ่งึ จําเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ีนกั ฟตุ บอลจะต้องทําให้ได้ 5. ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวงั นกั เรยี น 80% สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้และสามารถนาํ เอาความรู้ไปใช้ได้อย่าง คล่องแคลว่ ในการเรียนการสอนรายวิชาอน่ื และชีวิตประจาํ วนั 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ทกั ษะการเล้ยี งลูกบอลด้วยขา้ งเทา้ ดา้ น 1.ขั้นเตรยี ม/อบอนุ่ ร่างกาย (10 นาท)ี ใน (Inside Foot Dribbling) 1.1 ครูเดนิ ไปรับนักเรียน แล้วพานกั เรียน - นกั เรียนมคี วามเขา้ ใจ 1. ให้ใชข้ ้างเทา้ ดา้ นในสมั ผสั ลกู บอลเบา ไปสถานที่เรียน (สนาม 3) และปฏบิ ัตติ ามคําสงั่ ๆ และใชส้ ายตาชาํ เลืองดลู ูกบอล 1.2 ครใู หน้ กั เรียนวางถงุ ย่ามในชนั้ วางของ ครูผสู้ อน 2. การพาลูกบอลใหเ้ คลือ่ นท่ไี ปนนั้ ตอ้ ง โดยให้นักเรยี นชายไว้แถวล่างของช้นั วาง และ สมั ผัสลกู บอลเบา ๆ ลูกบอลต้องหา่ งจาก นักเรียนหญงิ วางไวแ้ ถวบนของชนั้ วางของ ตัวไม่เกนิ 1 ก้าว และควรใช้ข้างเทา้ ดา้ น 1.3 ครูให้นักเรียนแบ่งเป็นแถวตอนท้ังหมด - นักเรียนมคี วามเปน็ ในทง้ั 2 ขา้ งสัมผสั สลบั กนั ไป 4 แถวตามกลุ่ม ระเบียบเรียบรอ้ ย 3. ในขณะท่ีเล้ียงลูก ลาํ ตวั และแขนตอ้ ง ภายในแถวตามท่ี ไมเ่ กร็ง. 1 กาํ หนด 1.4 อบอ่นุ รา่ งกาย (Warm – Up) ครใู ห้ - นักเรียนมีความ นักเรียนขยายแถวหน่ึงช่วงแขนเพ่อื อบอนุ่ ร่างกาย พร้อมในการเรียนทงั้ 1.4.1 ครนู ํานกั เรยี นยืดเหยยี ดกล้ามเนื้อ 4 ท่า ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ และอารมณ์ - นกั เรยี นเคารพกติกา ภายในหอ้ งเรียนแตง่ กายเรียบร้อย

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ 2 ท่าที่ 1 หมนุ เอว ซ้ายและขวา ขา้ งละ 10 คร้ัง - นกั เรยี นบรหิ าร ร่างกายและอวยั วะ ต่างๆ ไดเ้ หมาะสมตาม วยั ท่าที่ 2 ไขว้ขามาด้านหน้าขา ก้มแตะปลาย เท้า สลบั ขา้ งละ 10 วนิ าที ท่าที่ 3 ท่าเหยียดต้นขาซ้ายและขวา สลับ ขา้ งละ 10 วินาที การเลี้ยงลกู บอลดว้ ยหลงั เท้า (Instep Foot Dribbling) 1. ให้ใชห้ ลังเท้าบริเวณท่ีเราผูกเชอื ก ทา่ ที่ 4 วิง่ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) รองเท้าสัมผัสลูกบอล ปลายเท้าชีล้ งพื้น 2. โนม้ ตัวไปดา้ นหน้าเลก็ น้อย ใชว้ ธิ ีการ สะกดิ ลกู ไปด้านหนา้ ลกู บอลตอ้ งหา่ งจาก ตัวไมเ่ กิน 1 กา้ ว และควรใช้ขา้ งเทา้ ดา้ น ในทั้ง 2 ขา้ งสลบั กันไป 3. ในขณะที่ในขณะทเี่ ลีย้ งลูกลําตัวและ แขนไม่ตอ้ งเกร็ง

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ 1.5 พัฒนาสมรรถภาพร่างกาย ครูให้นกั เรียนแขง่ ขันกันในแต่ละแถว เลย้ี งลกู บอลอ้อมกรวย ภายในเวลา 1 นาที จํานวนนักเรยี นทีเ่ ลีย้ งลูกบอลเสร็จแล้วแถว ไหนมากที่สุดเปน็ ฝา่ ยชนะในแต่ะคร้ังได้ 1 คะแนน แถวไหนคะแนนรวม 2 คะแนน เปน็ ฝา่ ยชนะ 1 2 2. ขนั้ อธบิ ายและสาธิต (10นาท)ี 2.1 ครทู บทวนการสร้างความคุ้นเคยกับลกู -นักเรยี นฟงั ถามและ บอล ตอบคําถาม - การสมั ผสั ลูกฟตุ บอลด้วยฝ่าเท้าและ แลกเปลยี่ นความ ปลายเท้าอยกู่ บั ท่ี คดิ เหน็ กับครูผู้สอนได้ - การสมั ผสั ลูกบอลดว้ ยข้างเทา้ ดา้ นใน อย่างเหมาะสม อยกู่ บั ท่ี - การสัมผสั ลกู บอลดว้ ยข้างดา้ นในแบบ เคล่ือนท่ี

สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ การเลีย้ งลกู บอลซกิ แซก (Zigzag 2.2 ครใู ห้นกั เรียนเข้าแถวตอน 4 กลมุ่ Dribbling) เหมือนตอนแรก คือ การพาลูกบอลเคล่อื นท่ีไปข้างหนา้ 2.3 ครถู ามคําถามนักเรียนว่า “ทักษะการ และเปลย่ี นทศิ ทางซา้ ยและขวาอยา่ ง เลีย้ งลกู บอล สามารถใช้สว่ นใดของเท้าเลย้ี ง รวดเร็ว คลา้ ยกบั การหลบหลีกคู่ต่อสู้ ลูกบอลได้บ้าง” วิธีปฏิบตั ิ แนวคาํ ตอบ : 3 สว่ น 1.) การเล้ียงลกู บอล 1. ใหเ้ ลี้ยงบอลไปดา้ นขวาของหลัก เมื่อ ด้วยฝ่าเทา้ ผา่ นหลักแรกใหใ้ ช้เทา้ ขวาสมั ผัสบอล 2.) การเลย้ี งลูกบอลด้วยข้างเท้าด้านใน และ เปลี่ยนทศิ ทางไปทางดา้ นซ้าย และใชเ้ ท้า 3.) การเล้ียงลูกบอลดว้ ยหลงั เทา้ ซา้ ยควบคมุ บอลไว้ ลาํ ตวั เองตามทิศทาง 2.4 ครอู ธิบายและสาธิตรว่ มกับนักเรียนใน บอล ทักษะการเลยี้ งลกู บอลแบบตา่ งๆ ได้แก่ การ 2. เล้ยี งลูกบอลตอ่ ไปด้วยดา้ นซ้ายของ เล้ยี งลูกบอลด้วยข้างเท้าดา้ นใน การเล้ยี งลูก หลกั เม่อื ผ่านหลักทส่ี อง ให้ใชข้ า้ งเทา้ ซ้าย บอลด้วยขา้ งเท้าด้านใน การเลยี้ งลกู บอลด้วย สัมผัสบอลเปลีย่ นทศิ ทางไปทางดา้ นขวา หลังเท้า และใชเ้ ท้าขวาควบคุมบอลไว้ ลาํ ตัวเอง 2.5 ครูถามคําถามนักเรยี นวา่ “การเล้ยี ง ตามทศิ ทางบอล ลกู แบบ Zigzag คอื อะไร “ แนวคาํ ตอบ : การพาลกู บอลเคลอื่ นท่ีไป ข้างหน้า และเปลย่ี นทศิ ทางซ้ายและขวา อยา่ งรวดเร็ว 2.6 ครูอธิบายและสาธิตวิธกี ารปฏิบตั กิ าร เลย้ี งลูกบอลซิกแซก 2.7 ครใู ห้นักเรยี น 1 – 2 คน สาธิตร่วมกบั ครถู ึงวธิ กี ารปฏบิ ตั ิทักษะการเลยี้ งลกู บอลซิก แซก 1 2.8 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อ สงสยั อกี ครง้ั กอ่ นฝกึ ปฏิบัติ 2.9 ครูใหน้ ักเรยี น ขยายแถว 2 ช่วงแขน 2.10 ครูบอกใหห้ วั แถวแตล่ ะแถวมารบั ลูก บอลทีค่ รูเตรียมมาให้เพ่ือไปแจกเพ่อื นในแถว

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 3.ขัน้ การฝกึ หดั ทักษะ (20 นาที) - นักเรียนมีทกั ษะ 3.1 ครใู ห้นักเรียนฝกึ การเล้ยี งลูกบอลออ้ ม การเล้ียงลูกบอลด้วย กรวย ทัง้ 2 ท่า ท่าละ 2 รอบ ข้างเท้าด้านในและ หลงั เท้า 2 3 3.2 ครูตัง้ กรวยระหวา่ งมาร์กเกอรส์ องฝงั่ ทงั้ หมด 4 แถว แถวละ 6 อัน เพือ่ เตรียมการ ฝึกทกั ษะการเลี้ยงลกู บอลซกิ แซก 3.3 ครใู ห้นกั เรียนฝึกทกั ษะการเล้ียงลกู บอลซกิ แซก โดยคนแรกของแถวทําการเล้ยี ง ลูกบอลซกิ แซกผา่ นกรวย 6 อนั ไปจนถึง มารก์ เกอร์ฝั่งตรงข้าม ให้คนต่อไปเร่ิมออกตัว ไดเ้ มื่อคนหนา้ เลี้ยงลูกบอลถงึ ครงึ่ สนาม เมื่อ ถึงแล้วให้หยดุ รอเพ่ือนและเข้าแถวตามเดมิ ทําแบบน้ี 3 รอบ

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ - นักเรียนมีทักษะ การเลีย้ งลกู บอลซิก แซ 4.ข้ันนําไปใช้ (10 นาท)ี 4.1 ครูให้นกั เรยี นเข้าแถวตอนลกึ ตามกลุ่ม เหมอื นเดิมเพือ่ อธบิ ายกติกาการเลน่ “เกมลูก บอลซิกแซก” ให้นกั เรียนฟงั 4.1.1 นกั เรียนคนหน้าสดุ ของแถวเลย้ี ง ลกู บอลซิกแซกผ่านกรวย 6 อัน ไปจนถึง มารก์ เกอร์ฝัง่ ตรงข้าม และเล้ียงลูกบอล กลบั มาทนั ทีเพอ่ื ซิกแซกผา่ นกรวย 6 อันอีก คร้งั หนงึ่ และเล้ยี งไปจนถึงหวั แถว 4.1.2 เมอ่ื คนแรกของแถวเลย้ี งลกู บอล กลบั มาจนถงึ หัวแถว ให้ทาํ การหยดุ บอล และ

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ให้คนต่อไปของหวั แถวเลยี้ งบอลซกิ แซก เหมอื นเพื่อนคนแรกอกี ครงั้ คนทที่ ําเสร็จแลว้ ให้ไปต่อดา้ นหลังของแถว ทําแบบน้ีไปเร่ือย ๆ จนกว่าจะทาํ ครบทกุ คนในแถว 4.1.3 ปฏิบตั ิแบบนี้ใหเ้ ร็วท่ีสุด หากแถว ใดทําการเลีย้ งลูกบอลเสร็จทุกคนแลว้ ให้แถว น้นั รบี นงั่ ลง แถวใดปฏิบตั ิเสรจ็ กอ่ น เปน็ ฝ่าย ชนะ แถวที่แพใ้ นการแข่งขัน จะตอ้ งช่วยครู เก็บอุปกรณ์ 4.2 ครใู หส้ ัญญาณนกหวดี เพอ่ื ให้นกั เรียน เรมิ่ เล่น “เกมลูกบอลซกิ แซก” - นกั เรียนสนกุ สนาน ในการเล่นเกมอยา่ ง นอ้ ย 80% ของจํานวน นักเรียนทัง้ หมด

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ 5. ข้นั สรปุ และสุขปฏบิ ตั ิ (10 นาที) 5.1 ครสู รุปเน้อื หาและถามคําถามเก่ียวกับ - นกั เรียนได้ฝึก การเรียนพลศกึ ษาในคาบนี้ ประมวลความคดิ 5.1.1 ทกั ษะการเล้ียงลกู บอล สามารถ รวบยอดอกี ครง้ั ใชส้ ว่ นใดของเทา้ เลย้ี งลูกบอลได้บ้าง” หลงั จากเรยี น แนวคําตอบ : 3 สว่ น 1.) การเลีย้ งลูกบอล ดว้ ยฝ่าเท้า 2.) การเลย้ี งลูกบอลดว้ ยขา้ งเทา้ ดา้ นใน และ 3.) การเลี้ยงลูกบอลด้วยหลงั เท้า 5.1.2 การเลี้ยงลูกแบบ Zigzag คือ อะไร แนวคาํ ตอบ : การพาลกู บอลเคล่ือนท่ไี ป ข้างหน้า และเปล่ยี นทิศทางซ้ายและขวา อย่างรวดเรว็ 5.2 ครูใหน้ กั เรยี นไปลา้ งหนา้ ลา้ งมอื ดื่ม - นักเรยี นรจู้ ักการ นํ้า และกลับมาเขา้ แถว ดแู ลรักษาความ 5.3 ครูสํารวจอุปกรณ์และของใช้ส่วนตัว สะอาดอวยั วะต่างๆ ของนกั เรียน ของรา่ งกายตนเอง 5.4 ครูให้นักเรียนบันทึกหัวข้อเรื่องที่เรียน หลังจากเลน่ กีฬา ในชั่วโมงนี้ลงในหนังสือเรียนหน้า 52 (อาจมี - นักเรียนได้ฝกึ ความ การเปลยี่ นแปลง) รับผิดชอบในการ 5.5 ครูปลอ่ ยเลกิ แถว ตรวจสอบและแกใ้ ข 5.6 ครูพานักเรยี นเดนิ แถวกลับห้องเรยี น ในเร่ืองการนาํ ของใช้ มาโรงเรียน

7. สือ่ การสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - สอื่ การสอน นกหวีด หนังสอื เรยี นวชิ าสุขศกึ ษา กรวย แผน่ ยางมารก์ เกอร์ Whistle Cones Markers และพลศึกษา ป..2 เลม่ 2 A Book กระดานไวทบ์ อรด์ ปากกาไวทบ์ อร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวท์บอร์ด เรื่องท่ีสอนในช่ัวโมง Whiteboard eraser poster/Image media ลกู ฟตุ บอล กรวยจราจร A Football Traffic cones แหล่งการเรยี นรู้ สุรเชษฐ์ วศิ วธีรานนท์.2561. กฬี าฟตุ บอลและกิจกรรมยืดหยุ่น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 2. พิมพค์ รัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ รนิ้ ทก์ รปุ๊ จํากดั . How to do dribbling drills. 2560. [ออนไลน]์ . แหล่งทีม่ า: https://www.youtube.com/watch?v=_oGMyUZUH4o [1 เมษายน 2563]

8. คําศัพท์ภาษาองั กฤษ ความหมาย หนังสอื เรียน ลาํ ดับ คําศพั ทภ์ าษาอังกฤษ กรวย 1 Book แผ่นยางมาร์กเกอร์ 2 Cone กระดานไวท์บอรด์ 3 Marker ปากกาไวทบ์ อร์ด 4 White board แปรงลบกระดานไวท์บอร์ด 5 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรื่องทส่ี อนในชวั่ โมง 6 Whiteboard eraser การเลีย้ งลูกบอล 7 poster/Image media ทกั ษะการเลี้ยงลูกบอลดว้ ยข้างเทา้ ดา้ นใน 8 Dribbling การเลี้ยงลกู บอลด้วยหลังเท้า 9 Inside Foot Dribbling การเลีย้ งลูกบอลซกิ แซก 10 Instep Foot Dribbling 11 Zigzag Dribbling 9. การวดั และประเมนิ ผล ลาํ ดับที่ เรอ่ื ง เคร่อื งมือ แบบสงั เกต 1 สังเกตความสนใจและการมีสว่ นร่วมตลอดชนั้ เรียน แบบตรวจสอบ 2 สํารวจเคร่อื งแตง่ กายและบกั ทกึ คะแนนความรบั ผดิ ชอบและ แบบสงั เกต คะแนนสุขปฏบิ ตั ิ 3 สังเกตการตอบคําถามระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝ่ายประถม แบบประเมินความสนใจ การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม และผลสําเร็จของการฝกึ ทกั ษะและการนาํ ไปใช้ วันท่ี ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปีการศึกษา.................. หน่วยการเรียนรู้...................................... เร่ือง...................................................................ระดบั ช้นั ........................... ระดบั 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1 (ปรบั ปรงุ /เพ่ิมเติม) PQ นักเรียน 80% ข้ึนไปเล้ยี งลูกบอล นักเรยี น 60%-80% เล้ยี งลกู บอล นักเรียนน้อยกว่า 60% เลีย้ งลกู สมรรถภาพ อ้อมกรวยได้อย่างคลอ่ งแคล่งและ ออ้ มกรวยไดอ้ ย่างคล่องแคล่งและ บอลออ้ มกรวยไดอ้ ยา่ งคล่องแคลง่ ทางกาย รวดเรว็ รวดเรว็ และรวดเร็ว นักเรียน 80% ขน้ึ ไปเข้าแถวอยา่ ง นกั เรียน 60%-80% เขา้ แถวอยา่ ง นักเรียนน้อยกว่า 60% เขา้ แถว MQ คณุ ธรรม เป็นระเบียบ แต่งกายเรียบรอ้ ย เปน็ ระเบยี บ แต่งกายเรยี บรอ้ ย อยา่ งเปน็ ระเบียบ แต่งกาย จรยิ ธรรม พูดจาสภุ าพ พดู จาสภุ าพ เรยี บรอ้ ย พูดจาสภุ าพ AQ เจตคติ นกั เรยี น 80% ข้นึ ไปมีความ นกั เรียน 60%-80% มคี วาม นกั เรียนน้อยกว่า 60% มีความ สนกุ สนานจากการเรียนและการ สนุกสนานจากการเรียนและการ สนุกสนานจากการเรียนและการ เลน่ เกม เล่นเกม เล่นเกม นักเรยี น 80% ขึ้นไปสามารถบอก นกั เรียน 60%-80% สามารถบอก นักเรยี นนอ้ ยกว่า 60% สามารถ IQ ความรู้ ทักษะการเลี้ยงลูกบอลในแบบ ทกั ษะการเลีย้ งลูกบอลในแบบ บอกทกั ษะการเลยี้ งลกู บอลใน ความเข้าใจ ตา่ งๆอยา่ งถูกต้อง ต่างๆอย่างถูกตอ้ ง แบบต่างๆอย่างถูกตอ้ ง SQ ทกั ษะ นักเรยี น 80% ขน้ึ ไปสามารถ นกั เรยี น 60%-80% สามารถ นักเรียนน้อยกว่า 60% สามารถ ปฏบิ ตั ิทกั ษะการเล้ยี งลกู บอลใน ปฏิบตั ทิ กั ษะการเลีย้ งลูกบอลใน ปฏิบตั ทิ กั ษะการเลีย้ งลูกบอลใน แบบต่างๆถูกตอ้ งได้ แบบต่างๆถกู ต้องได้ แบบตา่ งๆได้ ระดบั คุณภาพ ระดับ 3 หมายถงึ จํานวนนกั เรยี น 80% ขน้ึ ไป ระดับ 2 หมายถงึ จํานวนนักเรยี น 60-80% ระดับ 1 หมายถึง จาํ นวนนกั เรยี นอ้ ยกว่า 60% ลงชอื่ ...........................................................ผู้ประเมิน

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝ่ายประถม บันทกึ หลังสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2/...... หนว่ ย กีฬาฟุตบอล (Football) ภาคเรยี น ปลาย เรื่อง การเลี้ยงลูกบอลดว้ ยส่วนต่างๆของเท้า (Dribbling) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี วันที่..........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น.-.......................น. 1. ผลการจดั การเรยี นรู้ ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอปุ สรรค(กอ่ นสอน-ระหวา่ งสอน-หลงั สอน) ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ไขเพื่อใชใ้ นการสอนคร้งั ตอ่ ไป ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... .…………....................................................... (………………………………………………………..) ผ้สู อน

โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 หนว่ ย กีฬาฟุตบอล (Football) ภาคเรียน ปลาย เร่อื ง ทกั ษะการรับและสง่ บอล 2 คน (Passing and Receiving) เวลาเรยี น 1 คาบ (60 นาท)ี ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 3 การเคลือ่ นไหว การออกกําลังกาย การเลน่ เกม กฬี าไทย และกฬี าสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มีทักษะในการเคล่อื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า พ 3.2: รกั การออกกาํ ลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กฬี า ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจําอยา่ งสมํา่ เสมอ มีวินยั เคารพสิทธิ กฎกติกา มนี ้าํ ใจ มีจิตวญิ ญาณในการแข่งขนั และชืน่ ชมในสนุ ทรีภาพของการกฬี า 2. ตวั ชี้วัด พ 3.1 ป.2/1: ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยูก่ บั ท่ี เคลือ่ นที่ และใช้อปุ กรณป์ ระกอบ พ 3.1 ป.2/2: เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางกายทีว่ ธิ ีเล่น อาศยั การเคลอื่ นไหวเบอื้ งตน้ ท้งั แบบอยู่กับท่ี เคล่อื นที่ และใช้อปุ กรณ์ประกอบ พ 3.2 ป.2/1: ออกกําลงั กาย และเลน่ เกม ได้ดว้ ยตนเองอย่างสนกุ สนาน พ 3.2 ป.2/2: ปฏิบตั ติ ามกฎ กติกาและข้อตกลงในการเลน่ เกมเป็นกลมุ่ 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 นกั เรยี นสามารถอธิบายทักษะการรบั -สง่ บอล และการหยุดบอลได้ถกู ต้อง (IQ) 3.2 นักเรียนสามารถปฏิบัติทักษะการรบั -สง่ บอล และการหยดุ บอลไดอ้ ย่างถกู ต้อง (SQ) 3.3 นกั เรยี นมีความสนุกสนานจากการเรียน การเลน่ เกม และการแข่งขนั (AQ) 3.4 นักเรยี นมพี ัฒนาการสมรรถภาพทางกายดา้ นความอดทนของระบบหวั ใจและระบบไหลเวยี นโลหิตทดี่ ี โดยการเล่นเกมเปา่ ยิงฉุบเล้ียงลูกบอล (PQ) 3.5 นักเรยี นสามารถเขา้ แถวอย่างเป็นระเบยี บ แตง่ กายเรยี บร้อย พดู จาสภุ าพ (MQ)

4. สาระสาํ คญั ทักษะการรบั และสง่ บอล 2 คน (Passing and Receiving) เปน็ อกี ทกั ษะทีใ่ ชป้ ระโยชนใ์ นการพาบอล ไปฝง่ั ตรงข้ามเพือ่ ทําประตู ซึ่งเปน็ ทักษะพ้ืนฐานทีน่ กั ฟตุ บอลจะตอ้ งฝกึ จนเกดิ ความชํานาญ 5. ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั นักเรยี น 80% สามารถปฏิบตั ิได้ตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้และสามารถนําเอาความรไู้ ปใชไ้ ด้อยา่ ง คล่องแคลว่ ในการเรียนการสอนรายวิชาอน่ื และชีวติ ประจําวนั 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ 1.ขัน้ เตรยี ม/อบอุน่ รา่ งกาย (10 นาท)ี - นักเรยี นมีความเขา้ ใจ 1.1 ครเู ดนิ ไปรบั นักเรียน แลว้ พานักเรยี น และปฎบิ ตั ิตามคําสง่ั การส่งบอลดว้ ยข้างเท้าด้านใน (Inside ครผู ู้สอน Foot Passing) ไปสถานท่ีเรยี น (สนาม 3) 1.2 ครูใหน้ กั เรียนวางถุงย่ามในช้ันวางของ - นกั เรียนมคี วามเปน็ เรยี กอีกช่ือว่า “ลูกแป” เปน็ การสง่ ระเบยี บเรียบรอ้ ย บอลท่ีแมน่ ยํามากเพราะส่วนทสี่ มั ผัสกับ โดยใหน้ ักเรียนชายไวแ้ ถวล่างของชัน้ วาง และ ภายในแถวตามท่ี ลกู บอลมีพนื้ ท่กี ว้าง นกั เรยี นหญิงวางไวแ้ ถวบนของชน้ั วางของ กําหนด วิธปี ฏิบัติ 1. วางลูกบอลไว้ด้านหน้า หา่ งจากตวั 1.3 ครใู ห้นกั เรียนเข้าแถว 4 แถว หลงั ประมาณ 1 ก้าว กรวยทวี่ างไวใ้ หต้ รง ตามกลุ่ม 2. ก้าวเข้าหาลูกบอล โดยวางเท้าหลักไว้ ด้านข้างของลกู บอล ใหป้ ลายเท้าช้ีไป ด้านหน้า และอยรู่ ะดับเดียวกบั ลกู บอล 1.4 อบอุ่นรา่ งกาย (Warm – Up) - นักเรียนมีความ ครใู ห้นกั เรยี นขยายแถวหน่ึงช่วงแขนเพอื่ อบอ่นุ พรอ้ มในการเรียนทัง้ ร่างกาย ทางด้านรา่ งกาย จิตใจ 1.4.1 ครนู าํ นกั เรียนยดื เหยียดกลา้ มเนือ้ 4 ทา่ และอารมณ์ - นักเรียนเคารพกติกา ภายในหอ้ งเรยี นแตง่ กายเรียบร้อย

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ ทา่ ที่ 1 หมุนเอว ซา้ ยและขวา ขา้ งละ 10 ครัง้ - นักเรียนบรหิ าร รา่ งกายและอวัยวะต่างๆ ได้เหมาะสมตามวัย ท่าที่ 2 ไขว้ขามาด้านหน้าขา ก้มแตะปลาย 3. เหว่ยี งเท้าทใี่ ช้เตะไปด้านหลัง ใช้แรงสง่ เท้า สลับข้างละ 10 วนิ าที จากสะโพก เหว่ียงเทา้ กลบั มาใช้ข้างเทา้ สมั ผัสบริเวณกลางบอล ขณะทเี่ ทา้ สมั ผัส บอลให้เกร็งขอ้ เท้าไวเ้ พ่ือจะทาํ ใหบ้ อลวิง่ ไปไดแ้ รงขนึ้ แขนทง้ั สองยกขน้ึ เพ่อื รกั ษา สมดุลของร่างกาย ท่าที่ 3 ท่าเหยียดต้นขาซ้ายและขวา สลับ ข้างละ 10 วินาที 1 ท่าที่ 4 ว่งิ รอบสนาม 2 รอบ (200 เมตร) 2

สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ การรบั บอลด้วยขา้ งเทา้ ด้านใน (Inside 1.5 พฒั นาสมรรถภาพรา่ งกาย Foot Receiving) ครใู หน้ ักเรยี นเลน่ เกม “เปา่ ยงิ ฉุบเลี้ยงลูก วิธีปฏิบตั ิ 1. คนทรี่ ับบอล ตามองลูก เมื่อบอล บอล” เคลอื่ นท่ีเขา้ มาใกล้ตัว ใหย้ กเท้าโดยหนั - แบ่งนกั เรียนจบั กลมุ่ 3 โดยมี 2 คนหนั ข้างเทา้ ด้านในเข้าหาบอล หนา้ เข้าหากนั ระยะหา่ งกนั ประมาณ 10 2. เมอื่ ลกู บอลสมั ผสั กับเทา้ ให้ผอ่ นแรง เมตร และอกี คนหนง่ึ อยู่กงึ่ กลางระหวา่ งสอง ของลกู บอล โดยผอ่ นดงึ เทา้ กลับมา คน ด้านหลัง พยายามอยา่ เกรง็ เพราะจะทํา ให้ลูกกระดอนไปไกลจากตัว - ใหน้ ักเรียนคนกลางของกลมุ่ ว่ิงไปหา คนใดคนหนึ่งของกลมุ่ ตัวเอง และเป่า ยิงฉบุ แขง่ กัน หากใครชนะจะได้ยืนอยกู่ ับที่ดูเพ่อื น ว่งิ แต่คนทแ่ี พต้ ้องว่ิงไปหาเพ่ือนในกล่มุ ฝัง่ ตรงขา้ มและเปา่ ยงิ ฉุบแข่งกนั อีกคร้ัง - หากใครชนะจะได้ยนื อยู่กบั ทีด่ เู พ่ือนวิง่ หากใครแพ้ต้องว่ิงไปหาเพ่ือนในกลุ่มฝ่งั ตรง ข้ามและเปา่ ยิงฉบุ แข่งกนั อกี ครั้ง 3. ทาํ แบบน้ีไปเรอ่ื ย ๆ

สาระการเรียนรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ การหยุดบอลดว้ ยฝ่าเทา้ (Receiving 2. ข้นั อธิบายและสาธติ (10นาที) -นกั เรยี นฟงั ถามและ the ball) 2.1 ครใู ห้นักเรียนเข้าแถวตอน 4 กล่มุ ตอบคําถาม แลกเปล่ยี นความ สามารถใชร้ ับบอลทีม่ าเรยี ดกบั พื้น เหมอื นตอนแรก คดิ เหน็ กับครูผู้สอนได้ เท่านั้น 2.2 ครูถามคาํ ถามนักเรยี นวา่ “ทกั ษะการ อย่างเหมาะสม วิธีปฏิบัติ 1. คนที่รับบอล ตามองลกู บอล เมอื่ บอล เลี้ยงลกู ครถู ามคําถามนักเรียนวา่ “การพาลูก เคลอื่ นท่ีเข้ามาใกล้ตัวให้ยกเทา้ โดยหันฝา่ บอลไปยงั ประตทู ีมฝัง่ ตรงขา้ มเพ่อื ยงิ ประตู เทา้ เข้าหาบอล ปลายเท้าเงยขนึ้ เลก็ นอ้ ย สามารถพาลูกบอลไปฝัง่ ตรงข้ามไดด้ ว้ ยวธิ ี และไมต่ ้องยกสงู มากนัก ใดบ้าง” 2. เมือ่ ลกู บอลเคลอื่ นท่เี ข้ามาถงึ ใหใ้ ช้ แนวคําตอบ : 2 แบบ ปลายเท้ากดบอลไวอ้ ยา่ งนมิ่ นวล ไม่ใช้ 1.) การเล้ยี งลกู บอล 2.) การสง่ ลกู บอล กระทืบบอล เพราะอาจจะทาํ ให้ลกู บอล “การสง่ ลกู บอลสามารถส่งบอลให้แม่นยาํ กระดอนออกจากฝา่ เทา้ ได้ สามารถดว้ ยส่วนใดของเทา้ บ้าง” แนวคาํ ตอบ : 2 ส่วน 1.) ขา้ งเท้าดา้ นใน 2.) หลังเทา้ 2.3 ครูอธบิ ายและสาธิตรว่ มกบั นกั เรียนใน ทักษะการหยดุ ลูกบอล และทกั ษะการรับ-สง่ ลกู บอลแบบต่างๆ ได้แก่ การส่งลกู บอลด้วยข้าง เท้าด้านใน การสง่ ลกู บอลดว้ ยหลังเทา้ 2.4 ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อ สงสยั อีกครั้งก่อนฝึกปฏิบัติ 2.5 ครใู ห้นกั เรียน ขยายแถว 2 ช่วงแขน 2.6 ครบู อกใหห้ ัวแถวแตล่ ะแถวมารับลกู บอลทคี่ รูเตรียมมาให้เพื่อไปแจกเพือ่ นในแถว 3.ขัน้ การฝึกหัดทักษะ (20 นาท)ี 3.1 ครใู ห้นักเรียนจบั คู่และออกมารบั ลกู ฟตุ บอลตามลาํ ดับแถว คู่ละ 1 ลูก - นกั เรียนมีทกั ษะ 3.2 ครใู ห้นักเรยี นฝกึ ทกั ษะการรบั และส่ง การรบั และสง่ บอล บอลดว้ ยขา้ งเท้าดา้ นในโดยให้แต่ละคู่หนั หน้า ด้วยขา้ งเท้าด้านใน

สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรียนรู้ การสง่ บอลด้วยหลังเทา้ (Instep Foot เขา้ หากนั เป็นแถวหนา้ กระดาน 2 แถว ความ Passing) ห่างประมาณ 4 เมตร และนกั เรยี นส่งลูกบอล เรยี กอีกชือ่ หนึ่งว่า “ลกู หลังเทา้ ” เป็น ดว้ ยขา้ งเทา้ ด้านในให้คู่ของตนเองทอี่ ยูฝ่ ่ังตรง การสง่ บอลท่สี ง่ ไดท้ ้ังลกู เรียดกับพืน้ และ ข้าม และเมอ่ื เพอ่ื นส่งลูกบอลมา ให้นักเรียน ลูกโด่ง ขึน้ อยกู่ บั การวางเท้าขณะสมั ผัส ใช้ทักษะการรบั บอลด้วยขา้ งเทา้ ดา้ นในรับลูก กับลกู บอล การส่งบอลหลงั เทา้ สามารถส่ง บอลทเี่ พือ่ นส่งมา หลงั จากน้นั สง่ ลกู บอลดว้ ย ไกลเพราะใช้แรงเหวย่ี งของสะโพก ขา้ งเทา้ ด้านในกลับไปใหเ้ พ่อื น ผลดั กันทาํ ค่อนข้างกว้าง แบบนไ้ี ปเรื่อย ๆ โดยช่วงแรกใหน้ ักเรยี น วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาณนกหวดี ในการรบั และสง่ 1. วางลกู บอลไว้ดา้ นหนา้ หา่ งจากตัว บอล เมือ่ นักเรยี นเรม่ิ ปฏบิ ัตไิ ดแ้ ล้ว ครูให้ ประมาณ 1 ก้าว นกั เรียนปฏิบตั ดิ ้วยตนเองโดยไม่มสี ัญญาณ 2. กา้ วเข้าหาลกู บอล โดยวางเท้าหลักไว้ ดา้ นข้างลกู บอล ใหป้ ลายเท้าชไ้ี ป ด้านหน้าและอยูร่ ะดับเดียวกันกบั ลูกบอล ห่างจากลูกบอลประมาณ 20 – 25 ซม. หรือหนงึ่ คืบ คนส่งลูกบอล คนรับลกู บอล ทิศทางของลูกบอล นกหวดี 3. เหวยี่ งเทา้ ที่ใช้เตะไปด้านหลงั ใชแ้ รงสง่ 3.3 ครใู หน้ ักเรียนฝกึ ทกั ษะการสง่ บอลด้วย - นักเรยี นมที กั ษะ จากสะโพก โน้มตวั ไปด้านหน้า เหว่ียงเท้า หลงั เทา้ และการหยุดบอลด้วยฝ่า โดยใหแ้ ต่ กลบั มา ใช้หลงั สมั ผสั บริเวณกลางบอล ละคู่หนั หน้าเข้าหากนั เปน็ แถวหน้ากระดาน การส่งบอลด้วยหลงั 2 แถว ความห่างประมาณ 4 เมตร และ นักเรยี นสง่ ลกู บอลด้วยหลังเทา้ ให้คู่ของ เท้า และการหยดุ บอลด้วยฝ่าเท้า

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ ปลายเทา้ งุ้มช้ลี งพ้นื ขอ้ เทา้ เกรง็ แขนท้ัง ตนเองทอี่ ย่ฝู ัง่ ตรงขา้ ม และเม่อื เพือ่ นสง่ ลูก สองขา้ งยกขน้ึ เพ่ือรกั ษาสมดลุ ของรา่ งกาย บอลมา ใหน้ กั เรียนใชท้ กั ษะการหยุดบอลด้วย ฝ่าเท้าในรบั ลกู บอลทเี่ พอ่ื นสง่ มา หลงั จากนั้น สง่ ลกู บอลดว้ ยหลังเท้ากลบั ไปใหเ้ พอ่ื น ผลดั กันทําแบบนไี้ ปเร่ือย ๆ โดยชว่ งแรกให้ นกั เรียนปฏิบัตติ ามสญั ญาณนกหวดี ในการรับ และส่งบอล เม่ือนกั เรียนเรมิ่ ปฏบิ ัตไิ ด้แลว้ ครู 4. หากต้องการใหล้ กู บอลสูง ให้วางเท้า ใหน้ กั เรียนปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองโดยไม่มสี ัญญาณ หลักไวด้ า้ นหลงั ลกู โนม้ ตวั ไปด้านหลงั นกหวีดเช่นเดิม และเทา้ ทใี่ ช้เตะใหว้ างเทา้ สมั ผัสลูกบอล บรเิ วณส่วนลา่ งของลกู บอล คนส่งลูกบอล คนรบั ลูกบอล ทศิ ทางของลกู บอล 4.ข้ันนําไปใช้ (10 นาที) - นักเรียนสนุกสนาน ครูให้นักเรียนเล่นเกมรับ-ส่งลกู บอล โดยมี ในการเล่นเกมอย่าง กตกิ าคอื จะกําหนดจุดไว้ 9 จุดรอบสนาม นอ้ ย 80% ของจาํ นวน ฟตุ บอลโดยครูจะเปน็ ผู้เร่ิมส่งลูกบอลใหค้ นท่ี 1 และจับเวลาทีมใดทําเวลาได้ดีทีส่ ดุ ก็จะเป็น นักเรียนท้ังหมด ผชู้ นะทมี ท่ีมเี วลาเปน็ อันดับสุดท้ายโดนทาํ โทษด้วยการเกบ็ อุปกรณ์

สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ครู ทิศทางการส่งลกู บอล นักเรียน รับ-สง่ ลกู บอล พลิกตวั ส่งลูกบอล 5. ข้ันสรปุ และสขุ ปฏบิ ตั ิ (10 นาท)ี - นกั เรยี นได้ฝึก 5.1 ครใู หน้ กั เรยี นกลบั มาเข้าแถวตามกล่มุ ประมวลความคิด หลงั จากนัน้ ครูสรุปเน้ือหาและถามคําถาม เกย่ี วกับการเรียนพลศกึ ษาในคาบนี้ รวบยอดอกี คร้ัง หลงั จากเรยี น 5.1.1 “วนั น้ีนกั เรยี นได้เรยี นรแู้ ละฝึก ทักษะอะไรไปบ้าง” แนวคําตอบ : 1.) การรับและสง่ ลกู บอล ดว้ ย ขา้ งเท้าด้านใน (Inside Foot Passing and Receiving) 2.) การสง่ ลกู บอล 2 คน ด้วย หลงั เทา้ (Instep Passing) 3.) การรับหรอื หยุดลูกบอล (Receiving the ball) 5.1.2 “การสง่ ลูกบอลด้วยขา้ งเทา้ ดา้ น

สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ ในน้นั เทา้ ต้องสมั ผสั บริเวณสว่ นใดของลูก บอล” แนวคําตอบ : ตรงกลางดา้ นหลังของลกู บอล 5.1.3 “หากนกั เรยี นจะส่งลูกบอลให้ แรงข้ึน นกั เรียนจะมีเทคนคิ ในการส่งลกู บอล อย่างไรบา้ ง” แนวคาํ ตอบ : ขณะทเ่ี ท้าสมั ผสั บอล ใหเ้ กร็ง ข้อเท้าไว้ จะทาํ ให้บอลว่งิ ไปไดแ้ รงขึน้ 5.2 ครูใหน้ ักเรยี นไปล้างหนา้ ลา้ งมอื ด่ืม - นกั เรยี นรจู้ กั การ น้าํ และกลับมาเข้าแถว ดแู ลรกั ษาความ 5.3 ครูสํารวจอุปกรณ์และของใช้ส่วนตัว สะอาดอวยั วะตา่ งๆ ของนกั เรยี น ของรา่ งกายตนเอง 5.4 ครูให้นักเรียนบันทึกหัวข้อเรื่องที่เรียน หลังจากเลน่ กีฬา ในชั่วโมงนี้ลงในหนังสือเรียนหน้า 52 (อาจมี - นักเรยี นได้ฝกึ ความ การเปลีย่ นแปลง) รบั ผดิ ชอบในการ 5.5 ครปู ลอ่ ยเลกิ แถว ตรวจสอบและแกใ้ ข 5.6 ครพู านักเรยี นเดินแถวกลับหอ้ งเรียน ในเรื่องการนาํ ของใช้ มาโรงเรียน

7. สือ่ การสอน/แหลง่ การเรยี นรู้ - สอ่ื การสอน นกหวดี หนงั สอื เรยี นวิชาสุขศึกษา กรวย แผน่ ยางมารก์ เกอร์ Whistle Cones Markers และพลศึกษา ป..2 เลม่ 2 A Book กระดานไวท์บอร์ด ปากกาไวทบ์ อร์ด แปรงลบ โปสเตอร์ /POWERPOINT White board Whiteboard pen กระดานไวท์บอร์ด เรอื่ งทสี่ อนในชว่ั โมง Whiteboard eraser poster/Image media ลูกฟตุ บอล กรวยจราจร A Football Traffic cones แหลง่ การเรียนรู้ สุรเชษฐ์ วิศวธีรานนท.์ 2561. กีฬาฟตุ บอลและกจิ กรรมยดื หยุน่ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 เลม่ 2. พมิ พค์ รั้งที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: ไซเบอรพ์ ริน้ ท์กรปุ๊ จํากดั . ศัพท์ภาษาองั กฤษเกีย่ วกับฟตุ บอล. 2556. [ออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า: https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/61567/-laneng-lan- [1 เมษายน 2563]

8. คําศพั ท์ภาษาองั กฤษ ความหมาย หนงั สือเรยี น ลําดบั คําศพั ทภ์ าษาอังกฤษ กรวย 1 Book กรวยจราจร 2 Cone แผน่ ยางมาร์กเกอร์ 3 Traffic cones กระดานไวท์บอรด์ 4 Marker ปากกาไวทบ์ อร์ด 5 White board แปรงลบกระดานไวทบ์ อร์ด 6 Whiteboard pen โปสเตอร์ / POWERPOINTเรอื่ งทีส่ อนในช่ัวโมง 7 Whiteboard eraser การสง่ ลกู บอลด้วยขา้ งเทา้ ดา้ นใน 8 poster/Image media การส่งลกู บอลด้วยหลังเทา้ 9 Inside Foot Passing 10 Instep Foot Receiving การรบั ลกู บอลข้างเท้าดา้ นใน 11 Inside Foot Receiving 12 Receiving the ball การหยดุ ลูกบอล 9. การวัดและประเมินผล ลําดบั ท่ี เรอื่ ง เคร่อื งมือ แบบสังเกต 1 สงั เกตความสนใจและการมสี ่วนร่วมตลอดชน้ั เรยี น แบบตรวจสอบ 2 สาํ รวจเครอ่ื งแตง่ กายและบักทึกคะแนนความรับผิดชอบและ แบบสงั เกต คะแนนสขุ ปฏิบตั ิ 3 สงั เกตการตอบคําถามระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายประถม แบบประเมนิ ความสนใจ การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรม และผลสําเร็จของการฝึกทักษะและการนาํ ไปใช้ วันท่ี ............/........../.......... เวลา........................น. ภาค............. ปกี ารศึกษา.................. หน่วยการเรยี นร.ู้ ..................................... เร่ือง...................................................................ระดับชน้ั ........................... ระดบั 3 (ด)ี 2 (พอใช้) 1 (ปรับปรุง/เพม่ิ เติม) PQ นักเรยี น 80% ขนึ้ ไปเล้ยี งลกู บอล นักเรียน 60%-80% เลย้ี งลกู บอล นกั เรยี นนอ้ ยกวา่ 60% เลย้ี งลูก สมรรถภาพ จากเกมเป่ายิงฉบุ เลี้ยงลกู บอลได้ จากเกมเปา่ ยิงฉบุ เลี้ยงลกู บอลได้ บอลจากเกมเป่ายิงฉบุ เล้ียงลกู ทางกาย อย่างต่อเนอ่ื งโดยไม่เหน่อื ย อย่างตอ่ เนอ่ื งโดยไม่เหน่อื ย บอลไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองโดยไม่เหน่ือย นักเรียน 80% ข้ึนไปเข้าแถวอยา่ ง นกั เรยี น 60%-80% เข้าแถวอย่าง นกั เรยี นน้อยกวา่ 60% เข้าแถว MQ คุณธรรม เป็นระเบยี บ แตง่ กายเรยี บร้อย เปน็ ระเบยี บ แต่งกายเรยี บร้อย อย่างเป็นระเบียบ แตง่ กาย จรยิ ธรรม พดู จาสภุ าพ พดู จาสภุ าพ เรียบรอ้ ย พูดจาสภุ าพ AQ เจตคติ นักเรยี น 80% ข้ึนไปมีความ นักเรยี น 60%-80% มคี วาม นกั เรียนนอ้ ยกวา่ 60% มีความ สนกุ สนานจากการเรยี นและการ สนุกสนานจากการเรียนและการ สนกุ สนานจากการเรยี นและการ เลน่ เกม เลน่ เกม เลน่ เกม IQ ความรู้ นกั เรียน 80% ขน้ึ ไปสามารถ นักเรยี น 60%-80% สามารถ นักเรียนนอ้ ยกว่า 60% สามารถ ความเข้าใจ อธบิ ายทกั ษะการรับ-สง่ บอล ใน อธบิ ายทกั ษะการรับ-สง่ บอล ใน อธบิ ายทักษะการรับ-สง่ บอล ใน แบบตา่ งๆอย่างถกู ตอ้ ง แบบต่างๆอย่างถกู ต้อง แบบต่างๆอยา่ งถูกตอ้ ง SQ ทักษะ นกั เรยี น 80% ขน้ึ ไปสามารถ นกั เรยี น 60%-80% สามารถ นกั เรียนน้อยกวา่ 60% สามารถ ปฏิบัตทิ ักษะการรบั -สง่ บอล ใน ปฏบิ ตั ิทักษะการรับ-สง่ บอล ใน ปฏิบตั ทิ กั ษะการรับ-สง่ บอล ใน แบบตา่ งๆอยา่ งถกู ตอ้ ง แบบตา่ งๆอย่างถูกต้อง แบบต่างๆอยา่ งถกู ตอ้ ง ระดบั คณุ ภาพ ระดบั 3 หมายถงึ จํานวนนกั เรยี น 80% ข้ึนไป ระดบั 2 หมายถึง จาํ นวนนักเรยี น 60-80% ระดบั 1 หมายถงึ จํานวนนกั เรียนอ้ ยกวา่ 60% ลงช่ือ...........................................................ผู้ประเมิน

โรงเรียนสาธิตจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝา่ ยประถม บันทึกหลังสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/...... หนว่ ย กีฬาฟุตบอล (Football) ภาคเรียน ปลาย เรอ่ื ง ทกั ษะการรับและสง่ บอล 2 คน (Passing and Receiving) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาที) วนั ท.ี่ .........เดือน.................................................พ.ศ...................... เวลา....................น..-.......................น. 1. ผลการจัดการเรยี นรู้ ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... 2. ปญั หาและอปุ สรรค(ก่อนสอน-ระหวา่ งสอน-หลังสอน) ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... 3. แนวทางการแก้ไขเพือ่ ใช้ในการสอนคร้งั ต่อไป ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... ….................................................................................................................................................................................................................... .…………....................................................... (………………………………………………………..) ผ้สู อน

โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 หน่วย กฬี าฟตุ บอล (Football) ภาคเรียน ปลาย เรอ่ื ง ทกั ษะการโหมง่ บอล (Heading the ball) เวลาเรียน 1 คาบ (60 นาที) ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 3 การเคล่อื นไหว การออกกาํ ลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล พ 3.1: เขา้ ใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา พ 3.2: รักการออกกาํ ลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กฬี า ปฏิบตั เิ ปน็ ประจําอย่างสมา่ํ เสมอ มีวินยั เคารพสทิ ธิ กฎกติกา มีนา้ํ ใจ มีจติ วญิ ญาณในการแข่งขัน และชน่ื ชมในสุนทรภี าพของการกีฬา 2. ตวั ช้ีวดั พ 3.1 ป.2/1: ควบคมุ การเคล่อื นไหวร่างกาย ขณะอยูก่ ับท่ี เคล่อื นที่ และใชอ้ ุปกรณ์ประกอบ พ 3.1 ป.2/2: เลม่ เกมเบด็ เตลด็ และเข้าร่วมกจิ กรรมทางกายที่วธิ เี ลน่ อาศยั การเคล่อื นไหวเบอื้ งตน้ ท้ัง แบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อปุ กรณ์ประกอบ พ 3.2 ป.2/1: ออกกาํ ลังกาย และเลน่ เกม ได้ดว้ ยตนเองอยา่ งสนุกสนาน พ 3.2 ป.2/2: ปฏบิ ตั ิตามกฎ กตกิ าและข้อตกลงในการเล่นเกมเป็นกลมุ่ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 นักเรียนสามารถอธบิ ายทักษะการโหม่งบอลได้ถกู ต้อง (IQ) 3.2 นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ทิ ักษะการโหมง่ บอลได้อยา่ งถูกตอ้ ง (SQ) 3.3 นักเรียนมคี วามสนุกสนานจากการเรยี น การเลน่ เกม และการแขง่ ขนั (AQ) 3.4 นกั เรยี นมีพัฒนาการสมรรถภาพทางกายด้านความอดทนของระบบหวั ใจ ระบบไหลเวียนโลหิต และ ดา้ นควา่ มคล่องแคล่วว่องไวทด่ี โี ดยการเล่นเกมว่ิงไล่จับ (PQ) 3.5 นกั เรยี นสามารถเขา้ แถวอยา่ งเป็นระเบยี บ แตง่ กายเรียบรอ้ ย พูดจาสุภาพ (MQ)