คุณค่าด้านอารมณ์

�س��Ҵ�ҹ��ó��Ż�

��ó��Ż� �繤س���ѵԷ������ҹ��оѹ����� ����ŻТͧ������º���§��觾Ԩ�óҨҡ��觵�ҧ� ���仹��

1. ����������͹� ��ͺ��Ӥ����Դ㹡����.

2.�Թ��ҡ�� ������ҧ������Ẻ ���

      2.1  ����ǵ�����ʺ��ó��ԧ

      2.2�������������� ��

          -  ������ػ�� �繡�����ҧ�Ҿ������¡�����º��º

          -������ػ�ѡɳ� �繡�����º��º�¹��

          - �����͵Ծ��� �繡�á�����Թ��ԧ ���������繤س���  

              ��ҹ���������Ӥѭ

          - ������Ǿ��� �繡�á������§��ǹ���ǹ˹�� ����

             �������¤�ͺ�����ء��ǹ

          - ����ù����� ���Ҿ���������¡�������˹������

             ��᷹

          -�ؤ�Ҹ�ɰҹ ���Ҿ�������������觵�ҧ�������ҡѻ��

             �����ҡ������͹������

          -��Ծ��� �繡����ӷ���դ������µç�ѹ��������

            ��������ҧ���ͧ�ͧ

          - �ѷ���� ���Ҿ���������¹���§�����ҵ�    

วรรณศิลป์ มีความหมาย ตามพจนานุกรรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ว่า "ศิลปะในการแต่งหนังสือ,ศิลปะทางวรรณกรรม,วรรณกรรมที่ถึงขั้นวรรณคดี,หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี
จากความหมายนี้ การพิจารณาคุณค่าด้านวรรณศิลป์ต้องศึกษาตั้งแต่การเลือกชนิดคำประพันธ์ให้เหมาะสมกับประเภทของงานเขียน การรู้จักตกแต่งถ้อยคำให้ไพเราะสละสลวยอันเป็นลักษณะเฉพาะของภาษากวี และทำให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์ ภาษากวีเพื่อสร้างความงดงามไพเราะแก่บทร้อยแก้วหรือร้อยกรองนั้น มีหลักสำคัญที่เกี่ยวข้องกัน 3 ด้าน ดังนี้

การสรรคำ
การสรรคำ คือการเลือกใช้คำให้สื่อความคิด ความเข้าใจ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างงดงาม โดยคำนึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคำประพันธ์ การสรรคำทำได้ดังนี้
- การเลือกคำให้เหมาะแก่เนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง
- การใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย
- การเลือกใช้คำพ้องเสียง คำซ้ำ
- การเลือกใช้คำโดยคำนึงถึงเสียงสัมผัส
- การเลือกใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ
- การเลือกใช้คำไวพจน์ได้ถูกต้องตรงตามความหมาย

การเรียบเรียงคำ
การเรียบเรียงคำ คือการจัดวางคำที่เลือกสรรแล้วให้มาเรียงร้อยกันอย่างต่อเนื่องตามจังหวะ ตามโครงสร้างภาษา หรือตามฉันทลักษณ์ ซึ่งมีหลายวิธีเช่น
- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญจากน้อยไปมาก จนถึงสิ่งสำคัญสูงสุดอันเป็นจุดสุดขั้น
- จัดลำดับความคิดหรือถ้อยคำจากสิ่งสำคัญน้อยไปหามาก แล้วหักมุมความคิดผู้อ่าน
- จัดลำดับคำให้เป็นคำถามแต่ไม่ต้องการคำตอบหรือมีคำตอบอยู่ในตัวคำถามแล้ว
- เรียงถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านแปลความหมายไปในทางตรงข้ามเพื่อเจตนาเยาะเย้ย ถากถาง
- เรียงคำวลี ประโยค ที่มีความสำคัญเท่าๆกัน เคียงขนานกันไป

การใช้โวหาร
การใช้โวหาร คือการใช้ถ้อยคำเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพเรียกว่า "ภาพพจน์" ซึ่งมีหลายวิธีที่ควรรู้จัก ได้แก่
- อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งว่าเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยมีคำเปรียบปรากฏอยู่ด้วย คำเปรียบเทียบเหล่านี้ได้แก่ เหมือน เสมือน ดุจ เล่ห์ เฉก ดัง กล เพียง ราว ปูน
- อุปลักษณ์คือการเน้นความหมายว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งมาก จนเหมือนกับเป็นสิ่งเดียวกัน โดยมีคำเปรียบ เป็น คือ เท่า ปรากฏในข้อความ
- บุคคลวัต คือ การสมมุติสิ่งต่างๆให้มีกริยาอาการ ความรู้สึกเหมือนมนุษย์
- อธิพจน์ คือการกล่าวเกินจริง เพื่อเน้นข้อความนั้นให้มีน้ำหนักยิ่งขึ้น บางครั้งอาจใช้คำกล่าวน้อยกว่าจริงเรียกว่า อวพจน์

//darawadee34.blogspot.com/2012/08/blog-post.html

คุณค่าด้านนี้ คือ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ซึ่งได้กล่าวไว้บ้างแล้ว เช่น การใช้คำ การใช้โวหารภาพพจน์  เป็นต้น  สามัคคีเภทคำฉันท์สามารถสร้างอารมณ์ผู้อ่านให้เกิดความรู้สึกคล้อยตามเนื้อเรื่องได้อย่างดี เช่น 

๑.๑  ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์โปร่งปิติ คล้อยตามบทประณามพจน์ในตอนต้นเรื่อง เช่น 

                                ขอน้อมคุณพระคเณศวิเศษศิลปธร   

                เวทางคบวร                                                           กวี 

                                เป็นเจ้าแห่งวิทยาวราภรณศรี

                สุนทรสุวาที                                                          วิธาน

๑.๒  ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ชื่นชมยินดี

                                อำพนพระมนทิรพระราช                 สุนิวาสน์วโรฬาร์

                อัพภันตรไพจิตรและพา                                    หิรภาคก็พึงชม

                                เล่ห์เลื่อนชะลอดุสิตฐา                       นมหาพิมานรมย์

                มารังสฤษฎิ์พิศนิยม                                             ผิจะเทียบก็ทัน

๑.๓  สร้างอารมณ์ผู้อ่านให้เกิดอารมณ์หวาดกลัว ตื่นเต้น ตกใจ  เมื่ออ่านตอนพระเจ้าอชาตศัตรู

                  กริ้ววัสสการพราหมณ์ เช่น

                                ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง

                พระศัพทสีหนาทพึง                                          สยองภัย

                                เอออุเหม่ณมึงชิช่างกระไร

                ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน                                           ก็มาเป็น            

๑.๔  ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สงสารเห็นใจ  เมื่ออ่านตอนวัสสการพราหมณ์ถูกลงพระราชอาญา

                                บงเนื้อก็เนื้อเต้น                                  พิศเส้นสรีร์รัว

                ทั่วร่างและทั้งตัว                                                  ก็ระริกระริวไหว

                                แลหลังละลามโล                                 หิตโอ้เลอะหลั่งไป

                เพ่งผาดอนาถใจ                                                  ระกะร่อยเพราะรอยหวาย

๑.๕  ทำให้เกิดอารมณ์ฮึกเหิม กล้าหาญ เช่น ตอนแคว้นมคธจัดทัพ

                                                                                                จะดีจะงาม

                เพราะเข้าสนาม                                                   ประยุทธไกร

                เหมาะนามทหาร                                                 ละคร้านไฉน

                และสมกะใจ                                                        บุรุษมัญ

                                                                                                ก็โห่และฮึก

               ประหัฐคึก                                                             ประกวดประชัน

                ณ ท้องพระลาน                                                   ประมาณอนันต

                อเนกสรร                                                              พเตรียมคระไล

มีคุณค่าด้านใดบ้าง

คุณค่าทางอารมณ์ ... .
คุณค่าทางปัญญา ... .
คุณค่าทางศีลธรรม ... .
คุณค่าทางวัฒนธรรม ... .
คุณค่าทางประวัติศาสตร์ ... .
คุณค่าทางจิตนาการ ... .
คุณค่าทางทักษะเชิงวิจารณ์ ... .
คุณค่าทางการใช้ภาษา.

คุณค่าเชิงวรรณศิลป์มีกี่ข้ออะไรบ้าง

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ในวรรณคดีและวรรณกรรม “วรรณศิลป์” หมายถึง ลักษณะดีเด่นทางด้านวิธีแต่ง การเลือกใช้ถ้อยคำ สำนวน ลีลา ประโยค และความเรียงต่าง ๆ ที่ประณีต งดงาม หรือมีรสชาติเหมาะสมกับเนื้อเรื่องเป็นอย่างดี.
การใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย.
การเล่นเสียง.
การเล่นคำ.
การหลากคำ.
การใช้คำเชิงวาทศิลป์.

คุณค่าทางด้านวรรณศิลป์หมายถึงอะไร

1. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เป็นคุณค่าทางด้านศิลปะการแต่ง โวหารภาพพจน์ ความไพเราะ สละสลวยของภาษาที่ใช้ การใช้รูปแบบเหมาะสมกับเนื้อหา วิธีแต่งน่าสนใจ สื่ออารมณ์ดี และ สื่อความคิดที่สร้างสรรค์

คุณค่าวรรณกรรมขึ้นอยู่กับสิ่งใด

วรรณคดี คือวรรณกรรม หรือข้อเขียนที่ทรงคุณค่า เพราะสะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาที่ลึกซึ้งของผู้เขียน ทั้งทางด้านเนื้อหา และวิธีการประพันธ์ การอ่านวรรณกรรมแต่ละเรื่อง จึงทำให้ผู้อ่านได้ซึมซาบสิ่งเหล่านี้ไปด้วย ซึ่งแบ่งได้เป็น คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าทางเนื้อหา คุณค่าด้านสังคม และคุณค่าจากการนำไปปรับใช้ชีวิตประจำวัน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด