มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า วสท 2556 pdf

You're Reading a Free Preview
Pages 15 to 34 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 42 to 53 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 61 to 89 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Page 97 is not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 105 to 113 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 125 to 126 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 135 to 162 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 167 to 177 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Page 182 is not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 198 to 199 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 208 to 216 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 225 to 234 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 243 to 257 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 266 to 302 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 313 to 325 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 329 to 332 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 336 to 340 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 344 to 353 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 357 to 360 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 371 to 373 are not shown in this preview.

You're Reading a Free Preview
Pages 377 to 386 are not shown in this preview.

วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
THE ENGINEERING INSTITUTE OF THAILAND
UNDER H.M. THE KING’S PATRONAGE

มาตรฐาน
การตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย

พ.ศ. 2556

Thai Electrical Code
2013

คณะกรรมการวชิ าการสาขาวศิ วกรรมไฟฟ้ า
สนับสนุนโดย

การไฟฟ้ านครหลวง และ การไฟฟ้ าส่วนภมู ภิ าค

มาตรฐาน วสท. แก้ไขครัง้ ท่ี 4
EIT Standard พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1
2001-50 สิงหาคม 2550
ISBN 974-7197-30-8

ราคา xxx.-บาท

มาตรฐาน
การตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย

พ.ศ.2556

Thai Electrical Code
2013

คณะกรรมการวชิ าการสาขาวศิ วกรรมไฟฟ้ า

สนับสนุนโดย
การไฟฟ้ านครหลวง และ การไฟฟ้ าส่วนภมู ภิ าค

(สงวนลิขสทิ ธ์ิ) แก้ไขครัง้ ท่ี 4
พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1
มาตรฐาน วสท. มิถุนายน 2550
EIT Standard ISBN 974-7197-30-8
2001-50
ราคา xxx.-บาท

คาํ นํา-1

คาํ นํา

สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ได้นํากฎการ
เดนิ สายและตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ไฟฟ้ า พ.ศ. 2538 ของการไฟฟ้ านครหลวง (กฟน.) และแนวปฏิบตั ใิ น
การเดนิ สายและตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ไฟฟ้ า พ.ศ. 2537 ของการไฟฟ้ าสว่ นภมู ิภาค (กฟภ.) มาพิจารณา
เพ่ือรวมเป็ นมาตรฐานเดียวกนั โดยได้รับความเห็นชอบจากการไฟฟ้ านครหลวงและการไฟฟ้ า
ส่วนภูมิภาคแล้ว กฎและแนวทางปฏิบตั ิทงั้ สองมาตรฐานนีม้ ีทงั้ ส่วนที่เหมือนกันและแตกต่าง
ทงั้ นีอ้ าจเน่ืองมาจากเหตผุ ลหลายประการ คือ ความแตกต่างทางด้านระบบแรงดนั ไฟฟ้ า ด้าน
มาตรฐานอปุ กรณ์ไฟฟ้ า ด้านการออกแบบ ด้านระเบียบและแนวนโยบาย ด้านสภาพภมู ิศาสตร์
และความแตกตา่ งของผ้ใู ช้ไฟฟ้ า

มาตรฐานฉบับนีบ้ ังคับใช้เฉพาะผู้ใช้ไฟเท่านัน้ มิได้บังคบั ครอบคลมุ การออกแบบหรือ
ตดิ ตงั้ ของการไฟฟ้ าฯ มาตรฐานฉบบั นีเ้หมาะสําหรับผ้ทู ่ีได้รับการอบรม หรือผ้ทู ่ีมีความรู้ทางด้าน
การออกแบบหรือติดตงั้ ระบบไฟฟ้ าเป็ นอย่างดีเท่านัน้ ผู้ใช้มาตรฐานฯ ควรใช้อย่างระมดั ระวงั
และมีวิจารณญาณ กรณีที่ไม่มนั่ ใจควรขอคําปรึกษาจากผู้เช่ียวชาญในการตดั สินใจ วสท.ไม่
รับผิดชอบต่อทรัพย์สินส่วนบุคคลใดๆ รวมทัง้ การบาดเจ็บหรือความเสียหายอื่นๆ ท่ีเป็ นผล
สืบเน่ืองทงั้ โดยตรงหรือโดยอ้อมที่เกิดจากการเผยแพร่การใช้หรือการปฏิบัติตามมาตรฐานฯ
และไม่ได้รับประกนั ความถกู ต้องหรือความครบถ้วนสมบรู ณ์ของข้อมลู ใดๆ ในมาตรฐานฯ ฉบบั
นี ้

มาตรฐานการตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทยฉบบั นีไ้ ด้จดั ทําขนึ ้ เพื่อให้เป็ นมาตรฐาน
เดียวทัง้ ประเทศ เพื่อแก้ปัญหาในอดีตที่ผ่านมาที่วิศวกรออกแบบ รับเหมา ควบคุมงานใช้
มาตรฐานการออกแบบและติดตงั้ ต่างมาตรฐานกัน รวมทงั้ การอบรมการสอนทางด้านนีก้ ็ใช้
มาตรฐานตา่ งกนั ทําให้เกิดปัญหาทางด้านการทําความเข้าใจร่วมกนั และเกิดผลเสียกบั ประเทศ
มาก มาตรฐานการติดตงั้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทยฉบบั นีเ้ป็ นสมบตั ิร่วมกนั ที่วิศวกรในสาย
งานนีค้ วรได้มาช่วยกนั พฒั นาและใช้ร่วมกนั เพื่อให้เกิดความปลอดภยั กบั ผ้ใู ช้ไฟฟ้ า

สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ขอขอบคณุ การไฟฟ้ านครหลวง การไฟฟ้ าสว่ น
ภูมิภาค กรมโยธาธิการและผังเมือง สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาเคร่ืองกลและไฟฟ้ าไทย และ
สมาคมช่างเหมาไฟฟ้ าและเคร่ืองกลไทย ที่ได้ส่งผ้แู ทนเป็ นคณะอนกุ รรมการจดั ทํามาตรฐาน
หากมีข้อเสนอแนะประการใดเกี่ยวกบั มาตรฐานฉบบั นี ้โปรดแจ้งให้ วสท. ทราบ ด้วยเพื่อจะได้
แก้ไขปรับปรุงในโอกาสตอ่ ไป

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คาํ นํา-2

คาํ นําในการพมิ พ์ปรับปรุง พ.ศ.2556

มาตรฐานการติดตงั้ ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 ฉบบั ปรับปรุงครัง้ ท่ี 1
พ.ศ.2551 ได้ใช้งานมาแล้วระยะหนึ่งนนั้ ปัจจบุ นั เทคโนโลยีด้านวสั ดุ อุปกรณ์ และการติดตงั้
เปล่ียนแปลงไป โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิตสายไฟฟ้ าที่จัดทําโดยสํานักงานมาตรฐาน
ผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม มอก.11-2553 ประกอบกบั มีข้อบกพร่องบางประการที่ตรวจพบ ทําให้มี
ความจําเป็ นที่จะต้องมีการปรับปรุงมาตรฐานการตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าฯ นีข้ นึ ้

เน่ืองจากมาตรฐานฯ นีพ้ ิมพ์ขึน้ ครัง้ แรกเมื่อ พ.ศ. 2545 มีการปรับปรุงครัง้ ท่ี 1 เมื่อ
พ.ศ.2551 และปัจจบุ นั เป็ นฉบบั พ.ศ. 2556 จงึ อาจทําให้หลายหน่วยงานท่ีอ้างอิงมาตรฐานฯ นี ้
เกิดความสบั สนว่าการอ้างอิงท่ีระบุไว้แต่เดิมนนั้ ยงั คงสามารถใช้กับมาตรฐานฯฉบบั ใหม่นีไ้ ด้
หรือไม่ คณะอนกุ รรมการฯ จงึ มีความเห็นวา่ ในการอ้างอิงนนั้ ให้ยดึ ถือชื่อ “มาตรฐานการตดิ ตงั้
ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย” เป็ นหลกั โดยให้ถือวา่ พ.ศ. ที่ตอ่ ท้ายมาตรฐานฯ นนั้ เป็ นเพียง
สว่ นเสริมที่ใช้แสดงปี ท่ีจดั ทําเท่านนั้ ในการอ้างอิงให้ถือตามฉบบั ลา่ สดุ นอกจากจะระบไุ ว้เพ่ือ
จดุ ประสงค์ใดจดุ ประสงค์หนงึ่ โดยเฉพาะเทา่ นนั้

คณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตงั้ ทางไฟฟ้ าฯ นี ้ ประกอบด้วยผู้แทนจาก
หลายหน่วยงานเช่น การไฟฟ้ านครหลวง การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค กรมโยธาธิการและผงั เมือง
สมาคมช่างเหมาไฟฟ้ าและเคร่ืองกลไทย และสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาเครื่องกลและไฟฟ้ าไทย
คณาจารย์จากสถาบนั อดุ มศกึ ษา ผ้ผู ลติ และผ้เู ช่ียวชาญอิสระ เป็ นต้น ทงั้ นีเ้พื่อให้ครอบคลมุ ผู้
ท่ีเกี่ยวข้องอยา่ งครบถ้วน

สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงขอขอบคุณ
คณะอนกุ รรมการ คณะทํางานฯ และผ้สู นบั สนนุ ทกุ ทา่ น ท่ีได้เสียสละเวลามาช่วยงานจนสําเร็จ
ลลุ ่วงไปได้ และหากพบข้อผิดพลาดประการใด โปรดแจ้งให้ วสท. ทราบด้วยเพื่อจะได้แก้ไข
ปรับปรุง ตอ่ ไป

วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์
พ.ศ .2556

1

คณะกรรมการสาขาวศิ วกรรมไฟฟ้ า
ประจาํ ปี พ.ศ.2554-2556

1. นายอาทร สนิ สวสั ด์ิ ที่ปรึกษา
2. ดร.ประศาสน์ จนั ทราทิพย์ ท่ีปรึกษา
3. นายเกษม กหุ ลาบแก้ว ท่ีปรึกษา
4. ผศ.ประสทิ ธ์ิ พิทยพฒั น์ ที่ปรึกษา
5. นายโสภณ ศลิ าพนั ธ์ ที่ปรึกษา
6. นายภเู ธียร พงษ์พิทยาภา ท่ีปรึกษา
7. นายอทุ ศิ จนั ทร์เจนจบ ท่ีปรึกษา
8. นายสพุ ฒั น์ เพง็ มาก ที่ปรึกษา
9. นายประสทิ ธิ์ เหมวราพรชยั ท่ีปรึกษา
10. นายไชยวธุ ชีวะสทุ โธ ที่ปรึกษา
11. นายปราการ กาญจนวตี ที่ปรึกษา
12. นายพงษ์ศกั ด์ิ หาญบญุ ญานนท์ ที่ปรึกษา
13. รศ.ศลุ ี บรรจงจิตร ท่ีปรึกษา
14. รศ.ธนบรู ณ์ ศศภิ านเุ ดช ท่ีปรึกษา
15. นายเกียรติ อชั รพงศ์ ที่ปรึกษา
16. นายพิชญะ จนั ทรานวุ ฒั น์ ที่ปรึกษา
17. นายเชิดศกั ดิ์ วิทรู าภรณ์ ที่ปรึกษา
18. ดร.ธงชยั มีนวล ที่ปรึกษา
19. นายโสภณ สกิ ขโกศล ท่ีปรึกษา
20. นายทวีป อศั วแสงทอง ท่ีปรึกษา
21. นายชาญณรงค์ สอนดษิ ฐ์ ที่ปรึกษา
22. ดร.ธนะศกั ดิ์ ไชยเวช ท่ีปรึกษา
23. นายลอื ชยั ทองนิล ประธานฯ
24. นายสกุ ิจ เกียรตบิ ญุ ศรี รองประธานฯ
25. นายบญุ มาก สมิทธิลลี า รองประธานฯ
26. ผศ.ถาวร อมตกิตต์ิ กรรมการ

2

27. ดร.เจน ศรีวฒั นะธรรมา กรรมการ
28. นายสมศกั ด์ิ วฒั นศรีมงคล กรรมการ
29. นายพงศ์ศกั ดิ์ ธรรมบวร กรรมการ
30. นายกิตตพิ งษ์ วีระโพธิ์ประสทิ ธ์ิ กรรมการ
31. นายสธุ ี ปิ่ นไพสฐิ กรรมการ
32. ดร.ประดษิ ฐ์ เฟื่ องฟู กรรมการ
33. นายกิตตศิ กั ดิ์ วรรณแก้ว กรรมการ
34. นายสจุ ิ คอประเสริฐศกั ดิ์ กรรมการ
35. นายภาณวุ ฒั น์ วงศาโรจน์ กรรมการ
36. นายเตชทตั บรู ณะอศั วกลุ กรรมการและเลขานกุ าร
37. น.ส.นพดา ธีรอจั ฉริยกลุ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขาฯ

3

คณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐาน
การตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย พ.ศ. 2556

1. ผศ.ประสทิ ธิ์ พทิ ยพฒั น์ ที่ปรึกษา
2. นายโสภณ ศลิ าพนั ธ์ ท่ีปรึกษา
3. นายไชยวธุ ชีวะสทุ โธ ที่ปรึกษา
4. นายประสทิ ธิ์ เหมวราพรชยั ท่ีปรึกษา
5. นายสกุ ิจ เกียรติบญุ ศรี ที่ปรึกษา
6. นายเกียรติ อชั รพงศ์ ที่ปรึกษา
7. นายพิชญะ จนั ทรานวุ ฒั น์ ที่ปรึกษา
8. รศ.ธนบรู ณ์ ศศภิ านเุ ดช ที่ปรึกษา
9. นายภาณวุ ฒั น์ วงศาโรจน์ ท่ีปรึกษา
10. นายสมชาย หอมกลนิ่ แก้ว ที่ปรึกษา
11. นายคมสนั อนิ กนั ท่ีปรึกษา
12. นายสนั ติ นําสนิ วิเชษฐ์ชยั ที่ปรึกษา
13. นายลือชยั ทองนิล ประธานอนกุ รรมการ
14. นายพงศ์ศกั ด์ิ ธรรมบวร อนกุ รรมการ
15. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสทิ ธิ์ อนกุ รรมการ
16. นายพงศ์สนั ต์ิ จลุ วงศ์ อนกุ รรมการ
17. นายบญุ ถิ่น เอมยา่ นยาว อนกุ รรมการ
18. นายกิตติศกั ด์ิ วรรณแก้ว อนกุ รรมการ
19. นายดนตร์ บนุ นาค อนกุ รรมการ
20. นายสธุ ี ป่ิ นไพสฐิ อนกุ รรมการ
21. นายสมศกั ดิ์ วฒั นศรีมงคล อนกุ รรมการ
22. นายเตชทตั บรู ณะอศั วกลุ อนกุ รรมการ
23. นายกฤษฎา สทุ ธิประภา อนกุ รรมการ
24. น.ส.เทพกญั ญา ขตั แิ สง อนกุ รรมการ
25. น.ส.นพดา ธีรอจั ฉริยกลุ อนกุ รรมการ
26. นายศวิ เวทย์ อคั รพนั ธ์ุ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร
27. น.ส.ปรัทญา นาวิก ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร

4

คณะทาํ งานปรับปรุงมาตรฐานประจาํ บท

ท่ปี รึกษา

1. ผศ.ประสทิ ธิ์ พิทยพฒั น์

2. นายไชยวธุ ชีวะสทุ โธ

3. นายโสภณ ศิลาพนั ธ์

4. นายประสทิ ธิ์ เหมวราพรชยั

5. รศ.ศลุ ี บรรจงจิตร

คณะทาํ งานบทท่ี 1, 2 และ 3

1. นายกิตตพิ งษ์ วีระโพธิ์ประสทิ ธิ์ หวั หน้าคณะทํางาน
คณะทํางาน
2. นายสกุ ิจ เกียรติบญุ ศรี คณะทํางาน
คณะทํางาน
3. นายสธุ ี ป่ิ นไพสฐิ คณะทํางานและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
คณะทํางานและเลขานกุ าร
4. นายพงศ์สนั ต์ิ จลุ วงศ์
หวั หน้าคณะทํางาน
5. น.ส.เทพกญั ญา ขตั ิแสง คณะทํางาน
คณะทํางาน
6. นายศวิ เวทย์ อคั รพนั ธ์ุ คณะทํางาน
คณะทํางานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
คณะทาํ งานบทท่ี 4 เกียรติบญุ ศรี คณะทํางานและเลขานกุ าร
จลุ วงศ์
1. นายสกุ ิจ หอมกลนิ่ แก้ว หวั หน้าคณะทํางาน
2. นายพงศ์สนั ติ์ นําสนิ วเิ ชษฐ์ชยั คณะทํางาน
3. นายสมชาย ธีรอจั ฉริยกลุ คณะทํางาน
4. นายสนั ติ อคั รพนั ธ์ุ คณะทํางาน
5. น.ส.นพดา คณะทํางาน
6. นายศิวเวทย์ คณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทาํ งานบทท่ี 5 ทองนิล
วรรณแก้ว
1. นายลือชยั จลุ วงศ์
2. นายกิตติศกั ดิ์ อศั วชาญชยั กลุ
3. นายพงศ์สนั ติ์ อชั รพงศ์
วฒั นศรีมงคล
4. นายสนธยา บรู ณะอศั วกลุ

5. นายเกียรติ
6. นายสมศกั ด์ิ

7. นายเตชทตั

8. น.ส.นพดา ธีรอจั ฉริยกลุ 5
9. นายศวิ เวทย์ อคั รพนั ธ์ุ
คณะทํางานและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
คณะทาํ งานบทท่ี 6 วรรณแก้ว คณะทํางานและเลขานกุ าร
จลุ วงศ์
1. นายกิตติศกั ด์ิ บนุ นาค หวั หน้าคณะทํางาน
2. นายพงศ์สนั ติ์ บรู ณะอศั วกลุ คณะทํางาน
3. นายดนตร์ กศุ ลสง่ คณะทํางาน
4. นายเตชทตั ธีรอจั ฉริยกลุ คณะทํางาน
5. นายกศุ ล อคั รพนั ธ์ุ คณะทํางาน
6. น.ส.นพดา คณะทํางานและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
7. นายศิวเวทย์ คณะทํางานและเลขานกุ าร

คณะทาํ งานบทท่ี 7 ศศภิ านเุ ดช หวั หน้าคณะทํางาน
วีระโพธิ์ประสทิ ธิ์ คณะทํางาน
1. รศ.ธนบรู ณ์ ธรรมบวร คณะทํางาน
2. นายกิตติพงษ์ จลุ วงศ์ คณะทํางาน
3. นายพงศ์ศกั ดิ์ เอือ้ ธนาภา คณะทํางาน
4. นายพงศ์สนั ต์ิ อินกนั คณะทํางาน
5. นายปานโชค วฒั นศรีมงคล คณะทํางาน
6. นายคมสนั เอมยา่ นยาว คณะทํางานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
7. นายสมศกั ด์ิ อคั รพนั ธ์ุ คณะทํางานและเลขานกุ าร
8. นายบญุ ถ่ิน
9. นายศิวเวทย์ หวั หน้าคณะทํางาน
คณะทํางาน
คณะทาํ งานบทท่ี 8, และ 9 คณะทํางาน
คณะทํางาน
1. นายสธุ ี ป่ิ นไพสฐิ คณะทํางาน
คณะทํางาน
2. นายพงศ์สนั ติ์ จลุ วงศ์ คณะทํางาน

3. นายกิตติพงษ์ วีระโพธ์ิประสทิ ธิ์

4. นายสมศกั ดิ์ วฒั นศรีมงคล

5. นายพิชญะ จนั ทรานวุ ฒั น์

6. นายภาณวุ ฒั น์ วงศาโรจน์

7. นายเอกชยั ประสงค์

6

8. นายกฤษฎา สทุ ธิประภา คณะทํางานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
9. นายศิวเวทย์ อคั รพนั ธ์ุ คณะทํางานและเลขานกุ าร

คณะทาํ งานบทท่ี 10, และ 14 หวั หน้าคณะทํางาน
คณะทํางาน
1. นายบญุ ถิ่น เอมยา่ นยาว คณะทํางาน
คณะทํางาน
2. นายพงศ์ศกั ดิ์ ธรรมบวร คณะทํางานและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
คณะทํางานและเลขานกุ าร
3. นายกิตติศกั ด์ิ วรรณแก้ว
หวั หน้าคณะทํางาน
4. นายปรัชญา ไตรทพิ ย์ชวลิต คณะทํางาน
คณะทํางาน
5. นายกฤษฎา สทุ ธิประภา คณะทํางาน
คณะทํางาน
6. นายศิวเวทย์ อคั รพนั ธ์ุ คณะทํางานและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
คณะทํางานและเลขานกุ าร
คณะทาํ งานบทท่ี 11, 12 และ 13

1. นายพงศ์ศกั ดิ์ ธรรมบวร

2. นายบญุ ถิ่น เอมยา่ นยาว

3. นายเกียรติ อชั รพงศ์

4. นายปรัชญา ไตรทิพย์ชวลิต

5. นายกิตติศกั ด์ิ วรรณแก้ว

6. นายกฤษฎา สทุ ธิประภา

7. นายศวิ เวทย์ อคั รพนั ธ์ุ

7

คณะอนุกรรมการจัดทาํ มาตรฐาน
การตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย พ.ศ. 2545

1. รศ.ดร.ชํานาญ หอ่ เกียรติ ประธานอนกุ รรมการ
2. นายโสภณ ศิลาพนั ธ์ รองประธาน
3. นายภเู ธียร พงษ์พิทยาภา อนกุ รรมการ
4. นายไชยวธุ ชีวะสทุ โธ อนกุ รรมการ
5. นายสกุ ิจ เกียรติบญุ ศรี อนกุ รรมการ
6. นายเกียรติ อชั รพงศ์ อนกุ รรมการ
7. นายสมศกั ด์ิ นิตศิ ฤงคาริน อนกุ รรมการ
8. นายชยั วธั น์ ปัตตพงศ์ อนกุ รรมการ
9. นายวงศวฒั น์ พิลาสลกั ษณาการ อนกุ รรมการ
10. นายพงษ์ศกั ดิ์ หาญบญุ ญานนท์ อนกุ รรมการ
11. นายทวีโชค เพชรเกษม อนกุ รรมการ
12. นายประสทิ ธ์ิ เหมวราพรชยั อนกุ รรมการ
13. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสทิ ธิ์ อนกุ รรมการ
14. นายพงศ์สนั ต์ จลุ วงศ์ อนกุ รรมการ
15. นายสธุ ี ปิ่ นไพสฐิ อนกุ รรมการ
16. นายกวี จงคงคาวฒุ ิ อนกุ รรมการ
17. นายสมศกั ด์ิ วฒั นศรีมงคล อนกุ รรมการ
18. นายสทิ ธิโชค วชั รเสมากลุ อนกุ รรมการ
19. นายบญุ ถิ่น เอมยา่ นยาว อนกุ รรมการ
20. นายพงศ์ศกั ดิ์ ธรรมบวร อนกุ รรมการ
21. นายศวิ เวทย์ อคั รพนั ธ์ุ อนกุ รรมการ
22. นายกิตติศกั ด์ิ วรรณแก้ว อนกุ รรมการ
23. นายเสริมพงษ์ สมิ ะโชคดี อนกุ รรมการ
24. นายลือชยั ทองนิล อนกุ รรมการและเลขานกุ าร
25. น.ส.นพดา ธีรอจั ฉริยกลุ ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
26. น.ส.ธญั ญา พิณพาทย์ ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
27. น.ส.พทุ ธพร ศรียะพนั ธ์ ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร
28. น.ส.มาลี ดา่ นสริ ิสนั ติ เจ้าหน้าที่ประสานงานวิชาการ

8

คณะกรรรมการปรับปรุงมาตรฐาน
การตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ าสาํ หรับประเทศไทย พ.ศ. 2545

รายนามคณะท่ีปรึกษา

1. นายภเู ธียร พงษ์พทิ ยาภา ประธาน
ที่ปรึกษา
2. นายโสภณ ศิลาพนั ธ์ ท่ีปรึกษา
ที่ปรึกษา
3. นายสมศกั ดิ์ นิติศฤงคาริน ที่ปรึกษา

4. นายประสทิ ธ์ เหมวราพรชยั ประธาน
กรรมการ
5. นายสทุ ิน อญั ญมณี กรรมการ
กรรมการ
รายนามคณะกรรมการประจาํ มาตรฐาน กรรมการ
กรรมการ
1. รศ.ดร.ชํานาญ หอ่ เกียรติ กรรมการ
กรรมการ
2. นายไชยวธุ ชีวะสทุ โธ กรรมการ
กรรมการ
3. ผศ.ประสทิ ธ์ิ พิทยพฒั น์ กรรมการ
กรรมการ
4. นายลอื ชยั ทองนิล

5. นายสกุ ิจ เกียรตบิ ญุ ศรี

6. นายเกียรติ อชั รพงศ์

7. นายสมศกั ด์ิ วฒั นศรีมงคล

8. นายพงษ์ศกั ด์ิ หาญบญุ ญานนท์

9. นายบญุ มาก สมทิ ธิลีลา

10. นายวิวฒั น์ กลุ วงศ์วทิ ย์

11. นายมงคล วิสทุ ธิใจ

12. น.ส.เทพกญั ญา ขตั ิแสง

รายนามคณะกรรมการปรับปรุงมาตรฐาน 9

1. นายวิวฒั น์ กลุ วงศ์วิทย์ ประธาน
กรรมการ
2. ผศ.ประสทิ ธิ์ พทิ ยพฒั น์ กรรมการ
กรรมการ
3. นายชยั วธั น์ ปัตตพงศ์ กรรมการ
กรรมการ
4. นายวงศวฒั น์ พิลาสลกั ษณาการ กรรมการ
กรรมการ
5. นายทวีโชค เพชรเกษม กรรมการ
กรรมการ
6. นายกิตตพิ งษ์ วีระโพธิ์ประสทิ ธิ์ กรรมการ
กรรมการ
7. นายสธุ ี ป่ิ นไพสฐิ กรรมการ
กรรมการ
8. นายกวี จงคงคาวฒุ ิ กรรมการ
กรรมการ
9. นายสทิ ธิโชค วชั รเสมากลุ กรรมการ
กรรมการ
10. นายบญุ ถิ่น เอมยา่ นยาว กรรมการ
กรรมการและเลขานกุ าร
11. นายพงศ์ศกั ด์ิ ธรรมบวร ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
12. นายเสริมพงษ์ สมิ ะโชคดี เจ้าหน้าที่ประสานงานวชิ าการ
เจ้าหน้าที่ประสานงานวิชาการ
13. นายมานะ เกสรคปุ ต์

14. นายพงษ์สนั ต์ จลุ วงศ์

15. นายกศุ ล กศุ ลสง่

16. ดร.นาตยา คล้ายเรือง

17. นายกิตติศกั ดิ์ วรรณแก้ว

18. นายศิวเวทย์ อคั รพนั ธ์ุ

19. นายเตชทตั บรู ณะอศั วกลุ

20. น.ส.นพดา ธีรอจั ฉริยกลุ

21. น.ส.ธญั ญา พิณพาทย์

22. น.ส.พทุ ธพร ศรียะพนั ธ์

23. น.ส.มาลี ดา่ นสริ ิสนั ติ

24. น.ส.สโรชา มฌั ชิโม

1

สารบัญ

หน้า

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่วั ไป 1-1
บทท่ี 2
ตอน ก. นิยามท่ีใช้งานทวั่ ไป 1 -1

ตอน ข. นิยามท่ีใช้สาํ หรับการตดิ ตงั้ ระบบไฟฟ้ าแรงดนั ที่ระบเุ กิน 1,000

โวลต์ ขนึ ้ ไป 1-1

ตอน ค. ข้อกําหนดทวั่ ไปสําหรับการตดิ ตงั ้ ทางไฟฟ้ า 1–8

1.101 การตอ่ ทางไฟฟ้ า (Electrical Connection) 1 – 18

1.102 ท่ีวา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านสําหรับบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า 1 – 19

1.103 เคร่ืองหอ่ ห้มุ และการกนั ้ สว่ นท่ีมีไฟฟ้ า 1 – 23

1.104 สถานที่ซง่ึ บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าอาจได้รับความเสยี หายทางกายภาพได้ 1 – 25

1.105 เครื่องหมายเตือนภยั 1 – 25

1.106 สว่ นท่ีมีประกายไฟ 1 – 25

1.107 การทําเคร่ืองหมายระบเุ ครื่องปลดวงจร 1 – 25

ตอน ง. ระยะหา่ งทางไฟฟ้ า (Electrical Clearance) ในการตดิ ตงั ้

สายไฟฟ้ า 1 – 25

1.108 การวดั ระยะหา่ งทางไฟฟ้ า 1 – 26

1.109 ระยะหา่ งทางไฟฟ้ า 1 – 26

มาตรฐานสายไฟฟ้ าและบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า 2-1

2.1 มาตรฐานสายไฟฟ้ า 2–1

2.2 มาตรฐานตวั นําไฟฟ้ า 2–1

2.3 มาตรฐานเครื่องป้ องกนั กระแสเกิน และสวติ ช์ตดั ตอน 2–1

2.4 มาตรฐานหลกั ดนิ และสง่ิ ท่ีใช้แทนหลกั ดนิ 2–3

2.5 มาตรฐานชอ่ งเดนิ สาย และรางเคเบลิ 2–4

2.6 มาตรฐานหม้อแปลง 2-5

2.7 มาตรฐานบริภณั ฑ์และเครื่องประกอบอ่ืนๆ 2–5

2.8 มาตรฐานระดบั การป้ องกนั สง่ิ หอ่ ห้มุ เครื่องอปุ กรณ์ 2–5

2.9 มาตรฐานเต้ารับ-เต้าเสยี บ 2–6

2

หน้า

2.10 มาตรฐานแผงสวติ ช์สาํ หรับระบบแรงตาํ่ 2–6

2.11 โคมไฟฟ้ าแสงสวา่ งฉกุ เฉิน 2–6

2.12 โคมไฟฟ้ าป้ ายทางออกฉกุ เฉิน 2–6

บทท่ี 3 ตวั นําประธาน สายป้ อน วงจรย่อย 3–1
บทท่ี 4
3.1 วงจรยอ่ ย 3–1

3.2 สายป้ อน 3–4

3.3 การป้ องกนั กระแสเกินสาํ หรับวงจรยอ่ ยและสายป้ อน 3–7

3.4 ตวั นําประธาน (Service Conductor) 3–8

ตอน ก. สําหรับระบบแรงตาํ่ 3–9

ตอน ข. สาํ หรับระบบแรงสงู 3 – 10

3.5 บริภณั ฑ์ประธานหรือเมนสวิตช์ (Service Equipment) 3 – 10

ตอน ก. สาํ หรับระบบแรงตา่ํ 3 – 10

ตอน ข. สําหรับระบบแรงสงู 3 – 13

การต่อลงดนิ 4–1

4.1 วงจรและระบบไฟฟ้ ากระแสสลบั ที่ต้องตอ่ ลงดนิ 4–1

4.2 วงจรและระบบไฟฟ้ าที่ห้ามตอ่ ลงดนิ 4–1

4.3 การตอ่ ลงดนิ ของระบบประธาน 4–2

4.4 การตอ่ ลงดนิ ของวงจรท่ีมีบริภณั ฑ์ประธานชดุ เดยี วจา่ ยไฟให้

อาคาร 2 หลงั หรือมากกวา่ 4–2

4.5 ตวั นําที่ต้องมีการตอ่ ลงดนิ ของระบบไฟฟ้ ากระแสสลบั 4–3

4.6 การตอ่ ลงดนิ สาํ หรับระบบไฟฟ้ ากระแสสลบั ท่ีมีตวั จา่ ยแยกตา่ งหาก 4 – 3

4.7 การตอ่ ลงดนิ ของเครื่องหอ่ ห้มุ และ/หรือชอ่ งเดนิ สายท่ีเป็ นโลหะ

ของตวั นําประธานและของบริภณั ฑ์ประธาน 4–3

4.8 การตอ่ ลงดนิ ของเคร่ืองหอ่ ห้มุ และ/หรือชอ่ งเดนิ สายท่ีเป็ นโลหะ

ของสายตวั นํา 4–3

4.9 การตอ่ ลงดนิ ของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าชนิดยดึ ตดิ กบั ที่ หรือชนิดท่มี ีการ

เดนิ สายถาวร 4–4

3

หน้า

4.10 การตอ่ ลงดนิ ของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าชนิดยดึ ตดิ กบั ท่ีทกุ ขนาดแรงดนั 4 – 4

4.11 การตอ่ ลงดนิ ของบริภณั ฑ์ซง่ึ ไมไ่ ด้รับกระแสไฟฟ้ าโดยตรง 4–5

4.12 การตอ่ ลงดนิ ของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าท่ีมีสายพร้อมเต้าเสยี บ 4–5

4.13 ระยะหา่ งจากตวั นําระบบลอ่ ฟ้ า 4–6

4.14 วธิ ีตอ่ ลงดนิ 4–6

4. 15 การตอ่ ฝาก 4–8

4.16 ชนิดของสายตอ่ หลกั ดนิ 4 – 10

4.17 ชนิดของสายดนิ ของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า 4 – 11

4.18 วิธีการตดิ ตงั ้ สายดนิ 4 – 11

4.19 ขนาดสายตอ่ หลกั ดนิ ของระบบไฟฟ้ ากระแสสลบั 4 – 11

4.20 ขนาดสายดนิ ของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า 4 – 11

4.21 จดุ ตอ่ ของสายตอ่ หลกั ดนิ (เข้ากบั หลกั ดนิ ) 4 – 12

4.22 การตอ่ สายดนิ เข้ากบั สายหรือบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า 4 – 12

4.23 การตอ่ สายดนิ เข้ากบั กลอ่ ง 4 – 13

4.24 วิธีการตอ่ สายตอ่ หลกั ดนิ (เข้ากบั หลกั ดนิ ) 4 – 14

4.25 การป้ องกนั การยดึ ตดิ (สายตอ่ หลกั ดนิ และสายดนิ ) 4 – 14

4.26 ความสะอาดของผวิ ของสงิ่ ท่ีจะตอ่ ลงดนิ 4 – 14

4.27 ความต้านทานระหวา่ งหลกั ดินกบั ดนิ (Resistance to Ground) 4 – 14

4.28 การตอ่ ลงดนิ ของเคร่ืองมือวดั มิเตอร์ และรีเลย์ 4 – 14

บทท่ี 5 ข้อกาํ หนดการเดนิ สายและวสั ดุ 5–1

5.1 ข้อกําหนดการเดนิ สายสาํ หรับระบบแรงต่าํ 5–1

5.2 ข้อกําหนดการเดนิ สายสําหรับระบบแรงสงู 5–6

5.3 การเดนิ สายเปิ ดหรือเดนิ ลอย (Open Wiring) บนวสั ดฉุ นวน 5 – 7

5.4 การเดนิ สายในทอ่ โลหะหนา (Rigid Metal Conduit) ทอ่ โลหะ

หนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit) และทอ่ โลหะ

บาง (Electrical Metallic Tubing) 5–9

5.5 การเดนิ สายในทอ่ โลหะออ่ น (Flexible Metal Conduit) 5 – 10

4

หน้า

5.6 การเดนิ สายในทอ่ โลหะอ่อนกนั ของเหลว (Liquidtight Flexible

Metal Conduit) 5 – 11

5.7 การเดนิ สายในทอ่ อโลหะออ่ น (Electrical Nonmetallic Tubing) 5 – 12

5.8 การเดนิ สายในทอ่ อโลหะแข็ง (Rigid Nonmetallic Conduit) 5 – 13

5.9 การเดนิ สายในทอ่ อโลหะออ่ นกนั ของเหลว (Liquidtight

Flexible Nonmetallic Conduit) 5 – 14

5.10 การเดนิ สายในชอ่ งเดนิ สายโลหะบนพืน้ ผวิ (Surface Metal

Raceway) 5 – 15

5.11 การเดนิ สายในชอ่ งเดนิ สายอโลหะบนพืน้ ผิว (Surface

Nonmetallic Raceway) 5 – 16

5.12 การเดนิ สายในรางเดนิ สาย (Wireways) 5 – 17

5.13 การตดิ ตงั ้ บสั เวย์ (Busways) หรือบสั ดกั (Bus Duct) 5 – 18

5.14 การเดนิ สายบนผิวหรือเดนิ สายเกาะผนงั (Surface Wiring) 5 – 19

5.15 การเดนิ สายในรางเคเบลิ (Cable Trays) 5 – 20

5.16 กลอ่ งสําหรับงานไฟฟ้ า (Box) 5 – 22

5.17 ข้อกําหนดสําหรับแผงสวติ ช์ (Switchboard) และแผงยอ่ ย

(Panelboard) 5 – 22

ข้อ 5.18-5.24 ว่าง

5.25 สายไฟฟ้ า 5 – 28

5.26 สายเคเบลิ ชนิดเอ็มไอ (Mineral Insulated Cable) 5 – 32

บทท่ี 6 บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า 6-1

6.1 โคมไฟฟ้ าและเครื่องประกอบการตดิ ตงั ้ 6–1

6.2 สวติ ช์ เต้ารับ (Receptacle) และเต้าเสียบ (Plug) 6–2

6.3 มอเตอร์ วงจรมอเตอร์ และเครื่องควบคมุ 6–3

ตอน ก. ทว่ั ไป 6–3

ตอน ข. สายสาํ หรับวงจรมอเตอร์ 6–4

ตอน ค. การป้ องกนั การใช้งานเกินกําลงั ของมอเตอร์และวงจรยอ่ ย 6 – 6

5

บทท่ี 7 ตอน ง. การป้ องกนั กระแสลดั วงจรระหวา่ งสายและป้ องกนั หน้า
การรั่วลงดนิ ของวงจรยอ่ ยมอเตอร์
6 – 10
ตอน จ. การป้ องกนั กระแสลดั วงจรและป้ องกนั การรั่วลงดนิ
ของสายป้ อนในวงจรมอเตอร์ 6 – 15
6 – 15
ตอน ฉ. วงจรควบคมุ มอเตอร์ 6 – 16
ตอน ช. เคร่ืองควบคมุ มอเตอร์ 6 – 17
ตอน ซ. เคร่ืองปลดวงจร 6 – 19
ตอน ฌ.มอเตอร์สําหรับระบบแรงสงู 6 – 21
ตอน ญ.การป้ องกนั สว่ นท่ีมีไฟฟ้ า 6 – 21
ตอน ฎ. การตอ่ ลงดนิ 6 – 22
6.4 หม้อแปลง ห้องหม้อแปลง และลานหม้อแปลง 6 – 22
ตอน ก. ทวั่ ไป 6 – 24
ตอน ข. ข้อกําหนดจําเพาะสาํ หรับหม้อแปลงชนิดตา่ งๆ 6 – 26
ตอน ค. ห้องหม้อแปลง 6 – 29
ตอน ง. ลานหม้อแปลงอยภู่ ายนอกอาคาร (Outdoor Yard) 6 30
6.5 คาปาซเิ ตอร์ 6 – 30
ตอน ก. คาปาซเิ ตอร์แรงดนั ไม่เกิน 1,000 โวลต์ 6 – 32
ตอน ข. คาปาซเิ ตอร์แรงดนั เกิน 1,000 โวลต์
7–1
บริเวณอนั ตราย
7–1
7.1 ทว่ั ไป 7–2
7.2 บริเวณอนั ตรายประเภทท่ี 1, ประเภทที่ 2 และ ประเภทท่ี 3 7 – 10
7.3 บริเวณอนั ตรายประเภทที่ 1 7 – 25
7.4 บริเวณอนั ตรายประเภทที่ 2 7 – 35
7.5 บริเวณอนั ตรายประเภทท่ี 3 7 – 40
7.6 ระบบที่ปลอดภยั อยา่ งแท้จริง 7 – 45
7.7 บริเวณอนั ตราย โซน 0, โซน 1 และ โซน 2 ,มาตรฐานท่ี 2 (IEC)

6 หน้า

บทท่ี 8 สถานท่เี ฉพาะ 8-1

8.1 โรงมหรสพ 8–1
8.2 ป้ ายโฆษณา 8–4
8.3 สถานบริการ 8–5
8.4 โรงแรม 8–9

บทท่ี 9 อาคารชุด อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ 9–1

9.1 อาคารชดุ 9–1
9.2 อาคารสงู หรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ 9 – 11

บทท่ี 10 บริภณั ฑ์เฉพาะงาน 10 – 1

10.1 เครื่องเช่ือมไฟฟ้ า 10 – 1
10.2 สระนํา้ อา่ งนํา้ พุ และการตดิ ตงั ้ อื่นท่ีคล้ายกนั 10 – 4
10 – 4
ตอน ก.ทว่ั ไป 10 – 8
ตอน ข.สระชนิดตดิ ตงั้ ถาวร 10 – 15
ตอน ค.อา่ งนํา้ พุ 10 – 18
10.3 ลฟิ ต์ ต้สู ง่ ของ บนั ไดเล่อื นและทางเดนิ เล่อื น 10 – 18
ตอน ก. ทว่ั ไป 10 – 19
ตอน ข. ตวั นํา 10 - 21
ตอน ค. การเดนิ สาย 10 – 22
ตอน ง. การตดิ ตงั้ ตวั นํา 10 – 24
ตอน จ. เคเบลิ เคล่อื นที่ 10 – 25
ตอน ฉ. เคร่ืองปลดวงจรและการควบคมุ 10 – 26
ตอน ช. การป้ องกนั กระแสเกิน 10 – 27
ตอน ซ. ห้องเครื่อง 10 – 28
ตอน ฌ. การตอ่ ลงดนิ 10 – 28
ตอน ญ. การป้ องกนั ความเร็วเกิน
11 – 1
บทท่ี 11 มาตรฐานการทนไฟของสายไฟฟ้ า 11 – 1

11.1 ทวั่ ไป

7

หน้า

11.2 มาตรฐานท่ีกําหนดใช้ 11 – 1

11.3 การทนไฟของสายไฟฟ้ า 11 – 2

11.4 การรับรองบริภณั ฑ์ 11 – 4

บทท่ี 12 วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต 12 – 1

12.1 ทว่ั ไป 12 – 1

12.2 ขอบเขต 12 – 1

12.3 การจ่ายไฟฟ้ าฉกุ เฉินสําหรับวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ 12 – 2

12.4 เมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ งๆ 12 – 3

12.5 ระบบการเดนิ สายไฟฟ้ า 12 – 4

12.6 การแยกระบบการเดนิ สาย 12 – 5

12.7 ข้อกําหนดเฉพาะมอเตอร์สบู นํา้ ดบั เพลงิ 12 – 5

12.8 ข้อกําหนดการทนไฟของระบบวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ ตา่ งๆ 12 – 6

12.9 การรับรองความพร้อมสมบรู ณ์ของระบบวงจรไฟฟ้ าชว่ ยชีวติ 12 – 7

บทท่ี 13 อาคารเพ่อื การสาธารณะใต้ผิวดนิ (Sub-Surface Building) 13 – 1

13.1 ทวั่ ไป 13 – 1

13.2 ขอบเขต 13 – 1

13.3 ระบบการเดนิ สายไฟฟ้ า 13 – 2

13.4 การแยกระบบการเดนิ สาย 13 – 3

13.5 เมนสวิตช์และสวิตช์ตา่ งๆ 13 – 3

13.6 การจ่ายไฟฟ้ าฉกุ เฉินสําหรับระบบที่ต้องการความปลอดภยั สงู มาก 13 – 4

13.7 อปุ กรณ์ป้ องกนั 13 – 4

13.8 การตอ่ ลงดนิ 13 – 4

13.9 ทอ่ ระบายอากาศ 13 – 5

บทท่ี 14 การตดิ ตงั้ ไฟฟ้ าช่วั คราว 14 – 1

14.1 ขอบเขต 14 – 1

14.2 ข้อกําหนดการเดนิ สายชว่ั คราว 14 – 1

14.3 เงื่อนเวลาการกําหนดระบบไฟฟ้ าชว่ั คราว 14 – 1

8

14.4 ทว่ั ไป หน้า

14.5 การตอ่ ลงดนิ 14 – 1
14 – 3
14.6 การป้ องกนั กระแสร่ัวลงดนิ สาํ หรับบคุ คล 14 – 3
14 – 4
14.7 การกนั ้ ก–1
ข–1
ภาคผนวก ก. คาํ ศัพท์อังกฤษ-ไทย ค–1
ภาคผนวก ข. คาํ ศัพท์ไทย-อังกฤษ ง–1
ภาคผนวก ค. ระยะในการตดิ ตงั้ ระบบไฟฟ้ ากบั ระบบอ่ืน ๆ จ–1
ภาคผนวก ง. เซอร์กติ เบรกเกอร์ตามมาตรฐาน IEC 60898 หรือ IEC 898 ฉ–1
ภาคผนวก จ. เซอร์กติ เบรกเกอร์ตามมาตรฐาน IEC 60947-2 หรือ IEC 947-2 ช–1
ภาคผนวก ฉ. มาตรฐานผลิตภณั ฑ์แนะนํา
ภาคผนวก ช. ประเภทของเคร่ืองใช้ไฟฟ้ าท่เี ก่ียวกับการป้ องกนั ไฟดดู (IEC ซ–1

60536) ฌ–1
ภาคผนวก ซ. ตารางเปรียบเทยี บระหว่าง NEMA Enclosure และ IP Class
ญ–1
Protection (IEC Standard) ฎ-1
ภาคผนวก ฌ. ดมี านด์แฟกเตอร์สาํ หรับเคร่ืองปรับอากาศแบบส่วนกลาง ฏ–1
ฐ–1
(Central) และโหลดของเคร่ืองปรับอากาศแต่ละชนิด
ภาคผนวก ญ. วธิ ีการหาขนาดสายดนิ ของวงจรย่อย
ภาคผนวก ฎ. จาํ นวนสูงสุดของสายไฟฟ้ าขนาดเดียวกันในท่อร้อยสาย
ภาคผนวก ฏ. Utilization Categories for Contactors and Motor-starters
ภาคผนวก ฐ. แรงดนั ตก

9

ตารางท่ี 1-1 ตาราง หน้า

ตารางที่ 1-2 ความลกึ (Depth) ตํ่าสดุ ของที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านกบั บริภณั ฑ์ 1 – 20
ไฟฟ้ า ระบบแรงต่าํ
ตารางที่ 1-3 ความลกึ (Depth) ตา่ํ สดุ ของท่ีวา่ งเพ่ือปฏบิ ตั งิ านกบั บริภณั ฑ์ 1 – 22
ตารางท่ี 1-4 ไฟฟ้ า ระบบแรงสงู 1 – 23
ระดบั ความสงู ของสว่ นที่มีไฟฟ้ าและไมม่ ีที่กนั้
ตารางที่ 1-5 ระยะหา่ งตํ่าสดุ ตามแนวนอนระหวา่ งสายไฟฟ้ ากบั สงิ่ ก่อสร้าง เมื่อ 1 – 28
สายไฟฟ้ าไมไ่ ด้ยดึ ตดิ กบั สงิ่ ก่อสร้าง (เมตร) (Minimum
ตารางที่ 2-1 Horizontal Clearance) 1 – 29
ตารางท่ี 3-1 ระยะหา่ งตํ่าสดุ ตามแนวดง่ิ ระหวา่ งสายไฟฟ้ ากบั พืน้ แหลง่ นํา้ 2–6
ตารางท่ี 3-2 อาคารหรือสง่ิ ก่อสร้างอ่ืนๆ (เมตร) (Minimum Vertical 3–5
ตารางท่ี 3-3 Clearance) 3–5
ตารางที่ 3-4 ความหมายตวั เลขกํากบั ระดบั ชนั้ การป้ องกนั หลงั สญั ลกั ษณ์ IP 3–6
ดมี านด์แฟกเตอร์สําหรับโหลดแสงสวา่ ง
ตารางที่ 3-5 ดีมานด์แฟกเตอร์สําหรับโหลดเต้ารับในสถานท่ีไม่ใช่ที่อยอู่ าศยั 3 – 12
ดมี านด์แฟกเตอร์สาํ หรับเครื่องใช้ไฟฟ้ าทวั่ ไป
ตารางที่ 4-1 พิกดั สงู สดุ ของเคร่ืองป้ องกนั กระแสเกินและโหลดสงู สดุ ตามขนาด 3 – 12
ตารางท่ี 4-2 เครื่องวดั หน่วยไฟฟ้ า (สําหรับการไฟฟ้ านครหลวง) 4 – 12
ตารางท่ี 5-1 ขนาดสายไฟฟ้ า เซฟตีสวิตช์ คตั เอาต์ และคาร์ทริดจ์ฟิวส์สําหรับ 4 – 13
ตารางท่ี 5-2 ตวั นําประธาน (สําหรับการไฟฟ้ าสว่ นภมู ิภาค) 5–3
ตารางที่ 5-3 ขนาดตํา่ สดุ ของสายตอ่ หลกั ดินของระบบไฟฟ้ ากระแสสลบั 5–4
ขนาดตํ่าสดุ ของสายดนิ ของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
ตารางท่ี 5-4 ความลกึ ในการตดิ ตงั้ ใต้ดนิ สําหรับระบบแรงต่ํา 5–5
ระยะหา่ งสาํ หรับการจบั ยดึ สายไฟในแนวดง่ิ 5–8
พืน้ ท่ีหน้าตดั สงู สดุ รวมของสายไฟทกุ เส้นคดิ เป็ นร้อยละเทียบกบั
พืน้ ที่หน้าตดั ของทอ่
การเดนิ สายเปิ ดบนวสั ดฉุ นวนภายในอาคาร

10

ตารางท่ี 5-5 การเดนิ สายเปิ ดบนลกู ถ้วยภายนอกอาคาร หน้า
ตารางที่ 5-6 ความหนาต่าํ สดุ ของชอ่ งเดนิ สายโลหะบนพืน้ ผวิ (Surface Metal
ตารางที่ 5-7 Raceway) 5–8
ตารางท่ี 5-8 ระยะหา่ งต่าํ สดุ ระหวา่ งที่มีไฟฟ้ าเปลือยกบั สว่ นทีมีไฟฟ้ าเปลือย 5 – 16
ตารางที่ 5-9 และระหวา่ งสว่ นท่ีมีไฟฟ้ าเปลอื ยกบั ดนิ (มม.) 5 – 26
ตารางท่ี 5-20 ตวั คณู ปรับคา่ ขนาดกระแสเน่ืองจากจํานวนสายท่ีนํากระแสในช่อง 5 – 29
เดนิ สายไฟฟ้ าเดียวกนั มากกวา่ 1 กลมุ่ วงจร 5 – 33
ตารางท่ี 5-21 ระยะจบั ยดึ /รองรับ ของการตดิ ตงั้ เอ็มไอเคเบิล
ตารางท่ี 5-10 – 5.19 ว่าง 5 – 35
ตารางที่ 5-22 5 – 36
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มี/ไม่มีเปลือก
ตารางที่ 5-23 นอก สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิ 5 – 38
ตวั นํา 70 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดนิ ในช่องเดนิ สายในอากาศ
ตารางที่ 5-24 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดง ห้มุ ฉนวน มีเปลือกนอก 5 – 39
สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไมเ่ กิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา
70 ºC หรือ 90 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดนิ เกาะผนงั ในอากาศ 5 – 40
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงแกนเดียวห้มุ ฉนวนพีวีซี
มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 450/750 โวลต์
อณุ หภมู ิตวั นํา 70 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดินบนฉนวนลกู
ถ้วยในอากาศ
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวนพีวีซี มีเปลือก
นอก สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิ
ตวั นํา 70 ºC อุณหภูมิโดยรอบ 30 ºC ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดิน
โดยตรง
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม
มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 300/500 โวลต์
อณุ หภมู ิตวั นํา 70 ºC หรือ 90 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดินใน
อากาศ

11

ตารางท่ี 5-25 ขนาดกระแสของสายอ่อน (flexible cord) ตวั นําทองแดงหลาย หน้า
ตารางท่ี 5-26 แกนหุ้มฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดนั
ตารางท่ี 5-27 (U0/U) ไม่เกิน 300/500 โวลต์ อุณหภูมิตวั นํา 70 ºC หรือ 90 ºC 5 – 41
ตารางท่ี 5-28 อณุ หภมู ิ โดยรอบ 40 ºC เดนิ ในอากาศ 5 – 42
ตารางที่ 5-29 5 – 43
ตารางที่ 5-30 ขนาดกระแสของสายเคเบลิ ออ่ น (flexible cord) ตวั นําทองแดงห้มุ 5 – 44
ตารางที่ 5-31 ฉนวนพีวีซี ตาม มอก.11-2553 สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่ 5 – 45
เกิน 450/750 โวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 70 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC 5- 46
เดนิ ในอากาศ 5 – 47

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวนครอสลงิ กด์พอ
ลเิ อทิลีน มีเปลือกนอกสําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1
กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 90 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดนิ ร้อย
ในทอ่ ในอากาศ

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าแกนเดียวตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวน ครอส
ลงิ กด์พอลเิ อทลิ ีน สาํ หรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไมเ่ กิน 0.6/1 กิโล
โวลต์ อณุ หภมู ติ วั นํา 90 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดนิ บนฉนวน
ลกู ถ้วยในอากาศ

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวนครอสลงิ กด์พอลเิ อทิลีน
มีเปลือกนอกขนาดแรงดนั (U0/U)ไม่เกิน0.6/1กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา
90ºCอณุ หภมู ิโดยรอบ30ºCร้อยทอ่ ฝังดนิ หรือฝังดนิ โดยตรง

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวนพีวีซี มีเปลือก
นอก สาํ หรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิ
ตวั นํา 70 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบิลแบบระบาย
อากาศไมม่ ีฝาปิ ด หรือรางเคเบิลแบบบนั ได

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนําทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซี มีเปลือกนอก
สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 70ºC
อณุ หภมู ิโดยรอบ40ºCวางบนรางเคเบิลชนิดด้านลา่ งทบึ มี/ไมม่ ี ฝาปิ ด

12

ตารางท่ี 5-32 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวนครอสลงิ กด์พอ หน้า
ตารางที่ 5-33 ลเิ อทลิ ีน มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไมเ่ กิน 0.6/1
ตารางท่ี 5-34 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 90 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC วางบน 5 – 49
ตารางท่ี 5-35 รางเคเบิลแบบระบายอากาศ ไมม่ ีฝาปิ ด หรือรางเคเบิลแบบบนั ได 5 – 50
ตารางที่ 5-36 5 – 52
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดงห้มุ ฉนวนครอสลงิ กด์พอ 5 – 53
ตารางที่ 5-37 ลเิ อทิลีน มีเปลอื กนอก สําหรับขนาดแรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1
กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 90 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC วางบน 5 – 54
รางเคเบลิ ชนิดด้านลา่ งทบึ มี/ไมม่ ี ฝาปิ ด
5 – 55
ขนาดกระแสของสายเคเบลิ ชนดิ เอ็มไอ ตวั นําและเปลอื ก (Sheath)
ทองแดง ห้มุ /ไมห่ ้มุ พีวีซี โดยเปลอื กทองแดงสามารถสมั ผสั ได้
อณุ หภมู ิเปลอื ก 70 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC

ขนาดกระแสของสายเคเบลิ ชนิดเอ็มไอ ตวั นําและเปลอื ก (Sheath)
ทองแดง โดยเปลอื กทองแดงไมส่ ามารถให้บคุ คลสมั ผสั หรือไมส่ ามารถ
สมั ผสั กบั วสั ดตุ ดิ ไฟได้อณุ หภมู ิเปลอื ก 105 ºC อณุ หภมู โิ ดยรอบ 40 ºC

ขนาดกระแสของสายเคเบลิ ตวั นําทองแดงแกนเดียวห้มุ ฉนวนครอสลิ
งกด์พอลเิ อทลิ นี เปลอื กนอกพีวีซี มีชีลด์ ขนาดแรงดนั (U0/U) ตงั ้ แต่
3.6/6 กิโลโวลต์ ถึง 18/30 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 90 ºC อณุ หภมู ิ
โดยรอบ 40 ºC วางบนรางเคเบลิ แบบระบายอากาศ หรือบนราง
เคเบิลแบบบนั ได

ขนาดกระแสของสายเคเบิล ตวั นําทองแดงแกนเดียวห้มุ ฉนวนครอสลิ
งกด์พอลเิ อทิลนี เปลือกนอกพีวีซี มีชีลด์ ขนาดแรงดนั (U0/U) ตงั้ แต่
3.6/6 กิโลโวลต์ ถงึ 18/30 กิโลโวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา 90 ºC อณุ หภมู ิ
โดยรอบ 40 ºC (เดนิ ร้อยในทอ่ ในอากาศ) และ 30 ºC (ร้อยทอ่ ฝัง
ดนิ )

13

ตารางที่ 5-38 ขนาดกระแสสายเคเบิลตวั นําทองแดงแกนเดียวหุ้มฉนวนครอส หน้า
ลิงกด์พอลิเอทิลีน มีเปลือกนอก อุณหภูมิตัวนํา 90 ºC อุณหภูมิ
ตารางที่ 5-39 โดยรอบ 30 ºC ขนาดแรงดนั (U0/U) 3.6/6 ถึง 18/30 กิโลโวลต์ 5 – 56
ตารางท่ี 5-40 เดนิ ใน duct bank ไมเ่ กิน 8 ทอ่ 5 – 57
ตารางท่ี 5-41 5 – 58
ตารางท่ี 5-42 ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าเครื่องเช่ือม (ตวั นําทองแดง) ตาม มอก.
ตารางท่ี 5-43 448-2525 5 – 60
ตารางท่ี 5-44
ตารางที่ 5-45 ตวั คณู ปรับคา่ ขนาดกระแสสําหรับสายเคเบิลแกนเดยี ว วางบนราง 5 – 61
ตารางที่ 5-46 เคเบลิ เป็ นกลมุ่ มากกวา่ 1 วงจร 5 – 62
ตารางที่ 5-47 5 – 63
ตวั คณู ปรับค่าขนาดกระแสสําหรับสายเคเบิลหลายแกน วางบน
รางเคเบลิ แบบระบายอากาศ แบบด้านลา่ งทบึ หรือแบบบนั ได เมื่อ 5 – 64
วางเป็ นกลมุ่ มากกวา่ 1 วงจร
5 – 64
ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าอลมู ิเนียมห้มุ ฉนวนพีวีซีตาม มอก.293- 5 – 65
2541 ขนาดแรงดนั (U0/U) ไมเ่ กิน 450/750 โวลต์ อณุ หภมู ิตวั นํา
70 ºC อณุ หภมู ิโดยรอบ 40 ºC เดนิ บนฉนวนลกู ถ้วยในอากาศ

ตวั คณู ปรับคา่ อณุ หภมู ิโดยรอบที่แตกตา่ งจาก 40 ºC ใช้กบั คา่
ขนาดกระแสของเคเบลิ เมื่อเดนิ ในอากาศ

ตวั คณู ปรับคา่ อณุ หภมู ิโดยรอบแตกตา่ งจาก 30 ºC ใช้กบั คา่ ขนาด
กระแสของเคเบลิ เม่ือเดนิ ใต้ดนิ

ตวั คณู ปรับค่าสําหรับสายเคเบิลแกนเดียว หรือหลายแกน ขนาด
แรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ฝังดินโดยตรง เม่ือวางเป็ น
กลมุ่ มากกวา่ 1 วงจร วางเรียงกนั แนวระดบั

ตวั คณู ปรับคา่ สําหรับสายเคเบลิ แกนเดียว หรือหลายแกน ขนาด
แรงดนั (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 กิโลโวลต์ ร้อยทอ่ ฝังดนิ โดยตรง เม่ือ
วางเป็ นกลมุ่ มากกวา่ 1 วงจร วางเรียงกนั แนวระดบั

รูปแบบการตดิ ตงั้ อ้างอิง

14

ตารางที่ 5-48 ข้อกําหนดการใช้งานของสายไฟฟ้ าตวั นําทองแดง ห้มุ ฉนวนพีวีซี หน้า
ตาม มอก.11-2553
ตารางที่ 6-1 ขนาดกระแสของสายสาํ หรับมอเตอร์ท่ีใช้งานไมต่ อ่ เนื่อง 5 – 67
ตารางที่ 6-2 ขนาดสายระหวา่ งเคร่ืองควบคมุ มอเตอร์และตวั ต้านทานในวงจร 6–4
ทตุ ยิ ภมู ิของมอเตอร์แบบวาวด์โรเตอร์
ตารางที่ 6-3 พกิ ดั หรือขนาดปรับตงั้ สงู สดุ ของเครื่องป้ องกนั การลดั วงจรระหวา่ ง 6–5
สายและป้ องกนั การรั่วลงดนิ ของวงจรยอ่ ยมอเตอร์
ตารางท่ี 6-4 รหสั อกั ษรแสดงการลอ็ กโรเตอร์ 6 – 11
ตารางท่ี 6-5 ขนาดปรับตงั้ สงู สดุ ของเคร่ืองป้ องกนั กระแสเกินสาํ หรับหม้อแปลง 6 – 13
ระบบแรงสงู
ตารางท่ี 7-1 ระดบั อณุ หภมู ิสงู สดุ ท่ีผวิ บริเวณอนั ตรายประเภทท่ี 1 6 – 23
ตารางท่ี 7-2 ระดบั อณุ หภมู สิ งู สดุ ที่ผิว บริเวณอนั ตรายประเภทที่ 2 7–6
ตารางท่ี 7-3 ประเภทของการออกแบบระบบป้ องกนั 7–7
ตารางท่ี 7-4 ประเภทของการออกแบบระบบป้ องกนั 7 – 10
ตารางท่ี 7-5 กลมุ่ การจําแนกประเภทของกลมุ่ ก๊าซ 7–5
ตารางที่ 7-6 การจําแนกประเภทอณุ หภมู ิพืน้ ผิวสงู สดุ สาํ หรับบริภณั ฑ์ไฟฟ้ ากลมุ่ 7 – 51
ตารางที่ 9-1 ขนาดของเคร่ืองวดั หน่วยไฟฟ้ าแรงต่าํ สาํ หรับห้องชดุ ประเภทอยู่ 7 – 51
อาศยั (สาํ หรับการไฟฟ้ านครหลวง)
ตารางท่ี 9-2 ขนาดของเคร่ืองวดั หน่วยไฟฟ้ าแรงตํา่ สําหรับห้องชดุ ประเภทอยู่ 9–4
อาศยั (สําหรับการไฟฟ้ าสว่ นภมู ิภาค)
ตารางที่ 9-3 ขนาดของเครื่องวดั หนว่ ยไฟฟ้ าแรงตา่ํ สาํ หรับห้องชดุ ประเภท 9–5
สาํ นกั งานหรือร้านค้าทวั่ ไป (สําหรับการไฟฟ้ านครหลวง)
ตารางที่ 9-4 ขนาดของเครื่องวดั หน่วยไฟฟ้ าแรงตํา่ สาํ หรับห้องชดุ ประเภท 9–5
สํานกั งานหรือร้านค้าทวั่ ไป (สาํ หรับการไฟฟ้ าสว่ นภมู ิภาค)
ตารางท่ี 9-5 คา่ โคอินซิเดนต์แฟกเตอร์สําหรับห้องชดุ ประเภทอยอู่ าศยั 9–6
9–9

15

ตารางท่ี 9-6 คา่ โคอินซเิ ดนต์แฟกเตอร์สาํ หรับห้องชดุ ประเภทสาํ นกั งานหรือ หน้า
ร้านค้าทว่ั ไปและประเภทอตุ สาหกรรม
ตารางท่ี 10-1 ระยะหา่ งระหวา่ งสายไฟฟ้ าอากาศกบั สว่ นตา่ งๆ ของสระวา่ ยนํา้ 9–9
ตารางที่ 10-2 ดีมานด์แฟกเตอร์ของสายป้ อนวงจรลฟิ ต์ 10 – 7
ตารางท่ี 11-1 การทดสอบตาม BS 6378 10 – 21
ตารางที่ 11-2 การทดสอบตาม IEC 60332-1 11 – 2
ตารางที่ 11-3 การทดสอบตาม IEC 60332-3 11 – 3
11 - 3

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-1

บทท่ี 1
นิยามและข้อกาํ หนดท่วั ไป

นิยามและข้อกําหนดทั่วไปที่ระบุไว้ในมาตรฐานเล่มนี ้ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่ือความ หมาย ใช้
เรียกชื่อและอธิบายลกั ษณะรูปแบบหรือการกระทํา เพื่อให้ผ้ใู ช้มาตรฐานได้เข้าใจขอบเขตและ
ลกั ษณะอปุ กรณ์หรือการกระทําที่กําหนดไว้ในมาตรฐาน ประกอบด้วย 4 ตอน ตอน ก. และ ตอน ข.
เป็ นคํานิยามสําหรับการติดตงั ้ ทางไฟฟ้ า สําหรับระบบไฟฟ้ าแรงตํ่ากบั ระบบไฟฟ้ าแรงสงู ตอน
ค. เป็ นข้อกําหนดการติดตงั้ ทางไฟฟ้ าทวั่ ไปท่ีสําคญั ซึ่งเป็ นข้อพึงปฏิบตั ิในงานออกแบบและ
ติดตัง้ เพื่อให้ระบบไฟฟ้ าใช้งานได้อย่างม่ันคงและปลอดภัย ทัง้ ยังได้คํานึงถึงการตรวจสอบ
บํารุงรักษาให้สามารถกระทําได้ทวั่ ถึง และตอน ง. เป็ นข้อกําหนดระยะห่างทางไฟฟ้ าในการ
ติดตัง้ สายไฟฟ้ าเหนือพืน้ ดิน เพื่อใช้อ้างอิงในการออกแบบและติดตัง้ ให้มีระยะห่างจากตวั
อาคารหรื อส่ิงก่อสร้ างได้ ระยะท่ีปลอดภยั

ตอน ก. นิยามทใี่ ช้งานท่วั ไป

1.1 เข้าถึงได้ (Accessible) เม่ือใช้กบั วิธีการเดนิ สาย หมายถึง ท่ีซง่ึ สามารถถอดหรือเปิ ดได้
โดยไม่ทําให้โครงสร้ างหรือส่วนท่ีเสร็จแล้วของอาคารเสียหาย หรือท่ีซ่ึงไม่ถูกปิ ดอย่างถาวรด้วย
โครงสร้างหรือสว่ นท่ีเสร็จแล้วของอาคาร (ดคู าํ วา่ “ซอ่ น” และ “เปิ ดโลง่ ”)

1.2 เข้าถงึ ได้ (Accessible) เม่ือใช้กบั บริภณั ฑ์ หมายถึง ที่ซงึ่ อนญุ าตให้เข้าไปใกล้ได้โดยไม่มี
การกนั้ ด้วยประตซู งึ่ ถกู ลอ็ ก หรือตดิ กญุ แจอยู่ พืน้ ยก หรือวธิ ีอ่ืน (ดคู าํ วา่ “เข้าถงึ ได้งา่ ย”)

1.3 เข้าถึงได้ง่าย (Accessible, Readily) หมายถึง ที่ซง่ึ สามารถเข้าถึงได้อยา่ งรวดเร็วเพื่อ
ปฏิบตั ิการ เปลี่ยนหรือตรวจสอบ โดยไม่ทําให้ผ้เู ข้าถึงต้องปี นข้ามหรือเคลื่อนย้ายส่ิงกีดขวาง
หรือใช้บนั ไดหยบิ ยกได้หรือใช้เก้าอี ้ฯลฯ

1.4 ขนาดกระแส (Ampacity) หมายถึง ปริมาณกระแส ซ่ึงตวั นํายอมให้ไหลผ่านอย่างต่อ-
เน่ืองในภาวะการใช้งาน โดยไม่ทําให้พิกดั อณุ หภมู ิเกินคา่ ท่ีกําหนด มีหนว่ ยเป็ นแอมแปร์

1.5 เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า (Appliance) หมายถงึ บริภณั ฑ์สาํ หรับประโยชน์ใช้สอยทว่ั ไปนอกจาก
ในโรงงานอตุ สาหกรรม โดยปกติสร้างขนึ ้ เป็ นขนาดมาตรฐานสากล โดยติดตงั้ หรือประกอบเข้า

1-2 บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป

เป็ นหน่วยเดียว เพื่อใช้งานในหน้าที่เดียวหรือหลายหน้าที่ เช่น เคร่ืองซกั ผ้า เคร่ืองปรับอากาศ
เครื่องผสมอาหาร เคร่ืองทอด และอื่นๆ

1.6 รับรอง (Approved) หมายถึง เป็ นที่ยอมรับของเจ้าหน้าท่ีผ้มู ีอํานาจ

1.7 แอสคาเรล (Askarel) หมายถึง สารไม่ติดไฟประเภทไฮโดรคาร์บอน ซึง่ ประกอบขึน้
จากคลอรีนใช้เป็ นฉนวนทางไฟฟ้ า

หมายเหตุ เนือ่ งจากเป็นสาร PCB ซ่ึงเป็นสารพิษ ปัจจบุ นั หา้ มใช้

1.8 เต้าเสียบ (Attachment Plug) หมายถึง อปุ กรณ์ที่สอดเข้าไปในเต้ารับแล้วทําให้เกิด
การตอ่ ระหวา่ งตวั นําของสายอ่อนที่ตดิ เต้าเสียบกบั ตวั นําที่ตอ่ อยา่ งถาวรกบั เต้ารับ

1.9 อัตโนมัติ (Automatic) หมายถึง การทํางานได้โดยกลไกของตวั เอง เมื่อมีการกระต้นุ อนั
ไม่ใช่การกระทําของบุคคล เช่น มีการเปลี่ยนแปลงกระแส แรงดัน อุณหภูมิ หรือการ
เปลีย่ นแปลงทางกล

1.10 การต่อฝาก (Bonding) หมายถึง การตอ่ ถึงกนั อย่างถาวรของสว่ นท่ีเป็ นโลหะให้เกิดเป็ น
ทางนําไฟฟ้ าท่ีมีความต่อเนื่องทางไฟฟ้ า และสามารถนํากระแสท่ีอาจเกิดขนึ ้ ได้อย่างปลอดภยั

1.11 สายต่อฝาก (Bonding Jumper) หมายถึง ตวั นําที่ใช้ตอ่ ระหว่างสว่ นที่เป็ นโลหะที่
ต้องการตอ่ ถงึ กนั ทางไฟฟ้ า

1.12 ระบบสายต่อฝาก (Bonding Jumper, System) หมายถึง การตอ่ กนั ระหว่างตวั นําที่
ต่อลงดินของวงจร กับสายต่อฝากด้านแหล่งจ่าย หรือกับสายดินของบริภณั ฑ์ หรือกับทงั้ สอง
อยา่ ง ของระบบท่ีมีตวั จา่ ยแยกตา่ งหาก

1.13 สายต่อฝากของบริภัณฑ์ (Bonding Jumper, Equipment) หมายถึง สายต่อฝาก
ระหวา่ งสายดนิ ของบริภณั ฑ์ตงั้ แตส่ องสว่ นขนึ ้ ไป

1.14 สายต่อฝากประธาน (Bonding Jumper, Main) หมายถึง สายตอ่ ฝากท่ีตอ่ ระหวา่ งตวั -
นําที่มีการตอ่ ลงดนิ กบั ตวั นําตอ่ ลงดนิ (สายดนิ ) ท่ีตําแหนง่ ด้านไฟเข้าของบริภณั ฑ์ประธาน

1.15 วงจรย่อย (Branch Circuit) หมายถึง ตวั นําวงจรในวงจรระหวา่ งอปุ กรณ์ป้ องกนั กระแส
เกินจดุ สดุ ท้ายกบั จดุ จา่ ยไฟ ซงึ่ อาจแบง่ ออกได้ดงั นี ้

วงจรย่อยสาํ หรับเคร่ืองใช้ไฟฟ้ า (Branch Circuit, Appliance) หมายถึง วงจรย่อยท่ีจ่าย
ไฟฟ้ าให้จดุ จ่ายไฟท่ีมีเคร่ืองใช้ไฟฟ้ ามาตอ่ มากกว่า 1 จดุ ขนึ ้ ไป เช่น วงจรไม่มีการตอ่ จากสาย
ดวงโคม

บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-3

วงจรย่อยสาํ หรับจุดประสงค์ท่ัวไป (Branch Circuit, General Purpose) หมายถึง วงจร
ยอ่ ยท่ีจ่ายไฟฟ้ าให้กบั จดุ จา่ ยไฟเพ่ือใช้สําหรับแสงสวา่ งและเครื่องใช้ไฟฟ้ า

วงจรย่อยเฉพาะ (Branch Circuit, Individual) หมายถึง วงจรยอ่ ยที่จ่ายไฟฟ้ าให้บริภณั ฑ์ใช้
สอยหนงึ่ ชิน้ เทา่ นนั้

1.16 ตู้ (Cabinet) หมายถึง เครื่องห่อห้มุ ที่ออกแบบให้ติดตงั้ บนพืน้ ผิวหรือติดผนงั โดยมี
กรอบ ด้าน และฝาปิ ดซง่ึ เปิ ดได้

1.17 รางเคเบลิ (Cable Trays) หมายถงึ รางสําหรับรองรับสายเคเบิล ซงึ่ ทําด้วยวสั ดไุ ม่ติด
ไฟ ซ่ึงประกอบด้วยฐานยาวต่อเนื่องกันโดยมีขอบตงั้ ขึน้ ไม่มีฝาปิ ด โดยรางเคเบิลอาจเป็ น
หรือไมเ่ ป็ นรูพรุน ก็ได้ หรือเป็ นตะแกรงก็ได้ ทงั้ นีอ้ าจเป็ น

รางเคเบิลขัน้ บันได (Cable ladder) หมายถึง รางสําหรับรองรับสายเคเบิล ลกั ษณะคล้าย
บนั ได มีสว่ นประกอบตามแนวขวางยดึ กบั สว่ นประกอบหลกั ท่ีเป็ นแนวยาวตอ่ เนื่องกนั

ระบบรางเคเบิลปิ ด (Cable trunking system) หมายถึง ระบบของรางปิ ด ซงึ่ ประกอบด้วย
ฐานกบั ฝาที่เปิ ดได้ รางปิ ดนีม้ ่งุ หมายให้ ใช้สําหรับล้อมรอบตวั นําห้มุ ฉนวน สายเคเบิล สายออ่ น
และ/หรือ ใช้สําหรับอํานวยความสะดวกให้แก่บริภัณฑ์ไฟฟ้ าอ่ืน ๆ ซึ่งรวมถึงบริภัณฑ์ด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ

เป็ นมัด (Bunched) หมายถึง สายเคเบิลอาจกลา่ วว่าเป็ นมดั เม่ือมีสายเคเบิลตงั้ แต่ 2 เส้นขนึ ้
ไป อยู่รวมกันในท่อร้ อยสาย ท่อ ท่อเดินสาย หรือ รางเคเบิล หรือกรณีไม่มีการห่อหุ้มจะ
หมายถงึ สายเคเบิลตงั้ แต่ 2 เส้นขนึ ้ ไปท่ีไม่ได้แยกกนั ตามระยะหา่ งท่ีกําหนดไว้

1.18 เซอร์กติ เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) หมายถงึ อปุ กรณ์ซง่ึ ถกู ออกแบบให้ปิ ดและเปิ ด
วงจรโดยไม่อตั โนมตั ิ และให้เปิ ดวงจรโดยอตั โนมตั เิ มื่อมีกระแสไหลผ่านเกินกําหนด โดยเซอร์กิต
เบรกเกอร์ไม่เสียหายเมื่อใช้งานภายในพิกดั

ปรับได้ (Adjustable) เม่ือใช้กบั เซอร์กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์กิตเบรกเกอร์ท่ีสามารถตงั ้
คา่ กระแสตา่ งๆ เพื่อปลดวงจรได้ภายในเวลาที่กําหนด

ปลดวงจรทันที (Instantaneous Trip) เมื่อใช้กบั เซอร์กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์กิตเบรก
เกอร์ท่ีปลดวงจรทนั ที โดยไมม่ ีการหนว่ งเวลา

เวลาผกผัน (Inverse Time) เมื่อใช้กบั เซอร์กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์กิตเบรกเกอร์ท่ีมีการ
หนว่ งเวลาในการปลดวงจรโดยท่ีการหนว่ งเวลานนั้ จะลดลงเม่ือกระแสเพิ่มขนึ ้

1-4 บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป

ปรับไม่ได้ (Nonadjustable) เม่ือใช้กบั เซอร์กิตเบรกเกอร์ หมายถึง เซอร์กิตเบรกเกอร์ท่ีไม่
สามารถปรับคา่ กระแสหรือเวลาในการปลดวงจร

การปรับตัง้ (Setting) ของเซอร์กิตเบรกเกอร์ หมายถึง คา่ กระแส และ/หรือเวลาของเซอร์กิต
เบรกเกอร์ ซง่ึ ถกู ตงั้ ไว้เพ่ือปลดวงจร

การประสานสัมพันธ์ (Coordination) หมายถึง การบอกตําแหน่งของสภาวะกระแสเกินเพื่อ
จํากดั การเกิดไฟฟ้ าขดั ข้องของวงจร หรือบริภณั ฑ์ โดยการเลือกอปุ กรณ์ป้ องกนั กระแสเกิน และ
คา่ พกิ ดั เพ่ือปลดวงจร

1.19 ซ่อน (Concealed) หมายถึง ทําให้เข้าถึงไม่ได้โดยสิ่งก่อสร้าง หรือส่วนของอาคาร
สายไฟฟ้ าในช่องเดนิ สายท่ีซอ่ น ถือวา่ เป็ นที่ซอ่ น ถงึ แม้วา่ อาจจะเข้าถงึ ได้โดยการดงึ ออกมา

1.20 ตัวนํา (Conductor)

ตัวนําเปลือย (Bare Conductor) หมายถึง ตวั นําท่ีไม่มีการห้มุ หรือไม่มีฉนวนไฟฟ้ าใดๆ

ตัวนําหุ้ม (Covered Conductor) หมายถึง ตวั นําท่ีห้มุ ด้วยวสั ดทุ ี่มีสว่ นประกอบหรือมีความ
หนาซงึ่ ไม่เป็ นที่ยอมรับวา่ เป็ นฉนวนไฟฟ้ าตามมาตรฐานนี ้

ตัวนําหุ้มฉนวน (Insulated Conductor) หมายถึง ตวั นําที่ห้มุ ด้วยวสั ดทุ ่ีมีสว่ นประกอบและมี
ความหนาเป็ นที่ยอมรับวา่ เป็ นฉนวนไฟฟ้ า

เคเบิล (cable) หมายถึง กล่มุ ของตวั นํา ตงั้ แตห่ น่ึงเส้นขึน้ ไป โดยมีวสั ดฉุ นวนและเปลือก
ป้ องกนั อาจเป็ นตวั นําเดี่ยวหรือตวั นําชนิด stranded ท่ีมีฉนวนและมีเปลือก(เคเบิลตวั นําเดี่ยว)
หรือกลมุ่ ของตวั นํามีฉนวนแยกจากตวั นําอ่ืนและมีเปลือก(เคเบลิ หลายตวั นํา)

ระบบบัสบาร์ (Busbar trunking system) หมายถึง ระบบตวั นําห้มุ ซง่ึ มีชดุ ประกอบที่ได้รับ
การทดสอบเฉพาะแบบ มีลักษณะประกอบด้วย ตัวนําเด่ียวที่แยกกันด้วยวัสดุฉนวน ชุด
ประกอบอาจประกอบด้วยตอ่ ไปนี ้ ชดุ บสั บาร์ ที่อาจมีหรือไม่มี สําหรับชดุ จดุ แยก หน่วยจดุ แยก
ที่เหมาะสม หน่วยอุปกรณ์สลบั เฟส อุปกรณ์ขยาย อุปกรณ์เคลื่อนไหวได้ อุปกรณ์ยืดหยุ่น
อปุ กรณ์ปลายสายป้ อน และอะแดปเตอร์ ทงั้ นีอ้ งค์ประกอบอ่ืน ๆ อาจรวมอยกู่ บั หนว่ ยจดุ แยก

1.21 ข้อต่อเปิ ด (Conduit Body) หมายถึง สว่ นแยกตา่ งหากของระบบท่อร้อยสายที่จดุ ตอ่
ระหว่างสว่ นของระบบตงั้ แต่ 2 สว่ นขนึ ้ ไป หรือจดุ ปลายของระบบเพื่อให้เข้าถึงระบบสายได้โดย
ฝาครอบที่ถอดได้ กลอ่ ง เช่น ชนิด FS และ FD หรือกลอ่ งโลหะหลอ่ กลอ่ งโลหะแผ่นท่ีใหญ่ ไม่
ถือวา่ เป็ นข้อตอ่ เปิ ด

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-5

1.22 ตัวต่อสายแบบบีบ (Connector, Pressure) หมายถึง อปุ กรณ์ท่ีใช้ตอ่ ระหว่างตวั นํา
ตงั้ แต่ 2 ตวั นําขนึ ้ ไป หรือระหวา่ งตวั นําตงั้ แต่ 1 ตวั นําขนึ ้ ไปกบั ขวั ้ สาย โดยใช้แรงกดทางกลไม่ใช้
การบดั กรี

1.23 โหลดต่อเน่ือง (Continuous Load) หมายถึง โหลดที่คาดวา่ กระแสสงู สดุ ที่คงท่ีติดตอ่
กนั ตงั ้ แต่ 3 ชว่ั โมงขนึ ้ ไป

1.24 เคร่ืองควบคุม (Controller) หมายถึง อปุ กรณ์ หรือกลมุ่ ของอปุ กรณ์ท่ีใช้ควบคมุ กําลงั
ไฟฟ้ าที่สง่ ไปยงั เครื่องสาํ เร็จท่ีตอ่ กบั เคร่ืองควบคมุ นนั้

1.25 ตัวนําอะลูมิเนียมหุ้มด้วยทองแดง (Copper Clad Aluminum Conductor) หมายถึง
ตวั นําที่ทําจากแท่งอะลมู ิเนียมห้มุ ด้วยทองแดง โดยประสานทองแดงกบั แกนอะลมู ิเนียมด้วยวิธี
โลหการ และต้องมีทองแดงอย่างต่ําร้อยละ 10 ของพืน้ ท่ีหน้าตดั ของตวั นําเด่ียว หรือของแตล่ ะ
เส้นของตวั นําตเี กลยี ว

1.26 ด้านหน้าไม่มีไฟ (Dead Front) หมายถึง ด้านที่ใช้ปฏิบตั ิงานของบริภณั ฑ์ ไม่มีสว่ นที่
มีไฟฟ้ าเปิ ดโลง่ สบู่ คุ คล

1.27 ดีมานด์แฟกเตอร์ (Demand Factor) หมายถึง อตั ราสว่ นระหว่างความต้องการสงู สดุ
ของระบบหรือสว่ นของระบบกบั โหลดทงั้ หมด ท่ีตอ่ เข้ากบั ระบบหรือสว่ นของระบบที่พิจารณา

1.28 อุปกรณ์ (Device) หมายถึง หน่วยหนึ่งของระบบไฟฟ้ า ท่ีม่งุ หมายให้เป็ นทางผ่านของ
กระแสไฟฟ้ าแตไ่ มใ่ ช้พลงั งานไฟฟ้ า

1.29 เคร่ืองปลดวงจร (Disconnecting Means) หมายถึง อปุ กรณ์หรือกลมุ่ ของอปุ กรณ์
หรือสง่ิ อ่ืนที่สามารถปลดตวั นําในวงจรออกจากแหลง่ จ่าย

1.30 ทนฝ่ ุน (Dustproof) หมายถึง การสร้างหรือการป้ องกันซ่ึงทําให้ฝ่ นุ ไม่มีผลต่อการทํา-
งานของสงิ่ นนั้ ๆ

1.31 กันฝ่ ุน (Dusttight) หมายถึง การสร้างซึ่งทําให้ฝ่ นุ ไม่สามารถเข้าไปข้างในสิ่งห่อห้มุ
ภายใต้เง่ือนไขท่ีกําหนดสําหรับการทดสอบท่ีกําหนดโดยเฉพาะ

1.32 ใช้งาน (Duty)

ใช้งานต่อเน่ือง (Continuous Duty) หมายถึง การใช้งานที่มีโหลดเกือบคงท่ี โดยมีระยะ
เวลานานไมจ่ ํากดั

1-6 บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป

ใช้งานเป็ นระยะ (Intermittent Duty) หมายถึง การใช้งานเป็ นช่วงสลบั กนั เช่น (1) ช่วงมีโหลด
และไร้โหลด หรือ (2) ช่วงมีโหลด และพกั หรือ (3) ชว่ งมีโหลด ไร้โหลด และพกั

ใช้งานเป็ นคาบ (Periodic Duty) หมายถึง การใช้งานเป็ นระยะซึ่งภาวะโหลดกลบั มีขนึ ้ อีก
อยา่ งสม่ําเสมอ

ใช้งานระยะสัน้ (Short-Time Duty) หมายถึง การใช้งานที่มีโหลดมากเกือบคงท่ี โดยมี
ระยะเวลาสนั ้ และจํากดั

ใช้งานไม่แน่นอน (Varying Duty) หมายถึง การใช้งานซ่ึงทงั ้ ขนาดโหลดและช่วงเวลาที่มี
โหลดเปล่ียนแปลงได้ไม่แนน่ อน

1.33 ป้ ายไฟฟ้ า (Electric Sign) หมายถงึ บริภณั ฑ์ที่ยดึ อยกู่ บั ที่ ประจําท่ีหรือหยิบยกได้ ท่ีมี
การส่องสว่างทางไฟฟ้ าโดยมีข้อความ หรือสญั ลกั ษณ์ท่ีออกแบบ เพ่ือแสดงให้ทราบหรือเพื่อ
ดงึ ดดู ความสนใจ

1.34 ล้อม (Enclosed) หมายถึง ล้อมรอบด้วยกลอ่ ง ท่ีครอบ รัว้ หรือผนงั เพ่ือป้ องกนั บคุ คล
มิให้สมั ผสั กบั สว่ นที่มีแรงดนั โดยบงั เอิญ

1.35 เคร่ืองห่อหุ้ม หรือ ท่ีล้อม (Enclosure) หมายถึง กล่องหรือกรอบของเครื่องสําเร็จ
หรือรัว้ หรือ ผนงั ที่ล้อมรอบการติดตงั ้ เพื่อป้ องกนั บคุ คลมิให้สมั ผสั กบั สว่ นที่มีแรงดนั ไฟฟ้ า
หรือเพื่อป้ องกนั บริภณั ฑ์ไม่ให้เสยี หาย

จ่ายไฟ, มีไฟ (Energized) หมายถึง เป็ นสภาวะที่มีการตอ่ ทางไฟฟ้ ากบั แหลง่ จ่ายแรงดนั หรือ
เป็ นแหลง่ จ่ายแรงดนั ซึง่ ไม่จํากดั ว่าเป็ นบริภณั ฑ์ที่ต่อกบั แหลง่ จ่ายแรงดนั เท่านนั้ แตย่ งั รวมถึง
ตอ่ คาปาซิเตอร์ และตวั นําที่มีแรงดนั เหน่ียวนําด้วย

1.36 บริภัณฑ์ (Equipment) หมายถึง สิ่งซง่ึ รวมทงั้ วสั ดุ เคร่ืองประกอบ อปุ กรณ์ เคร่ืองใช้
ไฟฟ้ า ดวงโคม เครื่องสําเร็จและสิ่งอ่ืนท่ีคล้ายกนั ท่ีใช้เป็ นส่วนหนึ่งหรือใช้ในการต่อเข้ากบั การ
ตดิ ตงั้ ทางไฟฟ้ า

บริภัณฑ์ส่ือสาร (Communication Equipment) หมายถึง บริภณั ฑ์อิเลก็ ทรอนิกส์ซงึ่ ทําหน้าท่ี
ด้านการสื่อสาร คือ ส่งผ่าน เสียง ภาพ และข้อมูล และรวมถึงบริภัณฑ์ไฟฟ้ ากําลงั (เช่น DC
คอนเวอร์เตอร์ อินเวอร์เตอร์ และแบตเตอรี่) และบริภณั ฑ์ด้านเทคนิค (เช่น คอมพวิ เตอร์)

1.37 บริภณั ฑ์ทนระเบดิ (Explosionproof Equipments) หมายถึง บริภณั ฑ์ที่อย่ใู นเคร่ือง
ห่อหุ้ม ซึ่งสามารถทนการระเบิดของก๊าซ หรือไอบางชนิดท่ีอาจเกิดขึน้ ภายใน และสามารถ

บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป 1-7

ป้ องกนั การจดุ ระเบิดของก๊าซหรือไอบางชนิดที่อย่รู อบ ๆ เครื่องห่อห้มุ ซ่ึงจดุ ระเบิดโดยการส
ปาร์ก วาบไฟ หรือการระเบดิ ของก๊าซหรือไอภายใน และบริภณั ฑ์ที่อย่ใู นเคร่ืองห่อห้มุ ซงึ่ ทํางาน
ทา่ มกลางอณุ หภมู ิภายนอกที่เป็ นบรรยากาศแวดล้อมท่ีติดไฟได้ โดยบรรยากาศแวดล้อมนนั้ จะ
ไมจ่ ดุ ระเบดิ

1.38 เปิ ดโล่ง (Exposed) เม่ือใช้กับส่วนท่ีมีไฟฟ้ า หมายถึง สภาพท่ีบคุ คลสามารถสมั ผสั
หรือเข้าไปใกล้เกินระยะปลอดภยั โดยพลงั้ เผลอได้ รวมถึงส่วนที่ไม่มีการกนั้ ไม่มีการแยกออก
หรือไม่มีการฉนวนอยา่ งเหมาะสม

1.39 เปิ ดโล่ง (Exposed) เม่ือใช้กับวิธีการเดนิ สาย หมายถึง อย่บู นหรือติดกบั พืน้ ผิวหรือ
อยดู่ ้านหลงั ของแผงที่ออกแบบให้เข้าถึงได้

1.40 สายป้ อน (Feeder) หมายถึง ตวั นําของวงจรระหวา่ งบริภณั ฑ์ประธาน หรือแหลง่ จ่าย
ไฟของระบบตดิ ตงั้ แยกตา่ งหากกบั อปุ กรณ์ป้ องกนั กระแสเกินของวงจรยอ่ ยตวั สดุ ท้าย

1.41 เคร่ืองประกอบ (Fitting) หมายถึง สว่ นประกอบ เช่น แป้ นเกลียวกนั คลาย บชุ ชิ่ง หรือ
สว่ นอื่นๆ ของระบบการเดนิ สายที่ใช้งานเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์หลกั ทางกลมากกวา่ ทางไฟฟ้ า

1.42 ลงดนิ หรือการต่อลงดนิ (Ground) หมายถึง การตอ่ ตวั นําไม่ว่าโดยตงั้ ใจหรือบงั เอิญ
ระหวา่ งวงจรไฟฟ้ าหรือบริภณั ฑ์กบั ดนิ หรือกบั สว่ นที่เป็ นตวั นําซง่ึ ทําหน้าท่ีแทนดนิ

1.43 ต่อลงดนิ (Grounded) หมายถึง ตอ่ ลงดนิ หรือตอ่ กบั สว่ นที่เป็ นตวั นําซง่ึ ทําหน้าท่ีแทนดนิ

1.44 ต่อลงดนิ อย่างมีประสิทธิผล (Grounded, Effectively) หมายถึง การตอ่ ลงดนิ โดยตรง
อยา่ งตงั้ ใจ หรือโดยผา่ นอิมพีแดนซ์ที่มีคา่ ต่าํ เพียงพอท่ีจะไมท่ ําให้เกิดแรงดนั ตกคร่อมมากจนทํา
ให้เกิดอนั ตรายตอ่ บริภณั ฑ์ที่ตอ่ อยู่ หรือตอ่ บคุ คล

1.45 ตัวนําท่มี ีการต่อลงดิน (Grounded Conductor) หมายถึง ระบบหรือตวั นําในวงจรที่
ตอ่ ลงดนิ โดยตงั้ ใจ

ตัวนํานิวทรัล (Neutral Conductor) หมายถึง ตวั นําไฟฟ้ าท่ีตอ่ กบั จดุ นิวทรัลของระบบ ซงึ่ ม่งุ
หมายให้นํากระแสภายใต้สภาวะปกติ

1.46 ตวั นําสาํ หรับต่อลงดนิ หรือสายดนิ (Grounding Conductor) หมายถึง ตวั นําท่ีใช้ตอ่
บริภณั ฑ์หรือวงจรที่ต้องตอ่ ลงดนิ ของระบบการเดนิ สายเข้ากบั หลกั ดนิ

1.47 ตัวนําสําหรับต่อลงดินหรือสายดินของบริภัณฑ์ (Grounding Conductor,
Equipment) หมายถึง ตวั นําที่ใช้ตอ่ สว่ นโลหะที่ไม่นํากระแสของบริภณั ฑ์ ช่องเดินสาย ท่ีล้อม

1-8 บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป

เข้ากับตวั นําที่มีการต่อลงดินของระบบและ/หรือตัวนําต่อหลักดินท่ีบริภัณฑ์ประธาน หรือท่ี
แหลง่ จา่ ยไฟของระบบจา่ ยแยกตา่ งหาก

1.48 ตัวนําต่อหลักดินหรือสายต่อหลักดนิ (Grounding Electrode Conductor) หมายถึง
ตวั นําที่ใช้ตอ่ หลกั ดนิ กบั ตวั นําสําหรับตอ่ ลงดนิ ของบริภณั ฑ์ และ/หรือ กบั ตวั นําท่ีมีการตอ่ ลงดนิ
ของวงจรที่บริภณั ฑ์ประธาน หรือที่แหลง่ จา่ ยไฟของระบบจ่ายแยกตา่ งหาก

1.49 เคร่ืองตัดวงจรไฟฟ้ าเม่ือกระแสร่ัวลงดิน (Ground-Fault Circuit-Interrupter)
หรือเคร่ืองตัดไฟร่ัว (Residual Current Device หรือ RCD) หมายถึง อปุ กรณ์ที่ม่งุ หมาย
สําหรับป้ องกนั บคุ คล โดยทําหน้าท่ีตดั วงจรหรือส่วนของ วงจรภายในเวลาที่กําหนดเม่ือกระแส
ร่ัวลงดนิ เกินคา่ ท่ีกําหนดไว้แตน่ ้อยกว่าคา่ ที่อปุ กรณ์ป้ องกนั กระแสเกินของวงจรแหลง่ จ่ายไฟจะ
ทํางาน

หมายเหตุ ตามมาตรฐานนีจ้ ะใช้คําว่า “เครื่องตดั ไฟรว่ั ” ซ่ึงอาจแตกต่างจาก มอก.909-2548 ซึ่งใช้คําว่า
“เครื่องตดั วงจรกระแสเหลือ”

1.50 การป้ องกันกระแสร่ัวลงดินของบริภัณฑ์ (Ground-Fault Protection of
Equipment) หมายถึง ระบบท่ีม่งุ หมายเพื่อป้ องกนั บริภณั ฑ์ไม่ให้เสียหายเน่ืองจากกระแสรั่ว
ลงดิน โดยทําให้เครื่องปลดวงจรตดั ตวั นําที่ไม่ถกู ต่อลงดินในวงจรที่กระแส ร่ัวลงดิน การ
ป้ องกนั นีต้ ้องมีระดบั กระแสน้อยกว่าค่าที่อุปกรณ์ป้ องกันกระแสเกินของวงจรแหล่งจ่ายไฟจะ
ทํางาน

1.51 กัน้ (Guarded) หมายถึง ป้ องกนั ด้วยท่ีห้มุ กลอ่ ง ตวั คน่ั ราว รัว้ ฉาก พืน้ ยก เพ่ือมิให้
บคุ คลหรือวตั ถเุ ข้าใกล้หรือสมั ผสั กบั จดุ ที่อาจเป็ นอนั ตรายได้

1.52 ระบบแรงสูง (High Voltage System) หมายถึง ระบบไฟฟ้ าท่ีมีแรงดนั ระหว่างเฟส
(Phase to Phase) เกิน 1,000 โวลต์ หรือแรงดนั เทียบดนิ เกิน 600 โวลต์

1.53 ช่องขึน้ ลง (Hoistway) หมายถึง ปลอ่ งขนึ ้ ลง ทางขนึ ้ ลง หรือช่องหรือที่วา่ งในแนวด่ิงท่ี
ออกแบบให้ใช้กบั ลฟิ ต์ หรือที่สง่ อาหาร

1.54 อยู่ในสายตา (In Sight From, Within Sight From, Within Sight) เม่ือมาตรฐานนี ้
กําหนดว่าบริภณั ฑ์หน่งึ อย่ใู นสายตาจากบริภณั ฑ์อื่น หมายถึง ระยะที่ต้องมองเห็นได้ระหว่าง
บริภณั ฑ์ที่กําหนดกบั บริภณั ฑ์อื่นและต้องมีระยะหา่ งไม่เกิน 15 เมตร

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป 1-9

1.55 พิกัดตัดวงจร หรือพิกัดตัดกระแส (Interrupting Rating) หมายถึง กระแสสงู สดุ
ณ แรงดนั ที่กําหนด ที่อปุ กรณ์ถกู ประสงค์ให้ตดั วงจรที่ภาวะที่กําหนดในมาตรฐานการ
ทดสอบ

บริภณั ฑ์ที่ประสงค์จะให้ตดั กระแสที่ไม่ใช่กระแสลดั วงจร อาจมีพิกัดตดั วงจรเป็ นอย่างอื่น
เช่น พิกดั แรงม้า หรือพิกัดกระแสล็อกโรเตอร์

พกิ ดั กระแสลัดวงจร (Short-Circuit Current Rating) หมายถึง กระแสลดั วงจรแบบสมมาตร
ณ แรงดนั ไฟฟ้ าระบุ ซึ่งเคร่ืองสําเร็จหรือระบบยงั สามารถต่ออย่ไู ด้โดยไม่มีความเสียหายเกิน
กวา่ เกณฑ์ที่กําหนดไว้

1.56 แยกออก (Isolated) หมายถึง บคุ คลเข้าถงึ ได้ยาก นอกจากจะใช้ เครื่องมือพิเศษ

1.57 จุดจ่ายไฟแสงสว่าง (Lighting Outlet) หมายถึง จดุ จ่ายไฟที่ตอ่ เข้าโดยตรงกบั ขวั้ รับ
หลอด ดวงโคม หรือตอ่ กบั ปลายสายออ่ นท่ีอีกด้านหนง่ึ ตอ่ กบั ขวั ้ รับหลอดในดวงโคมแขวน

1.58 สถานท่ี (Location)

โรงรถ (Garage) หมายถึง อาคารหรือส่วนของอาคาร ซ่ึงยานพาหนะตงั้ แต่หน่ึงคนั ขึน้ ไป
สามารถจอดได้ เพื่อวตั ถปุ ระสงค์สาํ หรับ ใช้งาน ขาย เก็บ เชา่ ซอ่ ม แสดง หรือสาธิต

ห้องนํา้ (Bathroom) หมายถึง บริเวณ ท่ีประกอบด้วย อ่างล้างหน้า กบั เครื่องใช้ตอ่ ไปนีอ้ ยา่ ง
น้อยหนึ่งชนิด ได้แก่ โถส้วม โถปัสสาวะ อ่างอาบนํา้ ฝักบวั โถปัสสาวะหญิง หรือเครื่องติดตงั้
อ่ืน ๆ ที่ทํางานคล้ายกนั

สถานท่ีชืน้ (Damp Location) หมายถึง สถานท่ีใต้หลงั คาซึ่งมีการป้ องกันเป็ นบางส่วน
ระเบียงที่มีหลงั คาและสถานที่อื่นที่มีลกั ษณะคล้ายกัน และสถานท่ีภายในอาคารที่มีความชืน้
ปานกลาง เชน่ ห้องใต้ดนิ และห้องเย็นเก็บของ

สถานท่แี ห้ง (Dry Location) หมายถึง สถานที่ซง่ึ ปกติไม่มีความชืน้ หรือเปี ยก สถานท่ีแห้ง
อาจมีความชืน้ หรือเปี ยกได้ชว่ั คราว เช่น อาคารที่กําลงั ก่อสร้าง

สถานท่เี ปี ยก (Wet Location) หมายถงึ สถานท่ีใต้พืน้ ดนิ หรือในแผน่ คอนกรีต หรือใน อิฐที่ตงั้
ติดอย่กู ับดินและสถานที่ที่มีนํา้ หรือของเหลวอ่ืน เช่น บริเวณล้างพาหนะ และสถานท่ีเปิ ดโล่งที่
ไมม่ ีท่ีปกคลมุ

1.59 ระบบแรงต่าํ (Low Voltage System) หมายถึง ระบบไฟฟ้ าท่ีมีแรงดนั ระหว่างเฟส
(phase to phase) ไม่เกิน 1,000 โวลต์ หรือแรงดนั เทียบดนิ ไม่เกิน 600 โวลต์

1-10 บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป

1.60 ความต้องการกาํ ลังไฟฟ้ าสูงสุด (Maximum Demand) หมายถึง ค่าสงู สดุ ของความ
ต้องการกําลงั ไฟฟ้ าซง่ึ เกิดขึน้ ในช่วงเวลาที่กําหนดอาจมีหน่วยเป็ นกิโลวตั ต์ กิโลวาร์ เควีเอ หรือ
หนว่ ยอื่นตามต้องการ

1.61 ชุดจุดจ่ายไฟสาํ เร็จรูป (Multioutlet Assembly) หมายถึง ช่องเดินสายบนพืน้ ผิวหรือ
ฝังท่ีออกแบบให้จับยึดตวั นําและเต้ารับทงั้ ชนิดประกอบในสถานที่ติดตงั้ และชนิดที่ประกอบ
สาํ เร็จจากโรงงาน

1.62 ไม่อัตโนมัติ (Nonautomatic) หมายถึง การควบคมุ ที่บคุ คลต้องเข้าไปเกี่ยวข้องเพ่ือให้
ทํางานได้ การทํางานไม่อตั โนมตั ิ คอื การทํางานโดยบคุ คล

1.63 วงจรไม่ติดไฟ (Nonincendive Circuit) หมายถึง วงจรที่อาร์ก หรือผลของความร้อน
ท่ีเกิดขนึ ้ ระหว่างการใช้งานของบริภณั ฑ์ หรือเนื่องจากการเปิ ดวงจร การลดั วงจร หรือการรั่วลง
ดินของสายไฟ ไม่ทําให้ก๊าซท่ีติดไฟ ไอระเหย หรือของผสมฝ่ ุนอากาศลกุ ติดไฟภายใต้เง่ือนไข
ทดสอบที่กําหนด

1.64 จุดจ่ายไฟ (Outlet) หมายถึง จดุ ในระบบการเดนิ สายท่ีนํากระแสมาใช้กบั บริภณั ฑ์ใช้สอย

1.65 กระแสเกิน (Overcurrent) หมายถึง กระแสที่เกินคา่ พิกดั กระแสของบริภณั ฑ์หรือขนาด
กระแสของตวั นํา ซงึ่ อาจมีผลมาจากโหลดเกิน การลดั วงจร หรือการมีกระแสร่ัวลงดนิ

ในบางกรณีบริภณั ฑ์หรือตวั นํา อาจมีกระแสเกินค่าพิกดั กระแสหรือขนาดกระแสได้ ดงั นน้ั มาตรฐานสําหรับ
การป้ องกนั กระแสเกินตอ้ งกําหนดตามสถานการณ์เฉพาะ

1.66 โหลดเกิน (Overload) หมายถึง การใช้งานเกินพิกดั ปกติของบริภณั ฑ์หรือใช้กระแสเกิน
ขนาดกระแสของตวั นํา ซง่ึ หากเป็ นอยรู่ ะยะเวลาหนึ่งจะทําให้เกิดความเสียหายและอนั ตรายเน่ืองจาก
ความร้อนเกินขนาด การลดั วงจรหรือการมีกระแสร่ัวลงดนิ ไม่ถือเป็ นโหลดเกิน

1.67 แผงย่อย (Panelboard) หมายถึง แผงเดี่ยวหรือกลุ่มของแผงเดี่ยวที่ออกแบบให้
ประกอบรวมกนั เป็ นแผงเดียวกัน ประกอบด้วย บสั อุปกรณ์ป้ องกันกระแสเกินอัตโนมตั ิและมี
หรือไม่มีสวิตช์สําหรับควบคุมแสงสว่าง ความร้อนหรือวงจรไฟฟ้ ากําลงั แผงย่อยเป็ นแผงที่
ออกแบบให้ติดตงั้ ไว้ในตู้หรือกล่องคตั เอาทต์ที่ติดบนผนังซ่ึงสามารถเข้าถึงได้ทางด้านหน้า
เทา่ นนั้

1.68 การเดินสายภายใน (Premises Wiring (System)) หมายถึง การเดนิ สายทงั้ ภายใน
และภายนอกอาคารซึ่งประกอบด้วยสายวงจรไฟฟ้ ากําลัง แสงสว่าง ควบคุมและสัญญาณ
รวมทงั้ อปุ กรณ์และเครื่องประกอบการเดินสาย ทงั้ แบบเดินสายแบบติดตงั้ ถาวรและชว่ั คราว ซ่ึง

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป 1-11

เป็ นส่วนที่ตอ่ จากจดุ จ่ายจากสายของการไฟฟ้ าฯ (สว่ นหลงั เครื่องวดั หน่วยไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ)
หรือจุดจ่ายไฟของแหล่งกําเนิดจากระบบท่ีมีตวั จ่ายแยกต่างหาก การเดินสายนีไ้ ม่รวมถึงการ
เดนิ สายภายในเคร่ืองใช้ไฟฟ้ า ดวงโคม มอเตอร์ เคร่ืองควบคมุ ศนู ย์ควบคมุ มอเตอร์ และบริภณั ฑ์
ที่คล้ายกนั

1.69 บุคคลท่ีมีคุณสมบัติหรือบุคคลท่ีมีหน้าท่ีเก่ียวข้อง (Qualified Person) หมายถึง
บคุ คลท่ีมีความรู้เก่ียวกบั โครงสร้าง และการใช้งานของบริภณั ฑ์ รวมทงั ้ อนั ตรายท่ี อาจเกิดขนึ ้

1.70 ช่องเดินสาย (Raceway) หมายถึง ช่องปิ ดซึง่ ออกแบบเฉพาะสําหรับการเดินสายไฟฟ้ า
หรือตวั นําหรือทําหน้าท่ีอ่ืนตามท่ีมาตรฐานนีอ้ นญุ าต

ช่องเดินสายอาจเป็ นโลหะหรือวสั ดฉุ นวน รวมทง้ั ท่อโลหะหนา ท่ออโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง ท่อ
โลหะอ่อนกนั ของเหลว ท่อโลหะอ่อนบาง ท่อโลหะอ่อนหนา ท่ออโลหะอ่อน ท่อโลหะบาง ช่องเดินสายใต้พืน้
ช่องเดินสายใตพ้ ืน้ คอนกรีตโปร่ง ช่องเดินสายใตพ้ ืน้ โลหะโปร่ง ช่องเดินสายบนพืน้ รางเดินสาย เคเบิลบสั และ
ทางเดินบสั

1.71 ทนฝน (Rainproof) หมายถึง การสร้าง การป้ องกนั หรือกระทําเพ่ือไม่ให้ฝนมีผลต่อ
การทํางานของอปุ กรณ์ภายใต้สภาวะการทดสอบที่กําหนด

1.72 กันฝน (Raintight) หมายถึง การสร้างหรือการป้ องกนั ไม่ให้นํา้ ฝนเข้าไปได้ ภายใต้
สภาวะการทดสอบท่ีกําหนด

1.73 เต้ารับ (Receptacle) หมายถึง อปุ กรณ์หน้าสมั ผสั ซง่ึ ตดิ ตงั้ ท่ีจดุ จ่ายไฟ ใช้สําหรับการ
ต่อกบั เต้าเสียบ เต้ารับทางเดียวคืออปุ กรณ์หน้าสมั ผสั ท่ีไม่มีอปุ กรณ์หน้าสมั ผสั อื่นอย่ใู นโครง
เดยี วกนั เต้ารับหลายทางคอื อปุ กรณ์หน้าสมั ผสั ตงั้ แต่ 2 ชดุ ขนึ ้ ไปท่ีอยใู่ นโครงเดยี วกนั

1.74 จุดจ่ายไฟชนิดเต้ารับ (Receptacle Outlet) หมายถึง จดุ จ่ายไฟท่ีติดตงั้ เต้ารับตงั้ แต่
1 ชดุ ขนึ ้ ไป

1.75 วงจรควบคุมจากระยะไกล (Remote-Control Circuit) หมายถึง วงจรท่ีควบคมุ วงจร
อ่ืนๆ ด้วยรีเลย์หรืออปุ กรณ์อื่นท่ีเทียบเทา่

1.76 บริภัณฑ์ปิ ดผนึกได้ (Sealable Equipment) หมายถึง บริภณั ฑ์ที่ถกู หอ่ ห้มุ โดยโครง-
สร้างหรือต้ซู ่ึงปิ ดผนึกหรือปิ ดกนั้ จนไม่สามารถเข้าถึงส่วนท่ีมีไฟฟ้ าได้ ถ้าไม่เปิ ดเคร่ืองห่อห้มุ
บริภณั ฑ์นีอ้ าจใช้งานโดยเปิ ดหรือไม่เปิ ดเครื่องหอ่ ห้มุ ก่อนก็ได้

1-12 บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป

1.77 ระบบท่มี ีตัวจ่ายแยกต่างหาก (Separately Derived System) หมายถึง ระบบการ
เดนิ สายภายในซง่ึ จ่ายไฟฟ้ าโดยเคร่ืองกําเนิดไฟฟ้ า หม้อแปลงไฟฟ้ า หรือขดลวดคอน-เวอร์เตอร์
และไม่มีการตอ่ ถึงกนั ทางไฟฟ้ าโดยตรง รวมทงั้ ระบบสายดนิ กบั สายจา่ ยไฟฟ้ าจากระบบอ่ืน

1.78 ระบบประธาน (Service) หมายถึง บริภณั ฑ์และตวั นําสําหรับจ่ายพลงั งานไฟฟ้ าจาก
ระบบไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ ไปยงั ระบบสายภายใน

1.79 ตัวนําประธาน (Service Conductors) หรือสายเมน หมายถึง ตวั นําที่ต่อระหว่าง
เคร่ืองวดั หน่วยไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ กบั บริภณั ฑ์ประธาน (ทงั ้ ระบบแรงสงู และแรงตา่ํ )

ตัวนําประธานเข้าอาคารระบบสายอากาศ (Service-Entrance Conductors, Overhead
System) หมายถึง ตวั นําประธานท่ีตอ่ ระหวา่ งบริภณั ฑ์ประธานกบั เคร่ืองวดั หน่วยไฟฟ้ าของ
การไฟฟ้ าฯ ท่ีเป็ นระบบสายอากาศ

ตัวนําประธานเข้าอาคารระบบสายใต้ดนิ (Service-Entrance Conductor, Underground
System) หมายถึง ตวั นําประธานที่ตอ่ ระหว่างบริภณั ฑ์ประธานกบั เครื่องวดั หน่วยไฟฟ้ าของ
การไฟฟ้ าฯ ที่เป็ นระบบสายใต้ดนิ

1.80 สายจ่ายระบบประธานอากาศ (Service Drop) หมายถึง ตวั นําประธานที่เป็ นสาย
อากาศจากเสาไฟฟ้ าหรือจุดจับยึดถึงตวั นําประธานเข้าอาคารซ่ึงติดตงั้ ที่เสา ตวั อาคาร หรือ
โครงสร้ าง

1.81 บริภัณฑ์ประธาน (Service Equipment) หรือเมนสวติ ช์ หมายถึง บริภณั ฑ์จําเป็ น
โดยปกติประกอบด้วยเซอร์กิตเบรกเกอร์ หรือสวิตช์และฟิ วส์ และเครื่องประกอบต่างๆ ตงั้ อยู่
ใกล้กับจุดทางเข้าของตัวนําประธานเข้าอาคาร โดยมีจุดประสงค์เพื่อควบคุมและตัดวงจร
ทงั้ หมดของระบบจา่ ยไฟ

1.82 ตู้แสดงหน้าร้าน (Show Window) หมายถึง ต้กู ระจกหน้าร้าน ซง่ึ ออกแบบสําหรับใช้
แสดงสนิ ค้าหรือสงิ่ โฆษณา ด้านหลงั ของต้จู ะปิ ดทงั้ หมด ปิ ดบางสว่ น หรือเปิ ดทงั้ หมดก็ได้

1.83 วงจรสัญญาณ (Signaling Circuit) หมายถงึ วงจรไฟฟ้ าท่ีทําให้บริภณั ฑ์สญั ญาณทํางาน

1.84 แผงสวิตช์ (Switchboard) หมายถึง แผงเด่ียวขนาดใหญ่หรือหลายแผงประกอบเข้า
ด้วยกัน เพื่อใช้ติดตงั้ สวิตช์ อุปกรณ์ป้ องกนั กระแสเกิน อปุ กรณ์ป้ องกันอื่นๆ บสั และเคร่ืองวดั
ต่างๆ ทงั ้ ด้านหน้า ด้านหลงั หรือทงั้ สองด้าน โดยทว่ั ไปแผงสวิตช์เข้าถึงได้ทงั้ ทางด้านหน้าและ
ด้านหลงั และไมม่ ีจดุ ประสงค์ให้ตดิ ตงั้ ในตู้ (ดคู ําวา่ “แผงยอ่ ย”)

บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-13

ชุดประกอบสาํ เร็จควบคุมไฟฟ้ าแรงดันต่าํ (Low-voltage switchgear and controlgear
assembly) หมายถึง การรวมกันของอุปกรณ์ปิ ดเปิ ดตงั้ แต่ 1 อุปกรณ์ขึน้ ไป รวมกับบริภณั ฑ์
การควบคมุ บริภณั ฑ์การวดั บริภณั ฑ์สญั ญาณ บริภณั ฑ์ป้ องกัน บริภณั ฑ์คมุ ค่า และบริภณั ฑ์
อื่น ๆ โดยผ้ผู ลติ ทําหน้าท่ีประกอบสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วอย่างสมบรู ณ์กบั สว่ นไฟฟ้ าท่ีอยู่
ภายใน สว่ นประกอบทางกล และสว่ นโครงสร้าง

1.85 สวติ ช์ (Switch)

สวติ ช์ลัดผ่านแยกวงจร (Bypass Isolation Switch) หมายถึง สวิตช์ทํางานด้วยมือสําหรับ
ใช้ร่วมกบั สวิตช์ถ่ายโอน เพื่อเช่ือมตอ่ ตวั นําสําหรับโหลดเข้ากบั แหล่งจ่ายไฟฟ้ าโดยตรงและตดั
การใช้งานของสวิตช์ถ่ายโอนออก

สวิตช์ใช้งานท่วั ไป (General-Use Switch) หมายถึง สวิตช์ท่ีมีจดุ ประสงค์ให้ใช้ใน วงจร
จําหน่ายและวงจรย่อยทวั่ ไป กําหนดขนาดเป็ นแอมแปร์ และสามารถตดั วงจรตามพิกดั กระแส
และแรงดนั

สวิตช์ธรรมดาใช้งานท่วั ไป (General-Use Snap Switch) หมายถึง รูปแบบหนึง่ ของสวิตช์ใช้
งานทว่ั ไปท่ีสร้างให้สามารถติดตงั้ เสมอพืน้ ผิวในกล่องอปุ กรณ์ หรือบนฝากล่องจดุ จ่ายไฟหรือ
การใช้อื่นๆที่เก่ียวข้องกบั ระบบเดนิ สาย ซง่ึ เป็ นที่ยอมรับในมาตรฐานนี ้

สวิตช์แยกวงจร (Isolating Switch) หมายถึง สวิตช์ท่ีใช้สําหรับแยกวงจรไฟฟ้ าออกจาก
แหลง่ จ่ายไฟฟ้ า โดยไม่มีพกิ ดั ตดั วงจรและใช้งานภายหลงั จากปลดวงจรด้วยวิธีอ่ืนแล้ว

สวิตช์วงจรมอเตอร์ (Motor-Circuit Switch) หมายถึง สวิตช์ท่ีมีพิกดั กําหนดขนาดเป็ น
แรงม้า สามารถตดั วงจรท่ีมีกระแสโหลดเกินสงู สดุ ของมอเตอร์ท่ีมีพิกัดแรงม้าเข้ากับสวิตช์ ที่
แรงดนั พิกดั

ศูนย์การควบคุมมอเตอร์ (Motor Control Center) หมายถึง ชดุ ประกอบท่ีประกอบด้วย
กลอ่ งห้มุ ตงั้ แต่ 1 สว่ นขนึ ้ ไป โดยมีบสั กําลงั ไฟฟ้ าร่วมกนั และภายในมีหน่วยควบคมุ มอเตอร์เป็ น
สาํ คญั

สวิตช์ถ่ายโอน (Transfer Switch) หมายถึง สวิตช์สําหรับถ่ายโอน ตวั นําที่ตอ่ กบั แหลง่ จ่าย
ไฟฟ้ าหนง่ึ ไปยงั แหลง่ จา่ ยไฟฟ้ าอ่ืน เพ่ือจ่ายโหลดให้กบั ตวั นําที่ตอ่ อยนู่ นั้

สวิตช์ถ่ายโอนอาจเป็นแบบอตั โนมตั ิหรือไม่ก็ได้

1-14 บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป

1.86 มีการป้ องกันความร้อนเกิน (Thermally Protected) เม่ือใช้กบั มอเตอร์ หมายถึง
เม่ือปรากฏคําว่า “มีการป้ องกนั ความร้อนเกิน” บนแผ่นป้ ายประจําเครื่อง แสดงวา่ มอเตอร์นนั ้ มี
เคร่ืองป้ องกนั ความร้อนเกิน

1.87 เคร่ืองป้ องกันความร้อนเกิน (Thermal Protector) เมื่อใช้กบั มอเตอร์ หมายถึง
อปุ กรณ์ป้ องกนั ท่ีประกอบเข้าเป็ นส่วนหนึ่งของมอเตอร์ หรือมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และเมื่อใช้
งานอยา่ งถกู ต้องแล้วจะป้ องกนั มอเตอร์ไหม้เพราะการเกิดความร้อนเกินเนื่องจากโหลดเกินและ
ความล้มเหลวในการเริ่มเดนิ เครื่อง

หมายเหตุ เครื่องป้ องกนั ความร้อนเกินอาจประกอบดว้ ยอปุ กรณ์ตรวจจบั มากกว่า 1 ตวั ประกอบเข้าเป็นส่วน
หน่ึงของมอเตอร์ และอปุ กรณ์ควบคมุ ภายนอก

1.88 บริภัณฑ์ใช้สอย (Utilization Equipment) หมายถึง บริภณั ฑ์ที่ใช้พลงั งานไฟฟ้ าสําหรับ
งานอิเลก็ ทรอนิกส์ ทางกล เคมี ความร้อน แสงสวา่ ง หรือจดุ ประสงค์ที่คล้ายกนั

1.89 ระบายอากาศ (Ventilated) หมายถึง การจดั ให้มีการหมนุ เวียนของอากาศอยา่ งเพียง
พอเพื่อถ่ายเทความร้อน ควนั หรือไอ ท่ีมีมากเกินออกไป

1.90 ของเหลวระเหยตดิ ไฟ (Volatile Flammable Liquid) หมายถงึ ของเหลวติดไฟที่มีจดุ
วาบไฟต่ํากว่า 38 องศาเซลเซียส หรือของเหลวติดไฟที่มีอณุ หภมู ิสงู กว่าจดุ วาบไฟของตวั เอง
หรือของเหลวที่ไหม้ไฟได้ ประเภทท่ี 2 ท่ีมีความดนั ไอไม่เกิน 276 กิโลพาสคลั (40 ปอนด์ ต่อ
ตารางนิว้ สมั บรู ณ์) ท่ี 38 องศาเซลเซียส ซง่ึ มีอณุ หภมู ิสงู กวา่ จดุ วาบไฟของตวั เอง

1.91 แรงดัน (Voltage) ของวงจร หมายถึง คา่ รากเฉลี่ยกําลงั สองของความตา่ งศกั ย์สงู สดุ
ระหวา่ งตวั นํา 2 สาย ในวงจรที่เกี่ยวข้องกนั

1.92 แรงดนั ท่รี ะบุ (Voltage, Nominal) หมายถึง

ค่าตวั เลขแรงดนั ไฟฟ้ า ที่ใช้เรียกระบบแรงดนั ไฟฟ้ า ในวงจรหรือระบบไฟฟ้ าหน่ึง ๆ เพื่อบอก
ระดบั ของแรงดนั ไฟฟ้ านนั้ ๆ แรงดนั ไฟฟ้ าระบนุ ี ้จะใช้คา่ เดียวกนั ตลอด ไม่วา่ จะอย่ใู นสว่ นไหน
ของระบบ หรือ ของวงจรไฟฟ้ านนั้ ๆ เพ่ือใช้ระบรุ ะบบแรงดนั ไฟฟ้ าและใช้อ้างอิงในการออกแบบ
และคํานวณคา่ ตา่ งๆ ทางไฟฟ้ า

ค่าของแรงดันไฟฟ้ าระบุ อาจมีค่าแตกต่างกัน ตามมาตรฐานท่ีใช้อ้างอิงของแต่ละ
ประเทศ หรือ ที่มีการเรียกใช้กนั มาตงั้ แตอ่ ดีต มาตรฐาน IEC จงึ ได้จดั แบง่ กลมุ่ เพ่ือให้สะดวก
ในการเรียกแรงดนั ไฟฟ้ าระบุที่มีค่าใกล้เคียงกัน ให้มีค่าแรงดันไฟฟ้ าระบุเพียงค่าเดียว เช่น

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-15

แรงดนั ไฟฟ้ าระบุ 220/380 โวลต์ และ 240/415 โวลต์ ให้เหลือเพียงคา่ เดียวคือ 230/400 โวลต์
เป็ นต้น สําหรับประเทศไทย ระบบไฟฟ้ าแรงต่าํ ชนิด 3 เฟส 4 สาย เป็ น 230/400 โวลต์

แรงดันไฟฟ้ าพิกัด (voltage,rated) หมายถึง แรงดันไฟฟ้ าของอุปกรณ์ หรื อ ของ
เคร่ืองใช้ไฟฟ้ า ท่ีผ้ผู ลิตฯ กําหนดขนึ ้ เพ่ือให้การทํางานของอปุ กรณ์ หรือ เครื่องใช้ไฟฟ้ า เป็ นไป
ตามคณุ ลกั ษณะที่กําหนด

แรงดันบริการ (Service voltage) หมายถึงแรงดนั ไฟฟ้ าท่ีการไฟฟ้ าฯ จ่ายหรือให้บริการกบั
ผู้ใช้ไฟฟ้ า ณ ตําแหน่งที่สายไฟส่วนของผู้ใช้ไฟฟ้ าบรรจบกับสายไฟส่วนของการไฟฟ้ าฯ
โดยทวั่ ไปมกั เป็ นแรงดนั ไฟฟ้ าซงึ่ วดั ที่จดุ ตอ่ หรือหน้าเคร่ืองวดั หนว่ ยไฟฟ้ า )

แรงดันใช้ประโยชน์ (Utilization voltage) หมายถึง แรงดนั ไฟฟ้ าท่ีตําแหน่งของเต้ารับไฟฟ้ า
หรือ ตาํ แหน่งที่เครื่องใช้ไฟฟ้ า หรือ ที่บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า ตอ่ อยู่

แรงดันต่าํ พิเศษ (Extra low voltage, ELV) หมายถึง แรงดนั ไฟฟ้ ากระแสสลบั ท่ีมีคา่ ไม่เกิน
50 โวลต์ หรือ แรงดนั ไฟฟ้ ากระแสตรง (ที่ไมม่ ีริว้ คลน่ื ) ที่มีคา่ ไมเ่ กิน 120 โวลต์

1.93 แรงดันเทยี บกับดิน (Voltage to Ground) สําหรับวงจรท่ีมีการตอ่ ลงดิน หมายถึง
แรงดนั ระหว่างตวั นําท่ีกําหนด กับจุดหรือตวั นําของวงจรท่ีต่อลงดิน สําหรับวงจรที่ไม่ต่อลงดิน
หมายถงึ แรงดนั สงู สดุ ระหวา่ งตวั นําท่ีกําหนดกบั ตวั นําอ่ืนในวงจร

1.94 กันนํา้ (Watertight) หมายถึง การสร้างหรือการป้ องกนั ท่ีไม่ให้ความชืน้ เข้าไปในเคร่ือง
หอ่ ห้มุ ได้ ภายใต้สภาวะการทดสอบท่ีกําหนด

1.95 ทนสภาพอากาศ (Weatherproof) หมายถึง การสร้างหรือการป้ องกนั ซึ่งเมื่ออย่ใู น
สภาวะเปิ ดโลง่ ตอ่ สภาพอากาศแล้วจะไม่มีผลตอ่ การทํางานของสงิ่ นนั้

1.96 รางเดนิ สาย (Wireway) หมายถึง ช่องเดินสาย (raceway) ชนิดหนง่ึ มีลกั ษณะเป็ น
รางทําจากแผน่ โลหะหรืออโลหะชนิดต้านเปลวเพลงิ พบั มีฝาปิ ด ติดบานพบั หรือถอดออกได้ เพื่อ
ใช้สาํ หรับเดนิ สายไฟฟ้ า อาจมีช่องระบายอากาศก็ได้ การตดิ ตงั ้ ต้องใช้วิธีแขวนหรือมีที่รองรับ

1.97 อาคาร

อาคารสูง หมายถงึ อาคารที่บคุ คลอาจเข้าอย่หู รือเข้าใช้สอยได้ โดยมีความสงู ตงั้ แต่ 23 เมตร
ขนึ ้ ไป การวดั ความสงู ของอาคารให้วดั จากระดบั พืน้ ดนิ ท่ีก่อสร้างถึงพืน้ ดาด-ฟ้ า สําหรับอาคาร
ทรงจว่ั หรือปัน้ หยาให้วดั จากระดบั พืน้ ดนิ ที่ก่อสร้างถงึ ยอดผนงั ของชนั้ สงู สดุ

1-16 บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป

อาคารขนาดใหญ่ หมายถึง อาคารที่สร้างขึน้ เพื่อใช้อาคารหรือส่วนใดส่วนหน่ึงของอาคาร
เป็ นที่ประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีความสงู จากระดบั ถนนตงั้ แต่ 15
เมตรขนึ ้ ไป และมีพืน้ ท่ีรวมกนั ทกุ ชนั้ ในหลงั เดียวกนั เกิน 1,000 ตารางเมตร หรือมีพืน้ ที่รวมกนั
ทกุ ชนั้ หรือชนั้ หนงึ่ ชนั้ ใดในหลงั เดียวกนั เกิน 2,000 ตารางเมตร
อาคารขนาดใหญ่พิเศษ หมายถึง อาคารที่สร้างขึน้ เพ่ือใช้อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของ
อาคารเป็ นที่อย่อู าศยั หรือประกอบกิจการประเภทเดียวหรือหลายประเภท โดยมีพืน้ -ที่รวมกนั ทกุ
ชนั้ หรือชนั้ หนง่ึ ชนั้ ใดในหลงั เดยี วกนั ตงั้ แต่ 10,000 ตารางเมตรขนึ ้ ไป
ระบบไฟฟ้ าพลังแสงอาทติ ย์ (Solar Photovoltaic System) หมายถึง สว่ นประกอบทงั้ หมด
รวมกบั ระบบย่อย ทําหน้าที่แปลงพลงั งานแสงอาทิตย์เป็ นพลงั งานไฟฟ้ าที่เหมาะสมกบั โหลดที่
จะใช้งาน
แหล่งจ่ายกําลังไม่หยุดชะงัก (Uninterruptible Power Supply) หมายถึง แหล่งจ่าย
กําลังไฟฟ้ าท่ีใช้เพ่ือจ่ายกําลังไฟฟ้ ากระแสสลับให้แก่โหลดในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เม่ือเกิด
เหตกุ ารณ์ไฟฟ้ าขดั ข้อง

ตอน ข. นิยามทใ่ี ช้สําหรับการตดิ ตั้งระบบไฟฟ้ า แรงดันทรี่ ะบุเกนิ 1,000 โวลต์ ขึน้ ไป

1.98 ฟิ วส์ (Fuse) หมายถึง อปุ กรณ์ป้ องกนั กระแสเกินซึง่ มีส่วนที่เปิ ดวงจรหลอมละลาย
ด้วยความร้อนท่ีเกิดจากมีกระแสไหลผา่ นเกินกําหนด

หมายเหตุ ฟิ วส์ประกอบด้วยทุกส่วนที่รวมกนั เพือ่ ทําหน้าที่ดงั กล่าวข้างต้น อาจเป็ นหรือไม่เป็ นอุปกรณ์ที่
สมบูรณ์สําหรบั ต่อเข้ากบั วงจรไฟฟ้ า

ตัวฟิ วส์แบบขับก๊าซ (Expulsion Fuse Unit or Expulsion Fuse) หมายถึง ตวั ฟิ วส์ ท่ีมีการ
พ่งุ ระบายของก๊าซ ซ่งึ เกิดจากอาร์กและสายของตวั ยึดฟิ วส์ ซงึ่ อาจเกิดขึน้ เองหรือใช้สปริงช่วย
เป็ นตวั ดบั อาร์ก
ตัวฟิ วส์กาํ ลัง (Power Fuse Unit) หมายถึง ตวั ฟิ วส์ท่ีอาจมีหรือไม่มีการพงุ่ ระบาย หรือการ
ควบคมุ การพ่งุ ระบายของก๊าซ การดบั อาร์กทําได้โดยให้อาร์กผ่านวสั ดแุ ข็ง วสั ดเุ ป็ นเมล็ด หรือ
ของเหลว ซง่ึ อาจเกิดขนึ ้ เองหรือใช้สปริงชว่ ย

บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-17

ฟิ วส์กาํ ลังแบบพุ่งระบาย (Vented Power Fuse) หมายถึง ฟิ วส์ท่ีออกแบบให้มีการพ่งุ
ระบายก๊าซ ของเหลว หรืออนภุ าคแขง็ ออกสบู่ รรยากาศโดยรอบ เม่ือฟิวส์ตดั วงจร

ฟิ วส์กาํ ลังแบบไม่พุ่งระบาย (Nonvented Power Fuse) หมายถึง ฟิ วส์ที่ไม่ได้ออก แบบให้
มีการพงุ่ ระบายของก๊าซ ของเหลว หรืออนภุ าคแข็ง ออกสบู่ รรยากาศโดยรอบเม่ือฟิ วส์ตดั วงจร

ฟิ วส์กาํ ลังแบบควบคุมการพุ่งระบาย (Controlled Vented Power Fuse) หมายถึง ฟิ วส์ซงึ่
เมื่อตดั วงจรจะมีการควบคมุ ไม่ให้มีอนภุ าคแข็งพงุ่ ออกสบู่ รรยากาศโดยรอบ

หมายเหตุ ฟิ วส์ถูกออกแบบเพือ่ ใหก้ ๊าซทีเ่ กิดขึ้นไม่ทําให้ฉนวนในส่วนทีอ่ ยู่รอบตวั นําหลอมละลายลกุ ไหมห้ รือ
เสียหาย ทงั้ นีร้ ะยะห่างระหว่างช่องระบายก๊าซและฉนวนหรือส่วนทีเ่ ป็นตวั นําตอ้ งเป็นไปตามคํา แนะนําของ
บริษัทผูผ้ ลิต

ฟิ วส์ควบ (Multiple Fuse) หมายถึง ชดุ ประกอบสําเร็จท่ีมีฟิวส์เดยี่ วตงั้ แต่ 2 อนั ขนึ ้ ไป

1.99 อุปกรณ์สวิตช์ (Switching Device) หมายถึง อปุ กรณ์ที่ออกแบบเพ่ือสบั -ปลดวงจร
ซงึ่ อาจจะเป็ นวงจรเด่ียวหรือหลายวงจรก็ได้ ได้แก่

เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) หมายถึง อปุ กรณ์สวิตช์ซึง่ มีคณุ สมบตั ิในสภาวะ
ปกติสามารถนํากระแสและสับ-ปลดวงจร ตามพิกัดได้โดยปลอดภัย และในสภาวะวงจร
ผิดปกติ เช่น เกิดการลดั วงจรต้องสามารถทนกระแสและตดั กระแสลดั วงจรได้ตามท่ีกําหนด

คัตเอาต์ (Cutout) หมายถึง ชุดประกอบสําเร็จของท่ีรองรับฟิ วส์ ซึง่ อาจมีตวั ยึดฟิ วส์ ตวั รับ
ฟิ วส์ หรือใบมีดปลดวงจรอย่างใดอย่างหนึ่ง ตวั ยึดฟิ วส์หรือตวั รับฟิ วส์ อาจมีส่วน ประกอบ
นํากระแส (ไส้ฟิ วส์) รวมอย่ดู ้วย หรืออาจทําหน้าที่เป็ นใบมีดปลดวงจรโดยร่วม กบั ส่วนท่ีไม่
หลอมละลาย

สวติ ช์ปลดวงจร (Disconnecting Switch, Isolating Switch, Disconnector or Isolator)
หมายถึง อปุ กรณ์สวิตช์ทางกลซึ่งออกแบบให้ใช้สําหรับปลดวงจรหรือบริภณั ฑ์ออกจาก
แหลง่ จ่ายไฟ

เคร่ืองปลดวงจร (Disconnecting Means) หมายถึง อปุ กรณ์ กลมุ่ ของอปุ กรณ์ หรือวิธีอ่ืนๆ
ที่สามารถปลดตวั นําออกจากแหลง่ จ่ายไฟ

สวิตช์ตัดวงจร (Interrupter Switch) หมายถึง อุปกรณ์สวิตช์ซ่ึงออกแบบให้สามารถ
นํากระแสและสบั -ปลดวงจรได้ตามคา่ กระแสท่ีกําหนด

1-18 บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป

คัตเอาต์นํา้ มัน (Oil Cutout or Oil-Filled Cutout) หมายถึง คตั เอาต์ซงึ่ มีที่รองรับ ฟิ วส์ ไส้
ฟิ วส์ หรือใบมีดปลดวงจร ทงั้ หมดหรือบางส่วนติดตงั้ ในนํา้ มนั โดยหน้าสมั ผสั และส่วนหลอม
ละลายของฟิวส์ จะจมอยใู่ นนํา้ มนั ทงั้ หมด เพ่ือให้การดบั อาร์ก ซง่ึ เกิดจากการหลอมละลายของ
ไส้ฟิวส์ หรือการเปิ ดหน้าสมั ผสั จะเกิดอยใู่ นนํา้ มนั

สวิตช์นํา้ มัน (Oil Switch) หมายถึง สวิตช์ท่ีมีหน้าสมั ผสั ทํางานในนํา้ มนั (หรือแอสคาเรล หรือ
ของเหลวที่เหมาะสมอื่น)

สวติ ช์ลัดผ่านเรกูเลเตอร์ (Regulator Bypass Switch) หมายถึง อปุ กรณ์เฉพาะ หรือกลมุ่
ของอปุ กรณ์ท่ีออกแบบให้ลดั ผา่ นเรกเู ลเตอร์

กับดักเสิร์จ (Surge Arrester or lightning arrester) หมายถึง อปุ กรณ์ป้ องกนั สําหรับจํากดั
แรงดนั เสิร์จโดยการดีสชาร์จ หรือสําหรับเบี่ยงกระแสเสิร์จ เพื่อป้ องกันเครื่องสําเร็จทางไฟฟ้ า
จากแรงดนั ชวั่ ครู่

ตอน ค. ข้อกาํ หนดทั่วไปสําหรับการตดิ ตั้งทางไฟฟ้ า

1.101 การต่อทางไฟฟ้ า (Electrical Connection)

การตอ่ สายตวั นํา ต้องใช้อปุ กรณ์ต่อสายและวิธีการตอ่ สายที่เหมาะสม โดยเฉพาะการต่อตวั นําท่ี
เป็ นโลหะตา่ งชนิดกนั ต้องใช้อปุ กรณ์ตอ่ สายท่ีสามารถใช้ตอ่ ตวั นําตา่ งชนิดกนั ได้

1.101.1 ขัว้ ต่อสาย (Terminals)
การตอ่ ตวั นําเข้ากบั ขวั้ ตอ่ สาย ต้องเป็ นการตอ่ ท่ีดีและไม่ทําให้ตวั นําเสียหาย ขวั้ ตอ่ สายต้องเป็ น
แบบบีบ หรือแบบขันแน่นด้วยหมุดเกลียวหรือแป้ นเกลียว ในกรณีท่ีสายขนาดไม่ใหญ่กว่า 6
ตร.มม. อนญุ าตให้ใช้สายพนั รอบหมดุ เกลียว หรือ เดอื ย เกลยี ว (stud) ได้ แล้วขนั ให้แนน่

1.101.2 การต่อสาย (Splices)
ต้องใช้อปุ กรณ์สําหรับการตอ่ สายท่ีเหมาะสมกบั งาน หรือโดยการเชื่อมประสาน (brazing) การ
เชื่อม (welding) หรือการบดั กรี (soldering) ท่ีเหมาะสมกบั สภาพการใช้งาน หากใช้วิธีการ
บดั กรีต้องตอ่ ให้แน่นทงั้ ทางกลและทางไฟฟ้ าเสียก่อนแล้วจึงบดั กรีทบั รอยตอ่ ปลายสายท่ีตดั ทิง้
ไว้ต้องมีการห้มุ ฉนวนด้วยเทปหรืออปุ กรณ์ท่ีทนแรงดนั ไฟฟ้ าได้เทียบเทา่ กบั ฉนวนของสาย และ
เหมาะสมกบั การใช้งาน

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดท่ัวไป 1-19

หมายเหตุ อนโุ ลมให้ใช้วิธีต่อสายโดยตรงดว้ ยการพนั เกลียวสําหรับสายแกนเดียวทีม่ ีขนาดไม่ใหญ่กว่า
2.5 ตร.มม.

1.102 ท่วี ่างเพ่ือปฏบิ ัตงิ านสาํ หรับบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า

ต้องจดั ให้มีที่ว่างและทางเข้าอย่างเพียงพอ เพ่ือปฏิบตั ิงานและบํารุงรักษาบริภณั ฑ์ไฟฟ้ าได้
โดยสะดวกและปลอดภยั ทงั้ นีท้ ี่วา่ งดงั กลา่ วห้ามใช้สาํ หรับเก็บของ

ตอน ก. สาํ หรับระบบแรงตาํ่

1.102.1 ท่วี ่างเพ่ือปฏบิ ัตงิ าน
ท่ีว่างเพื่อปฏิบตั ิงานสําหรับบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า ที่มีโอกาสตรวจสอบ ปรับแต่งหรือบํารุงรักษาขณะมี
ไฟ ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 0.75 เมตรและไม่น้อยกว่าขนาดความกว้างของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
และความลึกต้องเป็ นไปตามที่กําหนดในตารางที่ 1-1 และที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงานต้องพอเพียง
สาํ หรับการเปิ ดประตตู ้หู รือฝาต้ไู ด้อยา่ งน้อย 90 องศาในทกุ กรณี

คอนกรีต อิฐ ผนงั กระเบือ้ ง ให้ถือวา่ เป็ นสว่ นที่ตอ่ ลงดนิ

1.102.2 การวัดความลกึ
ความลกึ ให้วดั จากสว่ นที่มีไฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อยู่ หรือวดั จากด้านหน้าของเคร่ืองห่อห้มุ ถ้าสว่ นที่
มีไฟฟ้ ามีการหอ่ ห้มุ

1.102.3 ทางเข้าท่วี ่างเพ่อื ปฏบิ ัตงิ าน

1.102.3.1 ต้องมีทางเข้าขนาดกว้างไม่น้อยกวา่ 0.60 เมตร และสงู ไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร ที่จะ
เข้าไปถึงท่ีวา่ งเพ่ือปฏิบตั งิ านกบั บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า ได้อยา่ งน้อยหนงึ่ ทาง

1.102.3.2 สาํ หรับแผงสวิตช์และแผงควบคมุ ท่ีมีพิกดั กระแสตงั้ แต่ 1,200 แอมแปร์ขนึ ้ ไป และ
กว้างเกิน 1.80 เมตร ต้องมีทางเข้าทงั้ สองข้างของแผงที่มีความกว้างไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร
และความสงู ไม่น้อยกวา่ 2.00 เมตร

ข้อยกเว้นท่ี 1 ถา้ ดา้ นหนา้ ของแผงสวิตช์หรือแผงย่อยเป็นทีว่ ่าง สามารถออกไปยงั ทางเข้าไดโ้ ดยตรงและไม่
มีส่ิงกีดขวาง อนญุ าตใหม้ ีทางเข้าทีว่ ่างเพือ่ ปฏิบตั ิงานทางเดียวได้

ข้อยกเว้นที่ 2 ในกรณีทีว่ ่างเพือ่ ปฏิบตั ิงานมีความลึกเป็น 2 เท่าทีก่ ําหนดในขอ้ 1.102.1 มีทางเข้าทีว่ ่างเพือ่
ปฏิบตั ิงานทางเดียวได้ ทางเข้าตอ้ งอยู่ห่างจากแผงสวิตช์หรือแผงย่อยไม่น้อยกว่าทีก่ ําหนด
ในตารางที่ 1-1 ดว้ ย

1-20 บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป

ตารางท่ี 1-1
ความลกึ (Depth) ต่าํ สุดของท่วี ่างเพ่อื ปฏบิ ัตงิ านกับบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า ระบบแรงต่าํ

แรงดนั ไฟฟ้ า กรณีท่ี 1 ความลกึ ต่าํ สุด (เมตร) กรณีท่ี 3
วดั เทยี บกับดนิ (โวลต์) 0.90 กรณีท่ี 2 0.90
0.90 0.90 1.20
0-150 1.10
151-600

กรณีท่ี 1 มสี ว่ นที่มไี ฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อยทู่ างด้านหนงึ่ ของท่วี า่ งเพอ่ื ปฏิบตั ิงาน และอีกด้านหนง่ึ
ของท่วี า่ งเพอ่ื ปฏบิ ตั ิงานไมม่ ีทงั้ สว่ นที่มไี ฟฟ้ าและเปิดโลง่ และสว่ นท่ีตอ่ ลงดิน

หรือมีส่วนท่ีมีไฟฟ้ าและเปิ ดโล่งอย่ทู งั้ สองด้านของที่ว่างเพื่อปฏิบตั ิงาน แต่ได้มีการ
กนั้ ด้วยวสั ดทุ เ่ี หมาะสมเชน่ ไม้ หรือวสั ดฉุ นวนอ่ืน

สายไฟฟ้ าห้มุ ฉนวนหรือบสั บาร์ห้มุ ฉนวนที่มีแรงดนั ไฟฟ้ าไม่เกิน 300 โวลต์ ให้ถือว่า
เป็นสว่ นท่ีไมม่ ไี ฟฟ้ า

กรณีท่ี 2 มสี ว่ นที่มีไฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อย่ทู างด้านหนง่ึ ของท่ีวา่ งเพ่ือปฏิบตั ิงาน และอีกด้านหน่ึง
ของที่วา่ งเพ่อื ปฏบิ ตั ิงานเป็นสว่ นทีต่ อ่ ลงดนิ

กรณีท่ี 3 มีส่วนที่มีไฟฟ้ าและเปิ ดโล่งอย่ทู งั้ สองด้านของท่ีวา่ งเพ่ือปฏิบตั ิงาน (ไมม่ ีการกนั้ ตาม
กรณีท่ี 1) โดยผ้ปู ฏิบตั งิ านจะอย่รู ะหวา่ งนนั้

ข้อยกเว้นที่ 1 บริภณั ฑ์ทีเ่ ขา้ ถึงเพือ่ ปฏบิ ตั ิงานไดจ้ ากดา้ นอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นหลงั ไม่ตอ้ งมีทีว่ ่างเพือ่
ปฏิบตั ิงานดา้ นหลงั ของบริภณั ฑ์ก็ได้

ข้อยกเว้นท่ี 2 ส่วนทีม่ ีไฟฟ้ าและเปิ ดโล่ง มีแรงดนั ไม่เกิน 30 VAC. หรือ 60 VDC. และ
สามารถเข้าถึงได้ ทีว่ ่างเพือ่ ปฏิบตั ิงานอาจเล็กกว่าทีก่ ําหนดได้ แต่ตอ้ งไดร้ ับ
ความเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ ก่อน

ข้อยกเว้นที่ 3 บริภณั ฑ์ทีเ่ ข้าถึงเพือ่ ปฏิบตั ิงานจากด้านอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นหลงั ไม่ตอ้ งมีทีว่ ่างเพือ่
ปฏิบตั ิงานดา้ นหลงั ของบริภณั ฑ์ก็ได้ ในทีซ่ ่ึงตอ้ งเข้าถึงดา้ นหลงั เพือ่ ทํางานใน
ส่วนทีไ่ ดป้ ลดวงจรไฟฟ้ าออกแลว้ ตอ้ งมีทีว่างเพือ่ ปฏิบตั ิงานในแนวนอนไม่นอ้ ย-
กว่า 0.75 เมตร ตลอดแนวของบริภณั ฑ์

1.102.4 แสงสว่าง
เมนสวิตช์ แผงสวิตช์และแผงย่อย หรือเครื่องควบคมุ มอเตอร์ เม่ือตดิ ตงั้ อย่ใู นอาคาร ต้องมีแสง
สว่างบริเวณท่ีว่างเพื่อปฏิบตั ิงานอย่างเพียงพอที่จะปฏิบตั ิงานได้ทนั ที โดยท่ีความส่องสว่าง
เฉลย่ี ไมน่ ้อยกวา่ 200 ลกั ซ์ ยกเว้น เมนสวิตช์หรือแผงย่อย (เดีย่ วหรือกล่มุ ) ในสถานทีอ่ ยู่อาศยั
มีขนาดรวมกนั ไม่เกิน 100 แอมแปร์

บทท่ี 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป 1-21

1.102.5 ท่วี ่างเหนือพืน้ ท่เี พ่อื ปฏบิ ัตงิ าน (Headroom)

บริเวณท่ีวา่ งเพื่อปฏิบตั งิ านสําหรับเมนสวิตช์ แผงสวิตช์และแผงย่อย หรือเครื่องควบคมุ มอเตอร์
ต้องมีความสงู ไมน่ ้อยกวา่ 2.00 เมตร และสว่ นบนของแผงสวิตช์ต้องอยหู่ ่างจากเพดานตดิ ไฟได้
ไม่น้อยกวา่ 0.90 เมตร หากเป็ นเพดานไม่ติดไฟ หรือมีแผน่ กนั้ ท่ีไม่ติดไฟระหวา่ งแผงสวิตช์กบั
เพดาน ระยะหา่ งระหวา่ งสว่ นบนของแผงสวติ ช์และเพดานต้องไม่น้อยกวา่ 0.60 เมตร ยกเว้น เมน
สวิตช์หรือแผงย่อย ในสถานทีอ่ ยู่อาศยั มีขนาดรวมกนั ไม่เกิน 200 แอมแปร์

ตอน ข. สาํ หรับระบบแรงสูง

1.102.6 ท่วี ่างเพ่ือปฏบิ ัตงิ าน

ต้องมีท่ีว่างเพื่อปฏิบตั ิงานอย่างเพียงพอที่จะปฏิบตั ิงานได้สะดวกและปลอดภยั ในการบํารุงรักษา
บริภณั ฑ์ ในท่ีซงึ่ มีสว่ นท่ีมีไฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อยู่

ที่ว่างเพ่ือปฏิบตั ิงานต้องมีความสงู ไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร กว้างไม่น้อยกว่า 0.90 เมตร และ
ความลกึ ต้องเป็ นไปตามท่ีกําหนดในตารางที่ 1-2 และท่ีวา่ งเพื่อปฏิบตั ิงานต้องพอเพียงสําหรับ
การเปิ ดประตตู ้หู รือฝาต้ไู ด้อยา่ งน้อย 90 องศา ในทกุ กรณี

คอนกรีต อิฐ ผนงั กระเบือ้ ง ให้ถือวา่ เป็ นสว่ นที่ตอ่ ลงดนิ

1.102.7 การวัดความลึก

ความลกึ ให้วดั จากสว่ นท่ีมีไฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อยู่ หรือวดั จากด้านหน้าของเครื่องหอ่ ห้มุ

1.102.8 ทางเข้าถงึ ท่วี ่างเพ่อื ปฏบิ ัตงิ าน

ทางเข้าถงึ ที่วา่ งเพื่อปฏิบตั งิ าน ต้องมีอยา่ งน้อย 1 ทาง ท่ีมีความกว้างไม่น้อยกวา่ 0.60 เมตร และ
ความสงู ไมน่ ้อยกวา่ 2.00 เมตร

1.102.8.1 เมื่อมีตวั นําเปลือยไม่ว่าระดบั แรงดนั ใด หรือตวั นําหุ้มฉนวนที่มีแรงดนั มากกว่า
1,000 โวลต์ อยใู่ กล้เคยี งกบั ทางเข้า ต้องมีการกนั้ ตามข้อ 1.103

1.102.8.2 ต้องมีบนั ไดถาวรท่ีเหมาะสมในการเข้าไปยงั ที่ว่างเพ่ือปฏิบตั ิงานในกรณีท่ีบริภณั ฑ์
ตดิ ตงั้ แบบยกพืน้ ชนั้ ลอย หรือในลกั ษณะเช่น เดยี วกนั

1-22 บทที่ 1 นิยามและข้อกาํ หนดทั่วไป

ตารางท่ี 1-2
ความลกึ (Depth) ต่าํ สุดของท่วี ่างเพ่อื ปฏบิ ตั งิ านกับบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า ระบบแรงสูง

แรงดนั ไฟฟ้ า กรณีท่ี 1 ความลกึ ต่าํ สุด (เมตร) กรณีท่ี 3
วดั เทยี บกับดนิ (โวลต์) 0.90 กรณีท่ี 2 1.50
1.20 1.20 1.80
601-2,500 1.50 1.50 2.80
2,501-9,000 1.80 1.80 3.00
9,001-25,000 2.50
2,5001-75,000

กรณีท่ี 1 มีสว่ นท่ีมีไฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อยทู่ างด้านหนง่ึ ของที่วา่ งเพอื่ ปฏิบตั ิงาน และอีกด้านหนงึ่
ของทวี่ า่ งเพอื่ ปฏบิ ตั ิงานไมม่ ีทงั้ สว่ นท่มี ีไฟฟ้ าและเปิดโลง่ และสว่ นท่ตี อ่ ลงดนิ

หรือมสี ว่ นทมี่ ไี ฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อย่ทู งั้ สองด้านของที่ว่างเพ่ือปฏิบตั ิงานแตไ่ ด้มีการกนั้
ด้วยวสั ดทุ ีเ่ หมาะสม เชน่ ไม้ หรือวสั ดฉุ นวนอื่น

สายไฟฟ้ าห้มุ ฉนวนหรือบสั บาร์ห้มุ ฉนวนท่ีมีแรงดนั ไฟฟ้ าไม่เกิน 300 โวลต์ ให้ถือว่า
เป็นสว่ นที่ไมม่ ีไฟฟ้ า

กรณีท่ี 2 มีสว่ นที่มไี ฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อย่ทู างด้านหนง่ึ ของท่ีว่างเพ่ือปฏิบตั ิงาน และอีกด้านหนงึ่
ของทวี่ า่ งเพื่อปฏิบตั งิ านเป็นสว่ นทีต่ อ่ ลงดิน

กรณีท่ี 3 มีส่วนท่ีมีไฟฟ้ าและเปิ ดโลง่ อย่ทู งั้ สองด้านของที่ว่างเพ่ือปฏิบตั ิงาน (ไม่มีการกนั้ ตาม
กรณีท่ี 1) โดยผ้ปู ฏบิ ตั ิงานจะอย่รู ะหวา่ งนนั้

ยกเว้น บริภณั ฑ์ทีเ่ ขา้ ถึงเพือ่ ปฏิบตั ิงานจากดา้ นอืน่ ทีไ่ ม่ใช่ดา้ นหลงั ไม่ตอ้ งมีทีว่ ่างเพือ่ ปฏิบตั ิ
งานด้านหลงั ของบริภณั ฑ์ก็ได้ ในทีซ่ ึ่งตอ้ งเข้าถึงทางดา้ นหลงั เพือ่ ทํางานในส่วนที่
ไดป้ ลดวงจรไฟฟ้ าออกแล้ว ต้องมีที่ว่างเพือ่ ปฏิบตั ิงานในแนวนอนไม่น้อยกว่า 0.75
เมตร ตลอดแนวของบริภณั ฑ์

1.102.9 แผงสวิตช์และแผงควบคมุ ท่ีมีความกว้างเกิน 1.80 เมตร ต้องมีทางเข้าทงั้ สองข้าง
ของแผงสวิตช์ ยกเว้น เมือ่ ดา้ นหนา้ ของตูอ้ ปุ กรณ์ ไม่มีส่ิงกีดขวาง หรือมีทีว่ ่างเพือ่ ปฏิบตั ิ งาน
เป็นสองเท่าของทีก่ ําหนดไวใ้ นตารางที่ 1-2 ยอมใหม้ ีทางเข้าทางเดียว ส่วนทีม่ ีไฟฟ้ าและเปิ ดโล่ง
และอยู่ใกลก้ บั ทางเข้าทีว่ ่างเพือ่ ปฏิบตั ิงานตอ้ งมีการกนั้ อย่างเหมาะสมตามขอ้ 1.103

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด