กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ต่างๆ

������������ҧ���ɰ�Ԩ ����Ӥѭ

������������ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ����ȵ�ҧ � �Դ�Ҩҡ��ä�������ҧ����ȷ���� �ѭ���Դ�ҡ ������к��ѵ���š����¹��ҧ�ѹ ������Թ��ҵ�ҧ�ѹ �����˵ع������ � ����Ȩ֧�ѹ��������͡ѹ �֧�Դ�繡�������ɰ�Ԩ��ٻẺ��ҧ � �ѧ���

1. �ӹѡ�ҹ��͵�ŧ�������Ҵ��¡�ä����С���������ҡ� (General Agreement on Trade and Tariff : GATT) �繡�����������ҧ���ɰ�Ԩ�����ҧ����� �Դ��� ��ѧʧ�����š ���駷�� 2 ����ͻ� �.�. 2490 ���ӹѡ�ҹ�˭������� ��اਹ��� ��������������Ź�� ����Ҫԡ������á 23 ����� ������Ҫԡ ����ȷ�� 104
����ͻ� �.�.2504

2. ͧ���ä���š (World Trade Organization : WTO) ͧ���ä���š
�Դ�Ҩҡ ��� ��Ъ���ͺ���ء��� ��������·���������ȷ��Ѳ������¡��ԡ��͡մ�ѹ�ҧ��ä�ҷ�������� ��������ٻẺ ��ä���繡���觢ѹ���ҧ�����ҡ��� ��ô��Թ����蹹�����ȷ��Ѳ������ �������¼Ż���ª�� �֧��ͧ����¤��������������ç��ѡ�ѹ�ҡ����ȵ�ҧ � ��������ѹ ��䢻ѭ�ҡ�ä�������ҧ����� �Ӥ�����ŧ��ࡳ���ҧ � ���Ѵਹ

3. ��Ҵ����������û (European Economic Community : EEC)
�繡�� �������� ������ͷҧ���ɰ�Ԩ�����ҧ����ȷҧᶺ���û ��駢������ͻ� 2501 ����Ҫԡ������� ���»���� ���� ������� �����ѹ���ѹ�� �Ե��� �������� ������Ź�� ����ѡ������ �����ѧ�ҡ����ջ���� ᶺ���û�������Ҫԡ��������� �� �ѧ��� ഹ���� �����Ź�� ��ի ��е�á�

4. ��Ҥ�ࢵ��ä������������û (European Free Trade Association : EFTA)
�繡�������������������ͷҧ���ɰ�Ԩ �»��������û������������Ҫԡ�ͧ����� ��Ҵ���� (EEC) ���ͨ������ӹҨ㹡�õ���ͧ�Ѻ��Ҵ�������û㹻ѭ������ǡѺ��ä�� �������ä��������� ���û (EFTA) ��駢��㹻� 2503 ��Ҫԡ��Сͺ���� �ѧ��� ��������� ഹ���� �������� ���ഹ ���������Ź�� ����õ���

5. ��������ɰ�Ԩ㹻�������û���ѹ�͡ (Comecon)
�繡��������������� ������к� �����ǹ�ʵ� �����˵ؼ��Ҩҡ������ͧ����ѷ�ԡ�û���ͧ ������ͧ���������ѹ
���͡�ä�� ���� �������������᡹�ӡ���� �����������������ͷҧ����Թ������ɰ�Ԩ �Ѻ��������㹡���� ����ȷ������Ҫԡ ���� ������ ����������� ��š����� ��Ź�� ������� �ѧ���� �������

6. ��Ҥ���ä������¹ (Association of Southeast Asean Nation : ASEAN)
�繡�� ���������ѹ�ͧ����ȫ�������ᶺ����µ��ѹ�͡��§�� ��駢������� �.�. 2510 �������Ҫԡ�á �� 6 ����� ��Сͺ���� �Թⴹ���� �ԧ����� ������� ���Ի�Թ�� �� ��к��� �ջ�������� ���������������������ѧ��� ��� ���´��� ��о��� ����ӴѺ ����� 㹻� 2535 �ա�û�Ъ���ش�ʹ ����ԧ����� ��ŧ���ࢵ��ä����������¹���ͷ�����¡��� AFTA ��������Թ��Ңͧ�������Ҫԡ����͹���� ���ҧ���աѹ�����㹡����

7. �ӹѡ�ҹ�ͧ�ع����Թ�����ҧ����� (International Monetary Fund : IMF)
��ͧ���êӹҭ����ɢͧͧ�����˻�ЪҪҵ� (United National) ��͡��Դ㹢������ �Ѻ ������ա�á�͵�� ���Ҥ�����͡�ÿ�鹿���оѲ�Ҕ (International Bank for Resconstruction and Development : IBRD ���ͷ�����¡�ѹ���� � ���Ҹ�Ҥ���š) ����Ԣͧ��û�Ъ���˭�ͧ �˻�ЪҪҵ� 㹴�ҹ�Թ��� (Monetary) ��С���Թ (Financial) ������ͧ Bretton Wood ����Ѱ����ԡ� ����ͻ� �.�. 2487 �� IMF �����������ԡ������� �.�. 2490

8. ��Ҥ���š (World Bank)
��Ҥ���š �ժ����繷ҧ������ ��Ҥ�� �����ҧ ����� ���͡�ÿ�鹿���оѲ�� (The International bank for Reconstruction and Development : IBRD) ��駢������ͻ� �.�. 2490 ���ӹѡ�ҹ�˭��������ا�ͪԧ�ѹ ��.��.
���Ѱ����ԡ� �Ѩ�غѹ����Ҫԡ 127 ����� �����駻�����´���

9. ࢵ��ä����������ԡ��˹�� (The North America Free Trade Agreement : NAFTA)
���Ѱ����ԡ� ᤹Ҵ� �����硫�� ���èҵ�ŧ�����ѹ�繡�������ɰ�Ԩ ������ѹ��� 1 �ԧ�Ҥ� 2535 ��Ш��ռ���ѧ�Ѻ������ѹ��� 1 ���Ҥ� 2537 �繡��������� ���ɰ�Ԩ����բ�Ҵ�˭� ���ѹ�Ѻ�ͧ �ͧ�ҡࢵ���ɰ�Ԩ���û

10. ͧ���û���ȼ�����͡����ѹ (Organization of Petroleum Experting Countries : OPEC) ͧ���ù���͵�駢������ͻ� �.�. 2514 �ջ���ȫ�觼�Ե����ѹ ����Ҫԡ �����ѹ 13 ����� ���� �����ҹ ���ѡ ���ǵ ���ش�������� ��๫����� �Թⴹ���� �ҵ��� ����� �ҺٹҺ� ��Ũ����� 乨����� �ͤ�Ҵ��� ��С��ͧ �ش���ʧ��ͧ��èѴ��� ���͵�͵�ҹ ���Ŵ�Ҥҹ���ѹ�ͧ����ѷ����ѹ�����ҧ ����Ȣͧ����ȷ��Ѳ������

Ref : //www2.se-ed.net/nfed/economic/index_eco.html 14/02/2008

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ

หลักการการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

      ความสัมพันธ์ของการค้าระหว่างประเทศมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปจากการค้าในอดีต ทั้งในรูปแบบทางการค้า ขอบข่ายกิจกรรมทางการค้า ประเทศคู่ค้า และเทคโนโลยีสารสนเทศที่อำนวยความสะดวกทางการค้า การเจรจาทางการค้าเป็นเรื่องสำคัญ และเป้าหมายหลักของผู้เจรจาทางการค้าที่มาจากภาครัฐ คือ เพื่อสิทธิประโยชน์ทางการค้าของชาติตนเอง เนื่องจากการแข่งขันทางการค้า ประเทศต่าง ๆ จึงมีนโยบายและมาตรการที่ใช้บิดเบือนทางการค้า ซึ่งทำให้การค้าระหว่างประเทศขาดความเป็นธรรมและขาดความเป็นเสรี การเจรจาทางการค้านั้น มุ่งหวังว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนหรือลดหย่อนสิทธิพิเศษทางการค้า จัดทำข้อตกลงทางการค้า ความร่วมมือและพัฒนารูปแบบการค้า และเพื่อแก้ไขข้อพิพาททางการค้าระหว่างประเทศ รูปแบบการเจรจาต่อรองทางการค้านั้นสามารถแบ่งได้ตามระดับของการเจรจา คือ ทวิภาคี (Bilateral) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศต่อประเทศการเจรจามากฝ่าย (Plurilateral) อาทิเช่น การเจรจา 3 ฝ่าย หรือการเจรจา 4 ฝ่าย การเจรจาหลายฝ่ายหรือพหุภาคี (Multilateral) ซึ่งเป็นการเจรจาที่มีประเทศเข้าร่วมและใช้เวลายาวนานกว่าจะได้ข้อสรุป การเจรจาต่อรองทางการค้าเหล่านี้นำไปสู่ระดับความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างประเทศในรูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันระดับความสัมพันธ์ในระดับกลุ่มประเทศในภูมิภาคใกล้เคียงกันและมีข้อตกลงต่อกัน (Regional Trade Arrangements) เป็นกลุ่มเศรษฐกิจและเป็นเรื่องสำคัญต่อการพัฒนาที่นำไปสู่การค้าเสรีของโลก

รูปแบบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีได้หลายรูปแบบและมีวิวัฒนาการแตกต่างกันโดยแต่ละรูปแบบจะมีความเข้มข้นของความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันแตกต่างกันไป

1.  ข้อตกลงการให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (Preferential Tariff Agreement) เป็นข้อตกลงเพื่อลดภาษีให้แก่กันและกัน โดยอัตราภาษีที่เรียกเก็บจะน้อยกว่าอัตราภาษีที่เรียกเก็บจากประเทศที่สาม เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม LAIA (Latin American Integration Association), ASEAN และ Trade Expansion and Cooperation Agreement เป็นต้น

2.  สหภาพศุลกากรบางส่วน (Partial Customs Union) การรวมตัวทางเศรษฐกิจในรูปแบบนี้ประเทศที่ทำข้อตกลงกันยังคงอัตราภาษีไว้ในระดับเดิม แต่มีการกำหนดอัตราภาษีศุลกากรในการค้ากับประเทศภายนอกกลุ่มร่วมกัน (Common external tariff)

3.  เขตการค้าเสรี (Free Trade Areas) ในเขตการค้าเสรี การซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศภาคีสามารถทำได้อย่างเสรีปราศจากข้อกีดกันทางการค้า ทั้งมาตรการทางภาษี และมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี  ในขณะเดียวกัน แต่ละประเทศสมาชิกยังคงสามารถดำเนินนโยบายกีดกันทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่มได้อย่างอิสระ เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม EFTA, NAFTA และ CER เป็นต้น

4.  สหภาพศุลกากร (Customs Union) เป็นรูปแบบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่มีระดับความเข้มข้นสูงขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง โดยการรวมกลุ่มในลักษณะนี้นอกจากจะขจัดข้อกีดกันทางการค้าออกไปแล้ว ยังมีการกำหนดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรในการค้ากับประเทศภายนอกกลุ่มร่วมกัน และให้มีอัตราเดียวกันด้วย (Common external tariff) เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม MERCOSUR, Equatorial Customs Union and Cameroon และ African Common Market เป็นตัน

5.  ตลาดร่วม (Common Market) รูปแบบของการรวมกลุ่มประเภทนี้นอกจากจะมีลักษณะเหมือนกับสหภาพศุลกากรแล้ว การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต (แรงงาน ทุน และเทคโนโลยี) สามารถทำได้อย่างเสรี เช่น การรวมตัวกันของกลุ่ม EU ก่อนปี 1992

6.  สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) นอกจากจะมีการค้าเสรี การเคลื่อนย้าย ปัจจัยการผลิตอย่างเสรี และนโยบายการค้าร่วมแล้ว ยังมีการประสานความร่วมมือกันในการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ ทั้งนโยบายการเงิน และการคลังอีกด้วย เช่น การรวมตัวของกลุ่ม EU ในปัจจุบัน

7.  สหภาพทางเศรษฐกิจแบบสมบูรณ์ (Total Economic Union) เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจที่มีความเข้มข้นมากที่สุด จะมีการจัดตั้งรัฐบาลเหนือชาติ (Supranational government) และมีนโยบายทางเศรษฐกิจเดียวกัน

การมีข้อตกลงทางการค้าเสรีและบทบาทของ WTO

            แกตต์หรือองค์การการค้าโลก (WTO) ในปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์ที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ต้องการให้การค้าโลกดำเนินไปอย่างเสรี บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกันคือไม่มีการเลือกปฏิบัติ (Non-discrimination) ระหว่างประเทศภาคีสมาชิก การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคไม่ว่าจะอยู่ในรูปทวิภาคีหรือพหุภาคี  โดยข้อเท็จจริงนั้นเป็นสร้างความเป็นเสรีทางการค้ามากขึ้นระหว่างประเทศในกลุ่ม แต่ไม่อาจหลีกเลี่ยงการกีดกันทางการค้าต่อประเทศนอกกลุ่มไปได้  แต่เมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติของ WTO จะเห็นได้ว่า การรวมกลุ่มหรือการทำความตกลงทางการค้าระดับภูมิภาคเช่นนี้เป็นสิ่งที่ดำเนินการได้ ถือว่าเป็น “ข้อยกเว้น” (Exceptions) อย่างหนึ่งของ WTO ที่ประเทศภาคีสมาชิกสามารถเลือกปฏิบัติได้ (Non-MFN) ระหว่างประเทศในกลุ่มกับประเทศนอกกลุ่ม แต่จะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในบทบัญญัติ มิฉะนั้นอาจจะขัดกับพันธกรณีภายใต้ WTO ได้

            นับแต่มีการก่อตั้งแกตต์เมื่อปี 1947 จนกลายเป็น WTO ในปี 1995 ประเทศต่าง ๆ ได้มีการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจระดับภูมิภาคขึ้นมามากมายซึ่งแนวทางการดำเนินการเพื่อจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจนั้นกระทำได้หลายวิธีคือ  การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจตามมาตรา 24

                 บทบัญญัติขององค์การการค้าโลกที่เกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคระบุอยู่ในความตกลงแกตต์ 1994 มาตรา 24 วรรค 4 ถึงวรรค 9 ซึ่งยินยอมให้ประเทศที่เข้าร่วมในการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจนี้ไม่ต้องปฏิบัติตามพันธกรณีบางประการของแกตต์ได้  อย่างไรก็ตาม ในเชิงวิชาการถือว่ามาตรา 24 นี้ค่อนข้างจะมีรายละเอียดและมีความซับซ้อนมาก (detailed and complex criteria) บทบัญญัติหนึ่งในอีกหลายหลายบทบัญญัติของแกตต์

            การจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจตามมาตรา 24 นั้นมีอยู่ 3 รูปแบบคือ

(1)  สหภาพศุลกากร (Customs Union)

(2)  เขตการค้าเสรี (Free-trade Area)

(3)  ข้อตกลงชั่วคราวก่อนที่จะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี (Interim Agreement)

            โดยในการดำเนินการนั้นจะต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไข (criteria and conditions) ที่ระบุไว้ในมาตรา 24  ดังนี้

(1)  สหภาพศุลกากร (Customs Union)   วรรค 8 (a) ระบุว่าการจัดตั้งสหภาพศุลกากรนั้น จะต้อง

- เป็นการขจัดข้อจำกัดทางการค้า (trade restrictions) ระหว่างประเทศสมาชิกของสหภาพลงอย่างมาก (substantially eliminated)

- มีการกำหนดข้อจำกัดทางการค้าที่ใช้กับประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสหภาพให้เป็นรูปแบบเดียวกัน (uniform restrictions)

-   อัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าทั้งหมด (the whole) ที่ประเทศสมาชิกสหภาพใช้กับประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสหภาพจะต้องไม่สูงกว่า หรือมีความเข้มงวด (more restrictive) กว่าอัตราหรือระดับเดิมของแต่ละประเทศสมาชิกที่ใช้อยู่ก่อนการจัดตั้งสหภาพ  อย่างไรก็ตาม กระบวนการในการกำหนดอัตราภาษีเดียวกันต่อประเทศนอกกลุ่ม (common external tariff) อาจทำให้อัตราภาษีที่แต่ละประเทศผูกพันไว้กับแกตต์หรือ WTO ในสินค้าชนิดเดียวกันเพิ่มขึ้นหรือลดลงบ้างแล้วแต่กรณี วรรค 6 จึงกำหนดว่าหากจะต้องมีการชดเชยความเสียหายแก่ประเทศนอกกลุ่ม (compensatory adjustment) ก็ให้ดำเนินการตามมาตรา 28 (XXVIII) แต่การกำหนดวิธีการนี้ไว้ก็ไม่ได้หมายความว่า ประเทศที่จัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจจะต้องดำเนินการตามมาตรา 28 เสมอไป หมายความว่า หากประเทศนั้นๆ มิได้ปฏิบัติตามมาตรา 28 เพื่อชดเชยความเสียหายก็มิได้เป็นอุปสรรคต่อการจัดตั้งสหภาพแต่อย่างใด

(2)  เขตการค้าเสรี (Free-trade Area)

                   วรรค 8 (b) ระบุเงื่อนไขในการจัดตั้งเขตการค้าเสรีไว้น้อยกว่าการจัดตั้งสหภาพศุลกากร คือ กำหนดเพียงว่าจะต้องขจัดอัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าทั้งหลายระหว่างประเทศสมาชิกเขตการค้าลงอย่างมาก (substantially all the trade) เท่านั้น  แต่ละประเทศสามารถกำหนดอัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าที่ใช้กับประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกเขตการค้าได้โดยอิสระ แต่อัตราหรือระดับของอัตราภาษี ค่าธรรมเนียม และข้อจำกัดทางการค้าจะต้องไม่สูงหรือเข้มงวดกว่าเดิมก่อนที่จะเข้ามาร่วมกันจัดตั้งเขตการค้า

(3)  ข้อตกลงชั่วคราวก่อนที่จะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี (Interim Agreement)

                  เป็นข้อตกลงที่ประเทศที่เข้าร่วมมักใช้เพื่อเริ่มดำเนินการในการจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ เป็นข้อตกลงที่ใช้เพื่อการปรับตัว (transition) ของประเทศสมาชิกก่อนการจัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจ มาตรา 24 วรรค 5 (c) ระบุว่าประเทศที่ลงนามในข้อตกลงชั่วคราวนี้ต้องดำเนินการร่วมกันในการ

-          กำหนดแผนและตารางเวลา (plan and schedule) เพื่อจะจัดตั้งสหภาพศุลกากรหรือเขตการค้าเสรี

-          โดยต้องดำเนินการปรับตัวภายในระยะเวลาพอควรที่กำหนดไว้ (reasonable length of time)

เหตุผลของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ

            การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีจำนวนเพิ่มขึ้นมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น ความล่าช้าในการเจรจาในรอบอุรุกวัย ซึ่งทำให้ประเทศต่าง ๆ เกรงถึงการล่มสลายของการเจรจา และทำให้เกิดการรวมตัวเป็นกลุ่มเศรษฐกิจกันมากขึ้น  และรวมถึงการขยายขนาดของกลุ่มเศรษฐกิจที่มีอยู่แล้วเดิม  โดยการรับสมาชิกเพิ่มเติม อีกเหตุผลหนึ่งของการเพิ่มขึ้นของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ คือ การมีวิวัฒนาการของการก่อตัวของเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือจากเดิมเป็นลักษณะทวิภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกาและแคนาดา เป็น NAFTA ซึ่งรวมเม็กซิโกไว้ด้วยในปี 1994 ในขณะที่กลุ่มสหภาพยุโรปเริ่มมีการปรับรับสมาชิกเพิ่มเติม และพัฒนาก้าวสู่ความเป็นยุโรปตลาดเดียว พัฒนาการจากทั้งสองกลุ่มเศรษฐกิจใหญ่กระตุ้นให้โดยเฉพาะประเทศเล็กที่กำลังพัฒนาก่อตัวเป็นกลุ่มเศรษฐกิจมากขึ้น  นอกจากนั้น นานาประเทศตระหนักว่าการที่มีตลาดใหญ่ การร่วมใช้ทรัพยากร การแบ่งงานกันทำอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะประเทศที่อยู่ในอาณาบริเวณใกล้เคียงกันจะนำไปสู่พัฒนาการทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งและสามารถแข่งขันกับตลาดใหญ่ๆ ได้

กลุ่มเศรษฐกิจที่สำคัญในภูมิภาคต่างๆ ของโลก มีดังนี้

            1. สหภาพยุโรป EU

            2. เขตการค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา FTAA

            3. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ NAFTA

            4. กลุ่มตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง MERCOSUR

            5. กลุ่มประชาคมแอนเดียน Andean Community

            6. ประชาคมเพื่อการพัฒนาแอฟริกาตอนใต้ SADC

            7. สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ASEAN

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด