Hierarchical database model ม การจ ดเก บข อม ลอย างไร

หรือเขยี นได้เป็น N:Mแสดงว่าขอ้ มูลเพียงหนง่ึ ข้อมลู ของเอนทิตแี้ รก มคี วามสมั พนั ธ์กับข้อมลู ในเอนทิตที้ ่ี

สองหลายข้อมูล และทำนอง เดยี วกัน ข้อมูลเพยี งหน่งึ ขอ้ มลู ของเอนทิตี้ที่สองมีความสัมพันธใ์ นทางกลับกัน

กบั ขอ้ มลู ในเอนทิต้ีที่แรกหลาย ข้อมลู

21

แบบฝึกหัด/เฉลย

ตอนที่ 1 คำส่งั จงตอบคำถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกตอ้ ง

1. จงอธบิ ายความหมายของข้อมูล

ข้อมูล (Data) หมายถึง ข่าวสาร ข้อความ ตัวเลข เลข และข้อเท็จจริงท่ีสนใจ ไม่ว่าจะ

เป็นคน สตั ว์ สง่ิ ของหรือเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ท่ียงั ไม่ประเมนิ หรือปรุงแต่ใหส้ ามารถนำไปใช้ได้ตรงกับ

ความตอ้ งการของผู้ใช้

2. จงบอกชนดิ ของขอ้ มูล

1. ข้อมูลตัวเลข (Numeric)

2. ข้อมูลอักขระ (Text)

3. ขอ้ มลู ภาพ (Image)

4. ขอ้ มลู เสยี ง (Sound)

3. จงบอกความหมายของระบบฐานขอ้ มูล

ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง การจัดเก็บข้อมูลทั้งหมดที่มีความสัมพนั ธ์

กันและเกี่ยวข้องกันไว้ในที่เดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล

โดยผา่ นระบบการจัดการฐานขอ้ มูลที่เรียกยอ่ ๆ ว่า DBMS (Database Management System)

ซ่ึงทำหนา้ ทเี่ ปน็ ตัวกลางระหวา่ งฐานข้อมูลกบั ผูใ้ ชฐ้ านข้อมลู

4. จงยกตวั อยา่ งกล่มุ ข้อมูลของฐานขอ้ มูลสถานศกึ ษาวา่ มอี ะไรบา้ ง

ตัวอยา่ งขอ้ มูลท่มี ีความสมั พนั ธก์ ัน

ช่ือฐานข้อมูล กลมุ่ ขอ้ มูล

บริษทั , องค์กร, หนว่ ยงาน - พนักงาน

- ลกู ค้า

- สนิ ค้า

- ใบสั่งสนิ คา้

- ท่ีอยขู่ องลกู ค้า

- หมายเลขโทรศัพท์ของลกู คา้

สถานศกึ ษา - นกั ศึกษา

- อาจารย์

- รายวชิ า

- การลงทะเบียน

- ผลการเรยี น

ห้องสมุด - รายชื่อหนงั สอื

- สมาชิก

- การยืมหนงั สอื

- การส่งคนื หนงั สือ

22

5. จงอธิบายองคป์ ระกอบของฐานขอ้ มูล 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. ข้อมูล (Data) 4. โพรซเี ยอร์ (Procedure) 5. ผใู้ ชง้ าน (Users)

6. จงอธิบายประโยชนข์ องระบบฐานข้อมลู 1. ลดความซำ้ ซ้อนของขอ้ มลู ได้ 2. สามารถหลกี เล่ยี งความขัดแยง้ ของขอ้ มลู ไดใ้ นระดับหนึ่ง 3. สามารถใช้ข้อมลู รว่ มกนั ได้ 4. สามารถควบคุมความเปน็ มาตรฐานได้ 5. สามารถจัดหาระบบความปลอดภยั ที่รัดกมุ ได้ 6. สามารถควบคุมความคงสภาพของขอ้ มูลได้ 7. สามารถสรา้ งสมดลุ ในความขัดแย้งของความตอ้ งการได้ 8. เกิดความเป็นอิสระของขอ้ มูล

7. จงบอกขั้นตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมลู ขน้ั ตอนการพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู 1. ขน้ั ตอนที่ 1 การวเิ คราะห์ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ 2. ข้ันตอนที่ 2 การออกแบบฐานข้อมูล 3. ขน้ั ตอนที่ 3 การออกแบบและพฒั นาโปรแกรม 4. ขนั้ ตอนท่ี 4 การทดสอบและประเมนิ ผล 5. ขั้นตอนที่ 5 การติดตัง้ ระบบ 6. ขน้ั ตอนท่ี 6 การบำรงุ รกั ษาและเพม่ิ ความตอ้ งการของระบบ 7. ขนั้ ตอนท่ี 7 การจัดทำเอกสารประกอบ

8. จงอธบิ ายขั้นตอนการวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของผู้ใชร้ ะบบฐานข้อมลู ขน้ั ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ความต้องการของผใู้ ช้ ข้นั ตอนนถี้ ือเปน็ ขัน้ ตอนแรก เปน็ การวิ เคราะหค์ วามต้องการของผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งกับระบบว่า ตอ้ งการขอ้ มลู อะไรบ้าง เอกสารและรายงานทีเ่ กีย่ วข้องในการดำเนินงานมีอะไรบา้ งทต่ี อ้ งการ และ สารสนเทศท่ีผูบ้ รหิ ารต้องการมขี อ้ มูลอะไรบ้าง มีลกั ษณะอย่างไร เปน็ ตน้ ข้นั ตอนน้ี จงึ เป็นขนั้ ตอน ที่ผู้พัฒนาระบบฐานข้อมูลจะต้องทำการวิเคราะห์ความต้องการต่าง ๆ ของผู้ใช้ เพื่อกำหนด จุดมุ่งหมาย ขอบเขต และกฎระเบียบตา่ ง ๆ ของฐานข้อมูล จะทำการวิเคราะห์ โดยแบ่งออกเปน็ ส่วนต่าง ๆ ดังน้ี

23

1.1 การวิเคราะหป์ ญั หา (Problem Analysis)

  1. ตอ้ งรสู้ ภาพแวดล้อมการทำงานภายในองค์กร
  2. ตอ้ งรโู้ ครงสร้างการดำเนนิ งานของบรษิ ัท

1.2 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)

  1. การศึกษาความเปน็ ไปได้ทางด้านเศรษฐศาสตร์ (Economic Feasibility)
  2. การศกึ ษาความเปน็ ไปไดท้ างดา้ นเทคนิค (Technical Feasibility)
  3. การศึกษาความเปน็ ไปได้ทางดา้ นการปฏิบตั ิงาน (Operational Feasibility)
  4. การศึกษาความเป็นไปไดท้ างดา้ นเวลาการดำเนนิ งาน (Schedule Feasibility)

9. จงอธบิ ายขนั้ ตอนการออกแบบฐานขอ้ มลู ขนั้ ตอนที่ 2 การออกแบบฐานขอ้ มูล เปน็ ขนั้ ตอนการนำเอารายละเอยี ดที่เกบ็ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากข้ันตอนแรก มาทำการออกแบบสร้างฐานข้อมูลขึ้น ซึ่งการออกแบบระบบนี้จะครอบคลุมถึงการออกแบบ โปรแกรมข้อมูลและฐานข้อมูลสำหรับการออกแบบโปรแกรมโดยส่วนใหญ่จะอาศัยแบบแปลน ท่ีเรยี กว่า Data - Flow Diagram เพื่อวเิ คราะห์ Input/Output และการทำงานของระบบ

  1. การออกแบบระดับความคิด (Conceptual)
  2. การออกแบบระดับตรรกะ (Logical)
  3. การออกแบบฐานขอ้ มูลในระดบั กายภาพ (physical design)

10. จงอธิบายข้นั ตอนการบำรงุ รกั ษาและเพม่ิ ความต้องการของระบบฐานขอ้ มูล ข้ันตอนท่ี 6 การบำรงุ รกั ษาและเพมิ่ ความต้องการของระบบ ขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างหนึ่งเพื่อให้ระบบทำงานได้อย่างต่อเนื่องตามท่ี ต้องการ แนวทางในการบำรุงรกั ษาระบบนี้นิยมใช้ 4 แนวทางดงั นี้

  1. การบำรุงรักษาเพอ่ื ให้มีความถูกตอ้ งเสมอ (Corrective maintenance) คอื การบำรุงรักษา และแก้ไขขอ้ ผิดพลาดของระบบทอี่ าจเกิดจากการออกแบบระบบ
  2. บำรุงรักษาเพื่อปรับเปลี่ยนตามความเปลี่ยนแปลง ( Adaptive maintenance) คือ การบำรุงรักษาเพื่อปรับเปลี่ยนระบบตามความเปลี่ยนแปลงของข้อมูลและความต้องการ ของผูใ้ ช้
  3. การบำรุงรักษาเพื่อให้ระบบทำงานมีประสิทธิภาพสูงสุด (Perfective maintenance) คือ การบำรุงรักษา โดยการปรับปรุงให้ระบบทำงานได้โดยมีประสิทธิภาพสูง และตอบสนอง ความตอ้ งการของผ้ใู ช้
  4. การบำรุงรักษาเพื่อป้องกัน (Preventive maintenance) คือ การบำรุงรักษา และ การตรวจสอบระบบโดยสมำ่ เสมอ

24

ตอนที่ 2 จงบอกความหมายของคำศพั ท์ต่อไปนี้

คำศพั ท์ ความหมาย คำศัพท์ ความหมาย Degree จำนวนเขตข้อมูลในหนึ่ง Relationship ความสมั พันธ์ ระเบยี น ขอบขา่ ยขอ้ มูล Cardinality จำนวนของขอ้ มลู ในแตล่ ะรเี ลชั้น Domain ตาราง Primary Key แฟ้มข้อมูล Row คียห์ ลัก Table ข้อมลู ของเอนทติ ้ีท่ีเก็บไว้แตล่ ะ Record ระเบยี น แถว File

ระเบยี น Tuple

ตอนที่ 3 จงเลอื กคาํ ตอบท่ถี ูกตอ้ งที่สดุ เพียงขอ้ เดยี ว

คำสัง่ จงทำเครื่องหมายกากบาท () หนา้ ขอ้ ทถ่ี ูกต้องมากที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. ขอ้ มูลชนิดใดทเ่ี ป็นขอ้ มลู อกั ขระ

ก. Numeric ข. Text ค. Image ง. Sound จ. Media 2. ข้อมลู ชนิดใดทีเ่ ป็นขอ้ มูลภาพ ก. Numeric ข. Text ค. Image ง. Sound จ. Media 3. ข้อใดหมายถงึ ฐานขอ้ มลู ก. Management ข. Database ค. Document ง. System จ. Data Type 4. กลมุ่ ข้อมูลใดอย่ใู นฐานขอ้ มูลสถานศึกษา ก. ลกู ค้า ข. สินคา้ ค. รายวชิ า

25

ง. รายชื่อหนังสือ จ. สมาชกิ 5. Database Management System มีคำยอ่ ว่าอะไร ก. DMS ข. DaMS ค. DMAS ง. DMSY จ. DBMS 6. ภาษาท่ีใช้ในระบบฐานข้อมูลส่วนใหญ่จะใช้ภาษาอะไร ก. DBA ข. SLL ค. SQL ง. DBM จ. DMSY 7. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ โปรแกรมจัดการระบบฐานขอ้ มูล ก. SQL ข. Oracle ค. FoxPro ง. Access จ. Word 8. ขน้ั ตอนการพัฒนาระบบฐานข้อมลู มกี ข่ี น้ั ตอน ก. 3 ขัน้ ตอน ข. 4 ข้ันตอน ต. 5 ขั้นตอน ง. 6 ขนั้ ตอน จ. 7 ข้ันตอน 9. ข้ันตอนการออกแบบฐานขอ้ มลู เป็นขน้ั ตอนทเ่ี ทา่ ไรของการพัฒนาระบบฐานขอ้ มูล ก. ขั้นตอนท่ี 1 ข. ข้ันตอนท่ี 2 ค. ขน้ั ตอนท่ี 3 ง. ข้นั ตอนท่ี 4 จ. ขัน้ ตอนที่ 5

26

10. ขอ้ ใดเป็นการวิเคราะห์ปญั หา ก. Problem Analysis ข. Feasibility Study ค. Economic Feasibility ง. Conceptual จ. Physical Design

เอกสารอ้างองิ หนังสอื เรียนวิชา ระบบจดั การฐานขอ้ มูล ของ สำนกั พิมพ์จิตรวฒั น์ (JW) กทม., 2563

ภาคผนวก (ถา้ มี)

27

ใบงานท่ี 1 หน่วยท่ี 1

รหสั วิชา 30204-2002 ช่ือวิชา ระบบจดั การฐานขอ้ มูล ภาคเรียนท่ี 1

ช่ือหน่วย หลกั การของระบบฐานข้อมลู เวลารวม 4 ชั่วโมง

ช่ืองาน หลักการของระบบฐานข้อมูล จำนวน 4 ชวั่ โมง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงคท์ ่ัวไป

1. เพอ่ื มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ระบบฐานขอ้ มูล

2. เข้าใจหลกั การและกระบวนเกีย่ วกับระบบฐานข้อมูล

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ) 1. บอกความหมายของฐานขอ้ มูลและระบบฐานข้อมูลได้ 2. อธบิ ายองค์ประกอบของฐานขอ้ มลู ได้ 3. อธิบายประโยชน์ของระบบฐานข้อมลู ได้ 4. อธิบายขนั้ ตอนการพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลได้ 5. อธิบายคำศัพท์ที่เกยี่ วข้องกบั ระบบฐานข้อมูลได้ 6. ปฏิบัติการเลือกใช้ระบบฐานข้อมูลให้เหมาะสมกับงานได้

สมรรถนะรายหน่วย

1 แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ระบบฐานขอ้ มูล

2 วางแผนจดั การเลือกใชร้ ะบบจัดการฐานขอ้ มูลตามลักษณะงาน

เครอื่ งมือ วสั ดุ – อุปกรณ์ 1. เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ PC หรอื Notebook 2. โปรเจ็คเตอร์ 3. หนังสือ

ลำดบั ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน 1. ใหน้ กั ศกึ ษาแบง่ กลุ่มตามความเหมาะสม เพ่ือศึกษาและอภิปราย 1.1 อธบิ ายความรู้เกี่ยวกบั หลกั การของระบบฐานข้อมลู 1.2 เขยี นรูปพร้อมอธบิ ายหลกั การของระบบฐานข้อมูล 2. เขียนอภปิ รายและวเิ คราะห์ใส่กระดาษ 3. นำผลงานสง่ ครูผู้สอนเพื่อประเมนิ ผล

ภาพประกอบ ขอ้ ควรระวัง

ผเู้ รยี นควรตรวจสอบข้อมูลก่อนใหถ้ ี่ถว้ น ละเอยี ด และรอบคอบก่อน เพือ่ ปอ้ งกันความผดิ พลาดกอ่ น การส่งงาน ข้อเสนอแนะ (ถา้ ม)ี นกั ศึกษาควรมภี าพประกอบการนำเสนองาน และสามารถอธบิ ายเน้ือหาให้สอดคล้องกบั ภาพให้ถูกต้อง

28

การประเมินผล (ต้องระบุเกณฑก์ ารประเมนิ ใหช้ ัดเจน) 1. สังเกตผูเ้ รียนมคี วามสนใจ เกิดความเขา้ ใจในสาระการเรยี นรู้ ตลอดจนแสดงความกระตือรอื ร้น ในการแสดงความคิดเห็นและสรปุ สาระการเรยี นรปู้ ระจำหนว่ ย 2. ทำใบงานได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ทันเวลาทก่ี ำหนด ใบงานสะอาดและเปน็ ระเบียบ 3. ผ้เู รยี นทำแบบฝกึ หัดหลังเรยี นไดถ้ กู ตอ้ ง โดยได้คะแนน 50% เปน็ อยา่ งตำ่

เอกสารอ้างอิง หนังสือเรียนวิชา ระบบจดั การฐานขอ้ มูล ของ สำนักพมิ พ์จิตรวัฒน์ (JW) กทม., 2563

29

ใบกิจกรรมที่ 1 หนว่ ยท่ี 1

รหสั วิชา 30204-2002 ชอื่ วชิ า ระบบจดั การฐานข้อมลู ภาคเรยี นที่ 1

ชอ่ื หนว่ ย หลักการของระบบฐานข้อมลู เวลารวม 4 ช่ัวโมง

ชอ่ื งาน หลักการของระบบฐานข้อมลู จำนวน 3 ช่ัวโมง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงคท์ ั่วไป

1. เพื่อมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ระบบฐานขอ้ มลู

2. เข้าใจหลกั การและกระบวนเก่ยี วกับระบบฐานข้อมูล

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ) 1. บอกความหมายของฐานข้อมลู และระบบฐานข้อมูลได้ 2. อธิบายองค์ประกอบของฐานข้อมูลได้ 3. อธบิ ายประโยชนข์ องระบบฐานข้อมูลได้ 4. อธิบายข้ันตอนการพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ได้ 5. อธิบายคำศพั ทท์ ่ีเก่ียวข้องกบั ระบบฐานข้อมูลได้ 6. ปฏบิ ตั กิ ารเลือกใชร้ ะบบฐานข้อมูลใหเ้ หมาะสมกับงานได้

สมรรถนะรายหนว่ ย

1 แสดงความรู้เกยี่ วกับระบบฐานข้อมูล

2 วางแผนจัดการเลือกใช้ระบบจัดการฐานขอ้ มูลตามลกั ษณะงาน

เคร่อื งมือ วัสดุ – อปุ กรณ์ 1. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ PC หรอื Notebook 2. โปรเจค็ เตอร์ 3. หนงั สือ

ลำดบั กจิ กรรม 1. ผู้เรียนตอ้ งใหค้ วามสนใจในการศึกษา เพื่อหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการงา่ ยเพ่ือใหห้ าคำตอบ

ได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว โดยการ ตั้งใจฟังหลักการ เทคนิควิธีการที่ครูผู้สอนสรุปในขณะที่ทำการ สอน และนำขอ้ สงสยั ซกั ถามครใู นการเรยี นทกุ ครั้งท่ีเกดิ ความสบั สน และไม่เข้าใจ

2. ผมู้ ีการทบทวนบทเรียน ตลอดเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอยา่ งแทจ้ รงิ 3. ผ้เู รียนหมน่ั ทำใบงาน แบบฝกึ หัด และแกไ้ ขข้อท่ผี ิดให้ถูกต้องเสมอ 4. ผู้เรียนต้องสร้างมโนภาพให้เกิดความคิดรวบยอดในสาระการเรียนรู้และเทคนิควธิ ีการพร้อมกบั ความจำเป็นในการนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดขึ้นโดยตนเองให้ได้เพื่อเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จรงิ ไม่ใชเ่ กิดจากการท่องจำ 5. ผู้เรียนต้องดำเนินการตามกิจกรรมหรืองานที่ได้รับมอบหมาย ให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่ กำหนด และฝึกฝนตนเองเสมอ เมือ่ ได้รบั มอบหมายงานมา การประเมินผล (ตอ้ งระบุเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจน)

30

1. สงั เกตผู้เรยี นมีความสนใจ เกดิ ความเขา้ ใจในสาระการเรยี นรู้ ตลอดจนแสดงความกระตอื รือรน้ ใน การแสดงความคิดเหน็ และสรุปสาระการเรยี นรปู้ ระจำหนว่ ย 2. ทำใบงานได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ทนั เวลาท่ีกำหนด ใบงานสะอาดและเปน็ ระเบยี บ 3. ผเู้ รียนทำแบบฝกึ หัดหลงั เรียนไดถ้ ูกต้อง โดยไดค้ ะแนน 50% เปน็ อย่างตำ่ เอกสารอา้ งองิ หนงั สือเรยี นวิชา ระบบจัดการฐานขอ้ มลู ของ สำนักพิมพ์จิตรวัฒน์ (JW) กทม., 2563

31

ใบปฏบิ ัตงิ านท่ี 1 หน่วยท่ี 1

รหสั วชิ า 30204-2002 ชอื่ วิชา ระบบจัดการฐานข้อมลู ภาคเรียนท่ี 1

ช่อื หนว่ ย หลักการของระบบฐานข้อมูล เวลารวม 4 ช่ัวโมง

ช่ืองาน หลักการของระบบฐานข้อมูล จำนวน 4 ชั่วโมง

จุดประสงค์การเรียนรู้

จุดประสงคท์ ั่วไป

1. เพ่ือมคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบฐานข้อมลู

2. เข้าใจหลกั การและกระบวนเกยี่ วกับระบบฐานข้อมลู

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ) 1. บอกความหมายของฐานขอ้ มลู และระบบฐานข้อมลู ได้ 2. อธบิ ายองค์ประกอบของฐานข้อมูลได้ 3. อธบิ ายประโยชน์ของระบบฐานขอ้ มูลได้ 4. อธิบายขั้นตอนการพฒั นาระบบฐานข้อมูลได้ 5. อธิบายคำศัพท์ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ระบบฐานขอ้ มูลได้ 6. ปฏิบตั กิ ารเลอื กใชร้ ะบบฐานขอ้ มูลใหเ้ หมาะสมกับงานได้

สมรรถนะรายหน่วย

1 แสดงความรู้เกีย่ วกบั ระบบฐานข้อมลู

2 วางแผนจัดการเลอื กใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลตามลักษณะงาน

เครอื่ งมือ วัสดุ – อปุ กรณ์ 1. เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ PC หรือ Notebook 2. โปรเจ็คเตอร์ 3. หนังสอื

ลำดับขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน 1. ผเู้ รยี นคน้ หาข้อมลู จากในอนิ เตอรเ์ น็ต ตามเรื่องท่ีไดร้ บั มอบหมายมาจาครูผู้สอน 2. เมือ่ ผูเ้ รียนได้รับข้อมลู เรียบร้อยแล้ว ให้ผเู้ รยี น นำข้อมูลน้นั มาเรยี บเรียงให้เป็นระเบียบ สวยงาม ให้ สามารถเขา้ ใจได้ง่าย โดยจัดทำในรปู แบบเล่มรายงาน

ภาพประกอบ ขอ้ ควรระวัง

ผเู้ รยี นควรตรวจสอบขอ้ มูลกอ่ นให้ถถ่ี ว้ น ละเอยี ด และรอบคอบก่อน เพื่อป้องกันความผดิ พลาดกอ่ น การส่งงาน ข้อเสนอแนะ

นกั ศึกษาควรมีภาพประกอบการนำเสนองาน และสามารถอธิบายเน้ือหาให้สอดคล้องกับภาพให้ ถกู ตอ้ ง

32

การประเมนิ ผล 1. สงั เกตผเู้ รียนมคี วามสนใจ เกดิ ความเข้าใจในสาระการเรียนรู้ ตลอดจนแสดงความกระตอื รือรน้ ใน การแสดงความคิดเหน็ และสรปุ สาระการเรยี นรู้ประจำหนว่ ย 2. ทำใบงานได้อยา่ งถูกตอ้ ง ทันเวลาที่กำหนด ใบงานสะอาดและเปน็ ระเบยี บ 3. ผู้เรียนทำแบบฝึกหดั หลังเรียนไดถ้ กู ต้อง โดยไดค้ ะแนน 50% เป็นอยา่ งต่ำ

เอกสารอ้างองิ หนังสือเรียนวิชา ระบบจัดการฐานข้อมลู ของ สำนกั พมิ พจ์ ติ รวฒั น์ (JW) กทม., 2563

33

ใบมอบหมายงานที่ 1 หน่วยท่ี 1

รหสั วิชา 30204-2002 ชือ่ วิชา ระบบจดั การฐานข้อมูล ภาคเรยี นท่ี 1

ช่อื หนว่ ย หลกั การของระบบฐานข้อมลู เวลารวม 4 ช่ัวโมง

ชื่องาน หลกั การของระบบฐานขอ้ มลู จำนวน 4 ช่ัวโมง

จุดประสงค์การเรียนรู้

จดุ ประสงค์ท่ัวไป

1. เพ่อื มคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับระบบฐานขอ้ มลู

2. เขา้ ใจหลกั การและกระบวนเกี่ยวกับระบบฐานข้อมลู

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) 1. บอกความหมายของฐานข้อมลู และระบบฐานข้อมลู ได้ 2. อธบิ ายองค์ประกอบของฐานข้อมลู ได้ 3. อธิบายประโยชนข์ องระบบฐานขอ้ มูลได้ 4. อธิบายขั้นตอนการพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลได้ 5. อธบิ ายคำศัพทท์ ่เี กย่ี วขอ้ งกับระบบฐานข้อมูลได้ 6. ปฏบิ ัติการเลือกใช้ระบบฐานข้อมูลใหเ้ หมาะสมกับงานได้

สมรรถนะรายหนว่ ย

1 แสดงความรู้เก่ยี วกบั ระบบฐานขอ้ มลู

2 วางแผนจัดการเลือกใช้ระบบจดั การฐานข้อมูลตามลกั ษณะงาน

เครือ่ งมือ วสั ดุ – อุปกรณ์ 1. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ PC หรอื Notebook 2. โปรเจ็คเตอร์ 3. หนงั สอื

แนวทางการปฏบิ ัตงิ าน 1. ให้ผ้เู รยี นปฏิบัติงานตามใบงาน ใบกิจกรรม ใบปฏบิ ตั งิ าน อย่างเคร่งครดั ตามหวั ขอ้ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ให้เสรจ็ ส้นิ ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด พร้อมท้งั การจัดทำรายงาน และนำเสนองานอย่าง ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น เป็นระเบยี บเรียบรอ้ ย 2. ให้ผู้เรียนแบ่งหน้าทีก่ ับเพ่อื นในกลุ่มใหช้ ดั เจน และสามารถเขา้ ใจเน้ือหาตามหัวขอ้ ดังกล่าว ได้ อย่างถูกตอ้ ง ครบถ้วน

ภาพประกอบ ขอ้ ควรระวัง

ผเู้ รยี นควรตรวจสอบขอ้ มูลกอ่ นใหถ้ ีถ่ ้วน ละเอียด และรอบคอบก่อน เพ่ือปอ้ งกันความผดิ พลาดก่อน การส่งงาน ขอ้ เสนอแนะ

34

นักศึกษาควรมีภาพประกอบการนำเสนองาน และสามารถอธบิ ายเน้อื หาให้สอดคลอ้ งกบั ภาพให้ ถูกตอ้ ง การประเมินผล

1. สังเกตผู้เรยี นมีความสนใจ เกดิ ความเข้าใจในสาระการเรยี นรู้ ตลอดจนแสดงความกระตอื รือรน้ ใน การแสดงความคิดเหน็ และสรปุ สาระการเรยี นรู้ประจำหน่วย 2. ทำใบงานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ทนั เวลาท่กี ำหนด ใบงานสะอาดและเปน็ ระเบยี บ 3. ผ้เู รียนทำแบบฝึกหดั หลังเรียนไดถ้ กู ตอ้ ง โดยไดค้ ะแนน 50% เปน็ อย่างตำ่ เอกสารอา้ งองิ หนังสอื เรียนวชิ า ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ของ สำนกั พิมพจ์ ิตรวัฒน์ (JW) กทม., 2563

35

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท.ี่ .............. 2..................................... จำนวน........4..........ชั่วโมง สัปดาห์ที่.....2....... ชื่อวิชา ระบบจัดการฐานขอ้ มลู ชอ่ื หนว่ ย สถาปัตยกรรมข้อมูลและแบบจำลองข้อมลู ชือ่ เร่อื ง สถาปตั ยกรรมขอ้ มลู และแบบจำลองขอ้ มูล

1. สาระสำคญั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทำสถาปัตยกรรมขอ้ มูล ก็เพอ่ื ต้องการใหม้ ุมมองของผู้ใช้ฐานข้อมูลแยกออกจาก

ฐานข้อมูลระดับภายใน ส่วนแบบจำลองข้อมูล จะเป็นเครื่องมือในเชิงแนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายข้อมูล โครงสรา้ งข้อมูล ความสมั พันธข์ องข้อมลู ความหมายของขอ้ มลู และเงือ่ นไขบงั คบั ความสอดคลอ้ งกนั ของขอ้ มูล

2. สมรรถนะประจำหนว่ ย 1. แสดงความรู้เก่ียวกับสถาปัตยกรรมขอ้ มลู และแบบจำลองขอ้ มูล 2. วางแผนการเลอื กใช้สถาปตั ยกรรมข้อมลู และแบบจำลองขอ้ มลู

3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงคท์ ่ัวไป 1. เพ่อื มคี วามรู้ความเข้าใจสถาปัตยกรรมขอ้ มลู และแบบจำลองขอ้ มูล 2. เข้าใจหลักการสถาปัตยกรรมข้อมลู และแบบจำลองขอ้ มูล 3.2 จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ) 1. บอกความหมายของสถาปตั ยกรรมของระบบฐานข้อมลู และแบบจำลองฐานขอ้ มลู ได้ 2. อธบิ ายวัตถปุ ระสงคข์ องการแบง่ สถาปตั ยกรรมฐานข้อมูลได้ 3. อธิบายแบบจำลองขอ้ มูลได้ 4. อธิบายรูปแบบของแบบจำลองฐานข้อมูลได้ 5. ปฏบิ ัติการเลอื กใช้สถาปัตยกรรมข้อมูลและแบบจำลองฐานข้อมูลให้เหมาะสมกับงานได้

4. สาระการเรียนรู้ 1. สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล 2. วัตถปุ ระสงคข์ องการแบ่งสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล 3. แบบจำลองขอ้ มลู (Data Model) 4. รปู แบบของแบบจำลองฐานขอ้ มลู

36

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่......2.........) กระบวนการจัดการเรียนรู้ 5.1 ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ผ้สู อนแนะนำเนอ้ื หาการเรยี นรู้ และแนวทางการเรยี นรู้ในหนว่ ยการเรียน 2. ผ้สู อนซกั ถามผู้เรียนเกย่ี วกับความรเู้ รอ่ื งสถาปัตยกรรมข้อมูลและแบบจำลองฐานข้อมูล 3. ผสู้ อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนแสดงความคดิ เห็น และทำการสนทนาแลกเปลยี่ นความรูร้ ะหว่างผสู้ อน

กับผู้เรยี น 5.2 ขน้ั สอน

1. ผู้สอนกำหนดใหผ้ เู้ รยี นไดศ้ ึกษารายละเอียด เรอ่ื งสถาปัตยกรรมขอ้ มลู และแบบจำลองฐานข้อมลู 2. ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความคดิ เหน็ และมีสว่ นรว่ มในการวเิ คราะหเ์ นอื้ หาท่ีเรียนรู้ โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รียน ไดม้ กี ารแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และมีสว่ นรว่ ม 5.3 ขน้ั สรปุ 1. ผู้สอนและผู้เรยี นสรุปเนื้อหาการเรียนรอู้ ีกครัง้ ด้วยการตั้งคำถาม และให้เหตุผลในการตอบคำถามใน แตล่ ะเนื้อหาเพ่ือทบทวนอีกครง้ั 2. มอบหมายภาระงาน และแบบฝกึ หดั 3. ปฏิบัติตามใบงาน ดงั น้ี 3.1 ให้ผ้เู รยี นแบ่งออกเปน็ 3 กลมุ่ กลุ่มละ 3-5 คน จัดทำแผนผังสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมลู แลว้ อภปิ ราย พรอ้ มทง้ั ยกตวั อย่าง 3.2 ให้ผเู้ รียนที่ได้จากการสมุ่ รายช่อื จากผสู้ อน อภปิ รายวัตถปุ ระสงค์ของการแบง่ สถาปัตยกรรม ฐานข้อมูล คนละ 1 ข้อ 3.3 ให้ผเู้ รียนแบง่ ออกเป็น 5 กล่มุ กลุ่มละ 3-5 คน จัดทำแผนผงั รูปแบบของแบบจำลองฐานขอ้ มลู กลุม่ ละ 1 ประเภท พรอ้ มทั้งอภิปราย 6. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 6.1 หนงั สอื เรยี นวิชา ระบบจัดการฐานขอ้ มลู ของ สำนักพิมพ์จติ รวฒั น์ (JW) 6.2 Power point 6.3 แบบฝึกหดั 6.4 แบบฝึกปฏิบัติ 6.5 แบบทดสอบหลงั เรยี น 6.7 คอมพวิ เตอร์ 6.8 เครือ่ งฉายโปรเจ็คเตอร์

37

7. หลักฐานการเรียนรู้ 7.1 หลักฐานความรู้ ใบงาน แบบฝึกหดั การคน้ ควา้ ข้อมูล ท่ไี ด้รบั การเรียบเรยี ง สวยงาม เปน็ ระเบยี บ ถกู ตอ้ ง

7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั งิ าน

ใบงาน แบบฝึกหัด รูปเล่มรายงานการค้นคว้าข้อมูล ที่ได้รับการเรียบเรียง สวยงาม เป็นระเบียบ

ถูกตอ้ ง พร้อมทง้ั เอกสารประกอบการนำเสนองานหน้าชนั้ เรียนของผเู้ รียน และภาพประกอบ

8. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้

8.1 เคร่อื งมือประเมิน

1. ใบงาน

2. แบบฝกึ หัด

3. แบบประเมนิ ผลงาน

4. แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน

8.2 เกณฑ์การประเมิน

เครื่องมือการประเมิน วธิ ีวดั และประเมนิ เกณฑก์ ารประเมิน

แบบฝกึ หดั ตรวจแบบฝกึ หัด ไดค้ ะแนน

ขอ้ ละ 1 คะแนน ร้อยละ 75 ข้ึนไป ถกู 1 คะแนน

ไมถ่ ูก 0 คะแนน

แบบฝึกปฏบิ ัติ ตรวจแบบฝึกปฏิบัติ ไดค้ ะแนน

ขอ้ ละ 1 คะแนน รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป ถูก 1 คะแนน

ไม่ถูก 0 คะแนน

แบบทดสอบหลังเรยี น ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน ไดค้ ะแนน

ข้อละ 1 คะแนน รอ้ ยละ 75 ขึน้ ไป ถกู 1 คะแนน

ไม่ถกู 0 คะแนน

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม สังเกตพฤติกรรม ไดค้ ะแนน

จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ดี 2 คะแนน ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป

ประสงค์ พอใช้ 1 คะแนน

ปรบั ปรุง 0 คะแนน

38

9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย (ถ้าม)ี 1. ผู้เรียนต้องให้ความสนใจในการศกึ ษา เพื่อหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการง่ายเพือ่ ใหห้ าคำตอบได้

อย่างถูกตอ้ ง และรวดเร็ว โดยการ ตั้งใจฟังหลักการ เทคนิควิธกี ารท่ีครูผูส้ อนสรปุ ในขณะทีท่ ำการสอน และ นำข้อสงสัยซักถามครใู นการเรยี นทุกคร้ังทีเ่ กิดความสบั สน และไม่เข้าใจ

2. ผมู้ กี ารทบทวนบทเรียน ตลอดเพือ่ เสรมิ สร้างความเขา้ ใจอยา่ งแท้จริง 3. ผู้เรียนหมัน่ ทำใบงาน แบบฝึกหดั และแก้ไขขอ้ ทผี่ ิดใหถ้ กู ต้องเสมอ 4. ผู้เรียนตอ้ งสร้างมโนภาพใหเ้ กดิ ความคดิ รวบยอดในสาระการเรียนรู้และเทคนิควธิ ีการพรอ้ มกับความ จำเป็นในการนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดข้ึนโดยตนเองใหไ้ ด้เพื่อเกิดความรูค้ วามเข้าใจอย่างแท้จรงิ ไม่ใชเ่ กดิ จาก การทอ่ งจำ 10. เอกสารอ้างองิ หนังสอื เรยี นวชิ า ระบบจัดการฐานขอ้ มูล ของ สำนกั พมิ พจ์ ติ รวัฒน์ (JW) กทม., 2563

39

ใบความรู้ท่ี 2 หนว่ ยที่ 2

รหสั วิชา 30204-2002 ชอ่ื วชิ า ระบบจดั การฐานขอ้ มลู ภาคเรยี นที่ 1

ชอ่ื หน่วย สถาปัตยกรรมข้อมลู และแบบจำลองข้อมลู เวลารวม 4 ช่ัวโมง

ชื่อเรอ่ื ง สถาปัตยกรรมขอ้ มูลและแบบจำลองข้อมูล เวลา 4 ช่ัวโมง

จุดประสงค์การเรียนรู้

จดุ ประสงคท์ ่ัวไป 1. เพอ่ื มคี วามรู้ความเข้าใจสถาปัตยกรรมขอ้ มลู และแบบจำลองขอ้ มลู 2. เข้าใจหลักการสถาปัตยกรรมข้อมลู และแบบจำลองข้อมูล

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี ) 1. บอกความหมายของสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูลและแบบจำลองฐานข้อมูลได้ 2. อธบิ ายวตั ถุประสงค์ของการแบง่ สถาปัตยกรรมฐานขอ้ มลู ได้ 3. อธบิ ายแบบจำลองขอ้ มูลได้ 4. อธิบายรูปแบบของแบบจำลองฐานขอ้ มลู ได้ 5. ปฏบิ ตั กิ ารเลือกใช้สถาปัตยกรรมขอ้ มูลและแบบจำลองฐานขอ้ มูลให้เหมาะสมกับงานได้

สมรรถนะรายหนว่ ย 1. แสดงความรู้เก่ียวกับสถาปตั ยกรรมขอ้ มูลและแบบจำลองขอ้ มูล 2. วางแผนการเลอื กใช้สถาปัตยกรรมข้อมูลและแบบจำลองข้อมลู

40

หน่วยท่ี 2 สถาปตั ยกรรมข้อมลู และแบบจำลองข้อมูล สถาปัตยกรรมของระบบฐานขอ้ มลู

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมลู หมายถงึ โครงสรา้ งของข้อมูลภายในระบบฐานขอ้ มลู ซึ่ง ANSI และ SPARC ทเ่ี รยี กกันยอ่ ๆ วา่ ANSI-SPARC ไดแ้ บ่งสถาปัตยกรรมของฐานข้อมลู ออกเป็น 3 ระดับ คือ

1. ระดับภายใน 2. ระดบั ภายนอก 3. ระดบั แนวคดิ 1. ระดบั ภายใน เปน็ ระดับท่มี องถึงวิธีการจดั เกบ็ ข้อมูลในระดับฟิซกิ คอล วา่ มรี ูปแบบและโครงสรา้ งการ จัดเก็บ ข้อมูลอยา่ งไร ซงึ่ มหี นา้ ท่ีในการจดั เก็บข้อมูลจริงๆในหน่วยความจำ เช่น ดิสก์ว่าอยู่ตำแหน่งใด รวมทงั้ ที่ เกีย่ วกับดัชนี (Index) ซ่งึ ในระดบั น้จี ะเป็นหนา้ ทข่ี องผู้ดูแลระบบตัดสินใจในระดับกายภาพ วา่ จะเก็บข้อมูล ด้วยหนว่ ยความจำแบบใด จะมีการดแู ลรกั ษาอยา่ งไร ซง่ึ โดยมากผู้ใชท้ ่ัวไปไม่มีสิทธ์ิเข้ามายุ่งในระดับน้ี 2.ระดบั ภายนอก คือ หนา้ ตา่ งหรอื ววิ (View) ท่ีผู้ใชภ้ ายนอกมสี ิทธเิ ข้าไปใช้ได้ ววิ (View) คอื ส่วนของ ข้อมลู ทผี่ ู้ใช้ ทว่ั ไปมีความสนใจและมสี ทิ ธิที่เข้านำมาใช้ได้จาก สคมี า (Concept Schema) เราสามารถเรยี กสง่ิ ท่ใี ช้ อธิบายววิ ข้อมลู ที่ถกู ดึงมาจากฐานขอ้ มูลทอ่ี ยูใ่ นระดับแนวคดิ (Conceptual) นีว้ า่ External Schema หรอื Subschema หรือ view ซงึ่ ในระดับนโี้ ปรแกรมจะเหน็ เพียงโครงสร้างข้อมูลบางสว่ น เชน่ กรณขี อง relational database โปรแกรมจะเห็น view เป็นเพียงบางส่วนของตาราง หรอื บางสว่ นของตารางหลาย ตารางมารวมกนั เปน็ หนง่ึ view โดยจะตอ้ งไม่ copy หรอื duplicate data จาก table มาไว้ท่ี view ระดบั ภายนอก เป็นระดบั ทใ่ี กล้กบั ผู้ใชม้ ากท่ีสดุ เปน็ ส่งิ ทีผ่ ูใ้ ช้คิดเกย่ี วกบั ขอ้ มูลจะอธบิ ายถงึ ววิ (View) ทผ่ี ใู้ ช้ สนใจ ข้อมูลท่เี ก็บจริงอาจมีมากกว่าท่ีผใู้ ช้ต้องการและขอ้ มลู ตัวเดยี วกันผู้ใชอ้ าจมองไมเ่ หมือนกนั เชน่ ข้อมูล วนั ท่ี (ผู้ใชค้ นหนึ่งอาจมองเปน็ วัน/ เดือน/ ปี อีกคนมองเปน็ เดือน/ วนั /ปี ก็ได้) นอกจากนน้ั ส่งิ ที่ผู้ใช้ มองเห็นอาจไม่ไดเ้ กบ็ จรงิ ในเครอ่ื งแต่ไดจ้ ากการคำนวณออกมาส่วนน้เี องจะถูกแปลโดยระบบจดั การ ฐานขอ้ มูลเกบ็ ไวใ้ นพจนานกุ รมข้อมูล (Data dictionary) นอกจากนั้น สถาปตั ยกรรมทงั้ สามระดบั ดังกลา่ ว ยงั มคี วามเปน็ อสิ ระของขอ้ มลู ท่เี ห็นไดค้ ือ สคีมาระดบั ภายนอก จะมีรปู แบบที่คงท่ีไมเ่ ปล่ียนแปลงไป แมจ้ ะมกี ารเปล่ียนสคมี าระดบั เชงิ มโนภาพ เชน่ มีการเพม่ิ รูปแบบข้อมลู ใหม่ หรอื มคี วามสัมพันธ์ใหม่ ๆ เพ่มิ ขนึ้ เรียกวา่ ความไมพ่ ง่ึ พงิ ทางตรรกะ (Logical Data Independence) และสคมี าระดับเชงิ มโนภาพกเ็ ช่นกนั จะมีรูปแบบท่คี งที่แมจ้ ะมกี ารเปล่ยี นแปลงทาง กายภาพ เช่น เปลี่ยนวธิ เี ขา้ ถงึ ข้อมูล (Access Method) หรือลำดับของขอ้ มลู ท่ีเกบ็ อยู่จริงเปล่ียนไป เรียกว่า ความไมพ่ ง่ึ พิงทางกายภาพ (Physical Data Independence) จดุ ประสงคห์ ลักของสถาปัตยกรรมทง้ั สาม ระดบั คอื การทต่ี อ้ งการให้ ขอ้ มูล เปน็ อสิ ระจาก ซอฟต์แวร์ ท้งั ที่เป็นของผใู้ ช้ และระบบ กล่าวคือ การ เปลี่ยนแปลงใดๆตอ่ ท้งั ฮารด์ แวร์ และ ซอฟต์แวร์ ไมค่ วรจะมผี ลตอ่ ข้อมูลนนั้ ๆ

41

3.ระดบั แนวคิด เป็นระดบั ทีอ่ ยู่ถดั ขึ้นมา ได้แก่ ระดบั ของการมองความสมั พันธ์ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูล วา่ มกี าร

จดั เก็บขอ้ มูลอยา่ งไร มคี วามสมั พนั ธก์ ับขอ้ มลู อืน่ อย่างไรบ้าง รวมท้ังกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ เกีย่ วกบั ขอ้ มูล เช่น กฎเกณฑ์ของตวั ข้อมลู ความปลอดภยั (Security) และความคงสภาพของข้อมูล (Integrity) ซึ่งยงั ไมใ่ ช่ รปู แบบหรอื วิธกี ารจัดเกบ็ จรงิ ในในส่อื บันทึกข้อมูล เปน็ เพยี งแคม่ มุ มองในแนวความคิดว่า ขอ้ มูลจะมีการ จัดเก็บอย่างไรเท่านน้ั ผู้ทมี่ ีสิทธจิ ะใช้ ข้อมูลในระดับนี้ คอื โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือผู้บริหาร ฐานขอ้ มลู (Database Administrator) เร่ิมจากผู้ออกแบบ หรือ ผดู้ แู ลระบบเร่ิมวิเคราะห์ความตอ้ งการขอ้ มลู ขององคก์ รว่า ประเภทใดบ้างท่ีจะ จดั เก็บ ควรจะเก็บอะไรบา้ ง และระหว่างขอ้ มูลควรมีความสัมพันธอ์ ย่างไรบา้ ง จากนัน้ จึงนำมาเขียนเป็น สคมี า (Schema) ซง่ึ ถอื เป็นจดุ ส้นิ สุดของระดับแนวความคิด สคมี า (Schema) สามารถอธบิ ายว่า ฐานข้อมูล นั้นๆ สร้างขึ้นมาประกอบด้วยอะไรบ้าง แต่ละเอนติตีป้ ระกอบด้วยข้อมูลอะไรบ้าง มีลักษณะเป็นอยา่ งไร และ มีความสมั พันธ์อย่างไร อาจจะกลา่ วได้ว่า สคีมาระดับเชงิ มโนภาพ (Conceptual Schemas Level) จะเป็นตวั ที่ใชเ้ ชอื่ ม ระหว่าง สคีมาระดบั ภายนอกกับสคมี าระดบั ภายใน อธบิ ายฐานขอ้ มลู ในรายละเอยี ดโดยรวมทัง้ หมด เพือ่ เชื่อมกบั ส่ิง ทผี่ ้ใู ช้มองรปู แบบข้อมูลความสัมพนั ธ์ เง่อื นไขต่าง ๆ รวมถงึ ความมน่ั คงและความถูกต้องของขอ้ มลู จะถูกเก็บ ไว้ดว้ ย แต่จะไมล่ งลกึ ถงึ การเก็บในเครื่อง เราจะเรยี กในส่วนน้ีวา่ logical schema หรอื schema ซง่ึ เป็น โครงสรา้ งขอ้ มลู ทน่ี ำเสนอตามรูปแบบของ data model ถา้ เปน็ relational database ข้อมูลในระดบั create table จะหมายถึงตารางทุกตารางใน model

รูปแบบของแบบจำลองฐานขอ้ มลู แบบจำลองฐานข้อมูลแบ่งออกเป็น 5 แบบ คือ

1. ฐานข้อมลู แบบลำดบั ชนั้ (Hierarchical Model) เปน็ ฐานข้อมลู ท่ีนำเสนอข้อมูลและความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งข้อมูลในรูปแบบของ โครงสร้างตน้ ไม้ (tree structure) เป็นโครงสรา้ งลกั ษณะคล้ายตน้ ไมเ้ ปน็ ลำดับ ชัน้ ซ่ึงแตกออกเป็นกิง่ กา้ นสาขา หรอื ท่เี รยี กว่า เป็นการจดั เกบ็ ข้อมลู ในลักษณะความสัมพันธแ์ บบ พ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) คณุ สมบัตขิ องฐานข้อมูลแบบลำดับขนั้ 1. Record ทอี่ ยดู่ า้ นบนของโครงสรา้ งหรือพ่อ(Parent Record) นัน้ สามารถมีลกู ได้มากกว่าหน่งึ คน แตล่ ูก (Child Record) จะไมส่ ามารถมพี อ่ ไดม้ ากกว่า 1 คนได้ 2. ทกุ Record สามารถมีคณุ สมบตั เิ ปน็ Parent Record(พอ่ ) ได้ 3. ถ้า Record หน่ึงมลี กู มากกว่าหนึง่ Record แลว้ การลำดับความสัมพันธ์ ของ Child Record จะลำดับจากซ้ายไปขวา

ลักษณะเดน่ • เป็นระบบฐานข้อมูลทม่ี ีระบบโครงสร้างซบั ซ้อนน้อยท่สี ดุ • มีค่าใช้จ่ายในการจัดสรา้ งฐานข้อมลู น้อย • ลกั ษณะโครงสร้างเขา้ ใจงา่ ย

42

• เหมาะสำหรบั งานท่ีต้องการค้นหาข้อมูลแบบมีเงอ่ื นไขเป็นระดับและออกงานแบบเรยี งลำดบั ต่อเน่ือง • ป้องกันระบบความลบั ของข้อมูลไดด้ ี เนอื่ งจากต้องอา่ นแฟ้มข้อมลู ท่เี ปน็ ตน้ กำเนิดกอ่ น

ขอ้ เสีย • Record ลกู ไม่สามารถมี record พ่อหลายคนได้ เช่น นกั ศึกษาสามารถลงทะเบียนไดม้ ากกว่า 1 วิชา • มีความยดื หยุน่ นอ้ ย เพราะการปรบั โครงสร้างของ Tree ค่อนข้างยงุ่ ยาก • มโี อกาสเกิดความซ้ำซ้อนมากท่สี ุดเม่ือเทียบกบั ระบบฐานขอ้ มูลแบบโครงสร้างอื่น • หากขอ้ มูลมจี ำนวนมาก การเขา้ ถงึ ข้อมลู จะใช้เวลานานในการคน้ หา เน่อื งจากจะตอ้ งเขา้ ถึงที่ต้นกำเนิด ของข้อมูล

2. ฐานขอ้ มลู แบบเครือข่าย (Network Model) - ลักษณะฐานขอ้ มูลน้ีจะคล้ายกบั ลกั ษณะฐานขอ้ มูลแบบ ลำดับชนั้ จะมีขอ้ แตกตา่ งกนั ตรงที่ในลักษณะฐานข้อมลู แบบเครอื ข่ายนีส้ ามารถมีต้นกำเนิดของขอ้ มูลได้ มากกวา่ 1 และยนิ ยอมใหร้ ะดับช้ันทีอ่ ยู่เหนือกวา่ จะมไี ดห้ ลายแฟม้ ขอ้ มูลถึงแม้วา่ ระดบั ช้นั ถัดลงมาจะมี เพยี งแฟม้ ข้อมลู เดยี ว - ลกั ษณะโครงสร้างระบบฐานข้อมูลแบบเครอื ข่ายจะมีโครงสรา้ งของข้อมลู แต่ละแฟม้ ขอ้ มูลมีความสมั พันธ์ คล้ายรา่ งแห

ข้อดี • ชว่ ยลดความซ้ำซอ้ นของขอ้ มูลได้ทั้งหมด • สามารถเชื่อมโยงข้อมลู แบบไป-กลับ ได้ • สะดวกในการค้นหามากกว่าลกั ษณะฐานขอ้ มูลแบบลำดบั ช้ัน เพราะไม่ตอ้ งไปเริม่ ค้นหาต้ังแต่ขอ้ มลู ตน้ กำเนิดโดยทางเดยี ว และการค้นหาข้อมูลมเี งอื่ นไขได้มากและกวา้ งกว่าโครงสร้างแบบลำดับชน้ั

3. ฐานขอ้ มูลเชงิ สัมพนั ธ์ (Relational Model) เปน็ การจดั ข้อมูลในรปู แบบของตาราง 2 มติ ิ คือมี แถว (Row) และ คอลมั น์ (Column) โดยการเชื่อมโยงข้อมูลระหวา่ งตาราง จะใช้ Attribute ทีม่ อี ยู่ทั้งสองตาราง เปน็ ตวั เชอื่ มโยงขอ้ มูล

ขอ้ ดี • เหมาะกับงานท่เี ลือกดูขอ้ มลู แบบมเี งือ่ นไขหลายคีย์ฟิลด์ขอ้ มูล • ปอ้ งกนั ขอ้ มูลถูกทำลายหรอื แก้ไขไดด้ ี เนื่องจากโครงสรา้ งแบบสมั พันธน์ ผ้ี ใู้ ช้จะไม่ทราบวา่ การเก็บขอ้ มลู ใน ฐานขอ้ มูลอย่างแท้จริงเป็นอย่างไร จึงสามารถป้องกันขอ้ มลู ถกู ทำลายหรือถกู แก้ไขไดด้ ี • การเลือกดขู ้อมูลทำได้งา่ ย มีความซบั ซ้อนของขอ้ มูลระหวา่ งแฟม้ ต่าง ๆ น้อยมาก อาจมกี ารฝกึ ฝนเพยี ง เลก็ น้อยก็สามารถใชท้ ำงานได้

ขอ้ เสีย • มีการแกไ้ ขปรับปรงุ แฟ้มขอ้ มลู ไดย้ ากเพราะผู้ใช้จะไม่ทราบการเกบ็ ข้อมูลในฐานข้อมูลอย่างแทจ้ รงิ เป็น อยา่ งไร • มคี ่าใช้จ่ายของระบบสูงมากเพราะเม่ือมกี ารประมวลผลคอื การอ่าน เพ่ิมเติม ปรบั ปรงุ หรือยกเลิกระบบ จะตอ้ งทำการสรา้ งตารางข้นึ มาใหม่ ท้งั ทใี่ นแฟม้ ข้อมูลทแ่ี ท้จรงิ อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเพยี งเล็กนอ้ ย

43

4. ฐานข้อมูลเชิงวตั ถุ (Object Oriented Model) • ใช้ในการประมวลผลขอ้ มูลทางดา้ นมัลตมิ เี ดีย คือ มขี ้อมูลภาพ และเสยี ง หรอื ข้อมลู แบบมกี ารเชือ่ มโยง แบบเว็บเพจ ซ่งึ ไมเ่ หมาะสำหรับ Relation Model • มองสง่ิ ตา่ งๆ เป็น วตั ถุ (Object)

วัตถปุ ระสงคข์ องแบบจำลองข้อมลู • เพือ่ นำแนวคดิ ตา่ งๆ มาเสนอใหเ้ กิดเปน็ แบบจำลอง • เพ่ือนำเสนอข้อมลู และความสัมพนั ธ์ระหว่างข้อมลู ในรปู แบบท่ีเข้าใจงา่ ย เช่นเดยี วกนั การดแู ปลนบ้านทจี่ ะ ทำให้เราเขา้ ใจโครงสร้างบ้านได้เร็ว • เพื่อใช้ในการส่อื สารระหวา่ งผอู้ อกแบบฐานขอ้ มูลกับผู้ใชใ้ ห้ตรงกัน ประเภทของแบบจำลองข้อมลู • ประเภทของแบบจำลองขอ้ มูล แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. Conceptual Models คือ แบบจำลองแนวคดิ ที่ใชพ้ รรณนาลักษณะโดยรวมของขอ้ มลู ทัง้ หมดในระบบ โดยนำเสนอในลักษณะของแผนภาพ ซง่ึ ประกอบดว้ ยเอนทตี ีตา่ งๆ และความสัมพันธ์ โดยแบบจำลองเชิง แนวคดิ น้ตี ้องการนำเสนอใหเ้ กิดความเข้าใจระหวา่ งผอู้ อกแบบและผู้ใช้งาน คือเมือ่ เห็นภาพแบบจำลอง ดงั กล่าวก็จะทำใหเ้ ข้าถึงขอ้ มลู ชนดิ ต่างๆ

2. Implementation Models เปน็ แบบจำลองที่อธบิ ายถงึ โครงสรา้ งของฐานข้อมูล คณุ สมบัตขิ องแบบจำลองขอ้ มูลที่ดี • 1. งา่ ยตอ่ ความเข้าใจ • 2. มีสาระสำคญั และไมซ่ ำ้ ซ้อน หมายถึง แอตทริบิวต์ในแต่ละเอนทตี ี้ไมค่ วรมีขอ้ มลู ซ้ำซอ้ น • 3. มคี วามยดื หยนุ่ และง่ายตอ่ การปรบั ปรุงในอนาคต กล่าวคอื แบบจำลองข้อมูลท่ดี ีไมค่ วรขึน้ อยกู่ ับแอป พลิเคชันโปรแกรม และสนับสนุนการเปลยี่ นแปลงในโครงสรา้ ง ซง่ึ จะไม่สง่ ผลกระทบตอ่ โปรแกรมทใ่ี ช้งาน อยู่ นนั่ คอื ความเปน็ อิสระในขอ้ มลู

44

แบบฝึกหดั /เฉลย

ตอนท่ี 1 คำสง่ั จงตอบคำถามต่อไปนีใ้ หถ้ กู ตอ้ ง

1. จงอธิบายความหมายของสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมลู

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database architecture) หมายถึง คอื โครงสร้างของข้อมูล

ภายในระบบฐานข้อมูล ซึ่ง ANSI (American National Standards Institute) และ SPARC (Standard

Planning and Requirements Committee) ทเี่ รียกกนั ย่อๆว่า ANSI-SPARC ได้

2. จงบอกระดบั ของสถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมลู ท้ัง 3 ระดับ

สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล แบ่งออกได้ 3 ระดับ คือ

1. ระดบั ภายใน (Internal Level)

2. ระดบั ภายนอก (External Level) 3. ระดับแนวคดิ (Conceptual Level) 3. จงอธบิ ายระดับภายในสถาปัตยกรรมของระบบฐานขอ้ มลู 1. ระดับภายใน (Internal Level) 2. ระดบั ภายนอก (External Level) 3. ระดบั แนวคดิ (Conceptual Level) 4. จงบอกสงิ่ ที่เกย่ี วข้องกบั ระดบั แนวคดิ 1. จำนวนเอนทิตี้ทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วยแอททริบิวต์ที่ใช้อธิบายคุณสมบัติของแต่ละ เอนทิตี้ รวมถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเอนทิต้ีในระบบ 2. กฎเกณฑ์ขอ้ บังคบั ในข้อมูล (Constraints) 3. ระบบความปลอดภัยและกฎความคงสภาพในขอ้ มลู (Integrity) 5. จงยกตวั อย่างระดับภายนอกของสถาปตั ยกรรมการลงทะเบียนของนักศึกษา

ตัวอยา่ งระดบั ภายนอก(External Level)

การลงทะเบยี นนกั ศกึ ษา รายงานผลการเรยี นของนกั ศกึ ษา

รหสั นกั ศึกษา............................ รหสั วชิ า............... ชื่อวิชา...............

รหสั วิชา............... ชื่อวชิ า............... รหสั นกั ศึกษา................ เกรดท่ไี ด.้ ....

45

6. จงยกตัวอย่างระดับแนวคิดของสถาปัตยกรรมการลงทะเบยี นของนกั ศึกษา ระดับแนวคิด

(Conceptual Level)

Table Enroll (ตารางการลงทะเบียน) Table Subject (ตารางรายวชิ า)

ปีการศกึ ษา (4) รหสั วิชา (7) ภาคเรียน (1) ชื่อวชิ า (15) รหสั วชิ า (7) จานวนหนว่ ยกติ (1) รหสั นกั ศึกษา (9) เกรด (2) 

7. จงอธิบายจดุ ประสงค์ของการแบ่งสถาปัตยกรรมฐานข้อมลู

วตั ถุประสงคข์ องการแบ่งสถาปัตยกรรมฐานขอ้ มูล โดยมีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื

1. ผู้ใช้แต่ละคนสามารถเข้าถึงข้อมลู ชุดเดียวกนั

2. ผูใ้ ชไ้ ม่จำเป็นตอ้ งปฏิบตั ิโดยตรงกบั ฐานข้อมูลในระดับภายใน

3. ผบู้ ริหารฐานข้อมูล (DBA)

4. กรณที ม่ี ีการเปลย่ี นแปลงอปุ กรณจ์ ดั เก็บข้อมลู

5. ผบู้ รหิ ารฐานข้อมูลสามารถเขา้ ไปเปล่ยี นแปลงโครงสร้างข้อมูลในระดบั แนวคดิ

8. จงบอกความหมายของแบบจำลองข้อมูล

แบบจำลองข้อมลู (Data Model)

แบบจำลองข้อมูล (Data Model) คือ เครื่องมือในเชิงแนวความคิดที่ใช้ในการอธิบายข้อมูล, โครงสร้าง

ข้อมูล, ความสัมพันธ์ของข้อมูล, ความหมายของข้อมูล และเงื่อนไขบังคับ ความ

สอดคลอ้ งกนั ของขอ้ มลู

9. จงบอกประเภทของแบบจำลองฐานขอ้ มูล

รปู แบบของแบบจำลองฐานขอ้ มูล

รปู แบบของแบบจำลองฐานข้อมลู โดยทัว่ ไป จะแบง่ ออกเป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่

1. แบบจำลองฐานข้อมูลแบบลำดบั ขัน้ (Hierarchical Database)

ลกั ษณะของโครงสร้างฐานข้อมูลแบบลำดับขนั้ น้ี จะมีลักษณะคล้ายต้นไม้ท่ีควำ่ หัวลง จึงอาจเรียก

โครงสรา้ งฐานขอ้ มลู แบบน้ีได้วา่ เป็น โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Structure) โดยมีโครงสร้างของขอ้ มูลเป็น

ข้อดีของ Network Database Model มีอะไรบ้าง

ข้อดีของแบบจาลองแบบเครือข่ายคือ สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ M : M ความ ซับซ้อนของข้อมูลเกิดขึ้นน้อยกว่าแบบล าดับชั้น สามารถเชื่อมโยงข้อมูลแบบไปกลับได้ และมี ความยืดหยุ่นในการค้นหาข้อมูล แต่ก็ยังมีข้อเสียคือการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง ยังมีความยุ่งยากเมื่อมีความต้องการข้อมูลสารสนเทศที่มากขึ้น ความปลอดภัยของข้อมูล มีน้อย เพราะ ...

แบบจําลองฐานข้อมูลมีกี่แบบ

แบบจาลองฐานข้อมูล (Database Model) ใช้อธิบายและออกแบบโครงสร้างของฐานข้อมูล มี3 แบบ คือ Hierarchy, Network และ Relational. สรุป

รูปแบบของฐานข้อมูล มีกี่รูปแบบ

ในการพัฒนาเป็นฐานข้อมูลหลายรูปแบบโดยทั่วไป แบ่งเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่  ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database)  ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)  ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์(Relational Database) ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์(Relational Database)

ข้อใดคือ รูปแบบของฐานข้อมูล Database Model

แบบจำลองฐานข้อมูล (Database Model) - มีลักษณะคล้ายโครงสร้างต้นไม้ (Tree Structure) เป็นลำดับชั้น - ข้อมูลจะมีความสัมพันธ์แบบ one-to-many ระดับสูงสุดเรียกว่า Root. - มีความสัมพันธ์แบบ Parent / Child (พ่อ/ลูก) - เป็นสถาปัตยกรรมฐานข้อมูลที่เก่าแก่ที่สุด ปัจจุบันไม่นิยมใช้งานแล้ว

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด