Frederic w.taylor ม ความเช ยวชาญด านใดบ าง

ของบุคคลตงั้ แต่ 2 คนขนึ้ ไป เพือ่ ทจ่ี ะไดบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ท่ตี ัง้ เอาไวร้ ่วมกัน โดยคานึงถึงการจัดสรรทรพั ยากรท่ีมี

อยู่จากดั ทาให้เกิดประสิทธิผล ประสทิ ธภิ าพมากท่ีสุด และบรรลเุ ป้าหมายขององคก์ ารทีก่ าหนดไว้ โดยอาศยั

กระบวนการจัดการ ซงึ่ การจัดการมนี ักคิดทไ่ี ด้ศกึ ษามาจนเป็นทยี่ อมรับและนามาใช้จนถึงปจั จบุ ันไดใ้ หม่

ความหมายการจัดการ (Management) หรอื การบริหาร (Administration) ซ่ึงทง้ั สองคามคี วามหมายเหมือนกนั

เพยี งการใชแ้ ตกต่างกัน คือ การจัดการใช้กบั หนว่ ยงานเอกชนมากกว่าส่วนคาวา่ การบริหารนยิ มใช้กบั องค์การของ

ภาครฐั ทงั้ น้มี ีผู้ให้ความหมายของคาว่า “การจัดการ” และ “การบริหาร” ไว้ดังน้ี

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2542 : 298, 609) ให้ความหมายว่า

“การจัดการ หมายถงึ การสั่งงาน ควบคุมงาน ดาเนินงาน และการบริหาร หมายถึง ดาเนนิ การจดั การ”

สาคร สุขศรวี งศ์ (2551 : 26) กล่าวว่า การจัดการ หมายถึง การทางานให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์

ขององค์การผ่านกิจกรรมตา่ ง ๆ ทางการจดั การ ซึง่ รวมถึงกิจกรรมหลกั 4 ประการ ได้แก่ การวางแผน การจดั

องค์การ การชนี้ า และการควบคุมองค์การ

เนตรพ์ ัณณา ยาวริ าช (2553 : 2) กลา่ วว่า การจัดการ คอื กระบวนการท่ีผบู้ ริหารปฏบิ ัติ

เพอ่ื นาไปส่กู ารบรรลุผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายขององคก์ าร โดยอาศัยบุคลากรและทรัพยากรทางการบริหาร

เดรค เฟรช และ ฮีทเตอร์ สวารด์ (Derak French and Heather Saward) ไดใ้ ห้

ความหมาย การจดั การ หมายถงึ “กระบวนการ กิจกรรมหรือการศึกษาเกีย่ วกับการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นอนั ที่

จะเชือ่ มนั่ ได้วา่ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดาเนนิ ไปในแนวทางที่จะบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ทกี่ าหนดไว้

อองรี ฟาโยล์ (Fayol, 1949) ได้กล่าวถึงการจดั การวา่ เป็นกระบวนการทป่ี ระกอบดว้ ยข้ันตอนทีส่ าคัญ 5 ขั้นตอน คือ การวางแผน การจัดองค์กร การบังคบั บญั ชา การประสานงาน และการควบคุม

วาร์เรน บ.ี บราวน์ (Warren B.Brown) ให้ความหมาย การบริหาร คอื งานของผนู้ าทีใ่ ชท้ รัพยากรบรหิ าร ทงั้ ปวงท่มี ีอย่ใู นหนว่ ยงาน เพ่ือให้เปา้ หมายที่กาหนดไวบ้ รรลุผล

พิมลจรรย์ นามวฒั น์ ใหค้ วามหมาย การบรหิ ารคือ การประสมประสานทรพั ยากรตา่ ง ๆ เพ่ือให้การ ดาเนินงานเป็นไปอยา่ งมีประสิทธผิ ล และบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้

ชุบ กาญจนประการ ให้ความหมาย การบริหาร หมายถึง การทางานของคณะบุคคลต้ังแต่ 2 คนขนึ้ ไป รว่ มกันปฏิบตั กิ ารให้บรรลเุ ปา้ หมายรว่ มกัน

พยอม วงศส์ ารศรี ได้ใหค้ าจากัดความ “การจดั การเป็นศลิ ปะของการใชบ้ คุ คลอื่นทางานให้แก่องค์การ โดยการตอบสนองความต้องการ ความคาดหวงั และจัดโอกาสให้เขาเหล่านน้ั มคี วามเจริญกา้ วหน้าในการทางาน”

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

2

สรุป ความหมายของ “การจดั การ” หมายถึง กระบวนการ กิจกรรมหรือการศกึ ษาเกีย่ วกับการปฏบิ ตั ิหนา้ ทใี่ นอันท่ีจะ เช่ือมั่นได้ว่า กจิ กรรมต่าง ๆ ดาเนนิ ไปในแนวทางที่จะบรรลุผลสาเรจ็ ตามวัตถุประสงคท์ ่ีกาหนดไว้ โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงหน้าท่ีอันที่จะสร้างและรักษาไว้ซึ่งสภาวะที่จะเอ้ืออานวยต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ ด้วยความพยายามร่วมกัน ของกลมุ่ บุคคล

2. ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกับผู้จดั การ (General knowledge of manager) ในองค์การต่าง ๆ

เมือ่ นากระบวนการจัดการมาจัดการในองคก์ ารเพ่ือให้เกิดผลสาเร็จและให้การดาเนนิ งาน บรรลุวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้นัน้ จะต้องอาศยั ผูจ้ ดั การดงั นัน้ จงึ ตอ้ งศึกษาเก่ียวกับความรทู้ ัว่ ไปเกย่ี วกบั ผจู้ ดั การ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้

2.1 ความหมายและระดับของผู้จัดการ (The mean of manager)

ปราณี กองทิพย์ และ มังกร ปุมกิ่ง (2546 : 3-4) ได้ให้ความหมายของผู้จัดการว่า หมายถึง บุคคลที่คิดและกระทาสิ่งใด ๆ มีผู้ยอมรับ ยกย่อง สนับสนุน ปฏิบัติตาม ทั้งนี้ผู้นา อาจหมายถึง ผู้บริหาร (Executive) ผู้จัดการ (Manager) หรือ ใครก็ได้ที่มีผู้ทาตามและเป็นผู้มีความสามารถส่งผลให้ องค์การประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลวได้ ผู้นาจึงเป็นบุคคลที่มีความสาคัญอย่างยิ่งไม่เพียงแต่รับผิดชอบต่อ ตนเองแล้วต้องรับผิดชอบต่อความสาเร็จโดยรวมของทีมงาน กลุ่ม ฝ่าย และองค์การ

ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร (2552 : 5-6) ได้แบ่งผู้จัดการเป็น 3 ระดับลดหลั่นกันไปใน องค์การต่าง ๆ ท่เี ปน็ องค์การเล็กมักมผี ูจ้ ัดการจานวนไม่มากแต่องค์การท่มี ีขนาดใหญท่ ่ีมกี ารทางานหลายอย่างและมี ความสลับซับซ้อนมากข้ึน ทาให้มีผู้จัดการจานวนมากขึ้น ดังนั้นจึงจาเป็นท่ีต้องเข้าใจถึงระดับ ผู้จัดการ ดงั น้ี

2.1.1 ผู้จัดการระดับสูง (Top manager) หรือผู้บริหาร ประกอบด้วย ประธานหรือ คณะกรรมการ หรือตาแหน่งอื่นที่เป็นระดับสูงสุดขององค์การมีหน้าท่ีในการวางแผนงานระยะยาวในองค์การ กาหนดเป้าหมายหลกั ขององคก์ าร ตลอดจนทาการตัดสินใจปญั หาสาคัญต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับอนาคตขององค์การ

2.1.2 ผู้จัดการระดับกลาง (Middle manager) หรือผู้นาระดับกลาง เรียกว่า ผู้จัดการ เช่น ผู้จัดการฝ่ายต่างๆและหัวหน้าแผนกงาน เป็นต้น มีหน้าท่ีเกี่ยวข้องเฉพาะอย่างภายในองค์การโดยรบั ผิดชอบ การวางแผนงานและระเบยี บวธิ ีการปฏิบัตงิ านเฉพาะอยา่ ง เพือ่ ดาเนินงานตามแผนของผู้บริหารระดบั สูง

2.1.3 ผู้จัดการระดับต้น (First line manager) ผู้นาระดับต้นเรียกว่า หัวหน้างาน (Supervisor) ได้แก่ หัวหน้างานต่างๆที่มีความรับผิดชอบโดยตรงต่อรายละเอียดและการมอบหมายงานอย่างใด อย่างหนึ่งให้แก่คนงานตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัติงานประจาวันจะต้องมีความ รับผิดชอบต่อการสั่ง ก า ร แ ล ะ ติ ด ต่ อ ค น ง า น อ ย่ า ง ส ม่ า เ ส ม อ เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม แ ผ น ง า น ท่ี ก า ห น ด ไ ว้ โ ด ย ผู้ บ ริ ห า ร ระดบั กลาง

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

3

ผู้จัดการในองค์การมี 3 ระดับจากท่ีกล่าวมา ซ่ึงผู้จัดการระดับต้นจะมีจานวนมากกว่า ผู้จัดการระดับกลางและผู้จัดการระดับกลางมีมากกว่าผู้จัดการร ะดับสูงส่วนผู้จัดการระดับสูงส่วนมากใน องค์การมีคนเดียว ดังเช่นรูปสามเหล่ียมปิรามิดซึ่งผู้บริหารระดับสูงจะต้องดูแลองค์การให้บรรลุวัตถุประสงค์ ดังภาพที่ 1.1

ภาพท่ี 1.1 ระดับของผูจ้ ัดการ ทมี่ า : ดดั แปลงมาจาก สาคร สขุ ศรวี งศ์ ( 2550 : 29)

2.2 ทกั ษะในการจัดการของผูจ้ ดั การ (The skills of a manager) การจัดการในองค์การ ผู้จัดการในแต่ละระดับจาเป็นต้องอาศัยทักษะในการดาเนินงาน

เพ่ือให้การดาเนินงานต่างๆประสบความสาเร็จเพราะผู้จัดการสามารถทาให้บุคคลท่ีร่วมงานซ่ึงมีความ ชานาญหรือความสามารถต่างกันร่วมแรงร่วมใจกันทางานในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพทักษะหรือ ความสามารถของผู้จัดการ มีดังนี้

2.2.1 ทกั ษะด้านความคดิ (Conceptual skill) คือ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์การ ใช้ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เพื่อนามาใช้ในการตัดสินใจ การวางนโยบาย การวางแผนหรือเตรียมวิธีการ ปฏิบัติงานต่าง ๆ ซ่ึงผู้จัดการระดับสูงจาเป็นต้องอาศัยทักษะด้านนี้

2.2.2 ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human skill) คือ ความสามารถในการใช้ วิธีการต่าง ๆ จูงใจให้สมาชิกในองค์การร่วมใจในการทางานตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจผู้นาทุกระดับ จาเป็นต้องพัฒนาและปลูกฝังให้ตนมีความเข้าใจเก่ียวกับจิตวิทยาจูงใจและพฤติกรรมของบุคคลเพื่อ นามาใช้ในการประสานงานและการสั่งการ

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

4

2.2.3 ทักษะด้านเทคนิค (Technical skill) คือ ความสามารถในการปฏิบัติงาน ด้วยความเชี่ยวชาญตามสาขาอาชีพโดยการใช้ฝีมือหรือการใช้อุปกรณ์ต่างๆผู้จัดการระดับต้นจาเป็นจะต้องมี ความสามารถด้านน้ีมากกว่าผู้จัดการระดับอ่ืน

ผู้จัดการแต่ละระดับมีทักษะในการจัดการที่แตกต่างกันคือ ผู้จัดการระดับสูงมักใช้ทักษะด้าน ความคิดมากกว่าผู้จัดการระดับกลางและผู้จัดการระดับต้นทักษะด้านความคิดมากกว่าผู้จัดการระดับกลาง และผู้จัดการระดับต้นส่วนทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ผู้จัดการทุกระดับต้องใช้แต่ผู้จัดการระดับกลางใช้ มากกว่าและทักษะด้านเทคนิคผู้จัดการระดับต้นจะใช้มากกว่าผู้จัดการระดับสูงและผู้จัดการระดับกลาง สามารถเปรียบเทียบการใช้ทักษะของผู้จัดการ ดังภาพที่ 1.2

ภาพท่ี 1.2 ความสมั พันธร์ ะหว่างระดับทักษะการจัดการกบั ระดับผู้จดั การ ท่ีมา : ดัดแปลงมาจาก มงคล เนอื่ งจานงค์ “การบรหิ าร” (ออนไลน)์ เข้าถงึ ได้จาก

//blog.eduzones.com/alc/104763 สืบค้น 28 มิถนุ ายน 2564

2.3 คณุ สมบตั ิของผจู้ ัดการ (Qualifications of a manager) นอกจากที่ผจู้ ดั การจะมที กั ษะในการจดั การผ้จู ัดการจะตอ้ งมีคุณสมบัติ ดังน้ี 2.3.1 มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั หลกั การจัดการ คือ ผ้จู ัดการต้องศึกษาและเข้าใจหลักการจัดการตลอดจน

สามารถนาความรูด้ ้านการจัดการมาจดั การองค์การอย่างมีประสิทธภิ าพ 2.3.2 มีความรับผิดชอบสูง ผบู้ ริหารหรือผ้จู ดั การมีบทบาทต่อความสาเร็จและ ความลม้ เหลวขององค์การ

จาเป็นท่ีผจู้ ดั การต้องมีความรับผดิ ชอบสงู มากจงึ จะนาพาองคก์ ารไปสู่ความสาเร็จได้ 2.3.3 มีความสามารถในการส่อื สารทดี่ ีมาก ผู้บรหิ ารหรือผจู้ ัดการจะต้องสามารถติดตอ่ ส่ือสารกับ

ผูใ้ ต้บังคบั บัญชา เพื่อถ่ายทอดความรู้ นโยบาย คาส่งั กฎระเบยี บ แนวทางดาเนินงานให้เกิดความเข้าใจตรงกันและ มีทิศทางการปฏิบตั ิในทางเดียวกันตัวอย่างผจู้ ัดการมีความสามารถในการสื่อสารที่ดีมาก ดงั ภาพที่ 1.3

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกัน

5

ภาพที่ 1.3 ความสามารถในการสือ่ สารที่ดีของผจู้ ดั การ ที่มา : “การส่ือสาร” (ออนไลน)์ เข้าถงึ ไดจ้ าก

//blog.lnw.co.th/wpcontent/uploads/2011/02/present1- สบื ค้น 28 มิถนุ ายน 2564

2.3.4 มีความเป็นผู้นา ผู้บริหารหรือผู้จัดการต้องมีความเป็นผู้นาทั้งด้านความคิดและสร้างความเช่ือมั่นให้ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาหรอื พนักงานเหน็ ถึงความเปน็ ผู้นาเช่นการกาหนดนโยบายที่สาคัญใหแ้ กอ่ งคก์ าร

2.3.5 มีบุคลิกภาพท่ีดี เช่น ผู้จัดการควรมีการแต่งกายดี การวางตนเหมาะสมกับสถานการณ์ การมี กิริยาวาจาดี เพราะผู้บริหารหรือผู้จัดการจะอยู่ในสายตาของผู้ใต้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน สังคมและ ประชาชนทว่ั ไป ซึง่ การมีบคุ ลกิ ภาพทีด่ ีของผูจ้ ดั การ

2.3.6 มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ ผู้บริหารหรือผู้จัดการ ต้องมีการแสดงอารมณ์ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ที่เกิดข้ึน ควบคุมอารมณ์ได้เป็นอย่างดีแม้จะมีเหตุการณ์ที่ไม่น่าพอใจ

2.3.7 มีความน่าเชื่อถือ เน่ืองจากผู้บริหารหรือผู้จัดการมีหน้าท่ีอานวยการและส่ังการดังนั้น จึง ต้องสร้างความน่าเชื่อถือในความคิดและการตัดสินใจของตนเองให้ผู้ร่วมงานได้เห็นและเกิดความน่าเชื่อถือไม่ เหน็ แกต่ ัวเอาความดีใสต่ ัว หรอื เมอื่ มปี ญั หาไม่แก้ไข มีข้อผดิ พลาดโยนความผดิ พลาดให้ผู้รว่ มงาน

2.3.8 มีความสามารถในการแก้ปัญหา เพราะการจัดการมักเกิดปัญหาในการดาเนินงานจึงจาเป็นท่ี ผู้จดั การต้องสามารถแก้ไขปัญหาได้อยา่ งรวดเรว็

2.3.9 มีความคิดสร้างสรรค์ ผู้จัดการต้องเป็นผู้สามารถคิดและจินตนาการสิ่งใหม่ให้เป็น ประโยชน์ต่อองค์การ

2.3.10 มีวิสัยทัศน์ที่ดี ผู้จัดการต้องสามารถมองอนาคตที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า เพื่อสามารถนาพา องค์การไป ความสาเร็จได้อย่างดี

2.3.11 มคี วามกลา้ ในการตัดสินใจ การปฏิบตั ิงานทุกอย่างมักจะมปี ัญหาหรืออุปสรรคเข้ามาเกี่ยวข้อง ผู้จัดการต้องตัดสินใจได้อย่างฉับพลัน และรับผิดชอบต่อสิ่งที่ตนเองได้ตัดสินใจ เช่น ผู้จัดการตัดสินใจลดต้นทุนใน

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

6

การผลิตสินค้า เล่ือนขั้นเงินเดือนให้กับพนักงาน พิจารณาโครงการ เป็นต้น ซ่ึงการตัดสินใจต้องกล้าตัดสินใจหาก ลงั เลอาจทาใหม้ ผี ลกระทบตอ่ องค์การได้

2.3.12 มีความสามารถในด้านเทคโนโลยที ่ีทนั สมัย เนอ่ื งจากสภาพปัจจบุ ันการแข่งขนั มีความรุนแรงมาก ผ้จู ดั การต้องสามารถนาเทคโนโลยีที่ทนั สมยั มาประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ่อองค์การ

2.3.13 มีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ ผจู้ ดั การตอ้ งมีแนวปฏิบตั ทิ ่ีดีในการประกอบอาชีพ เพ่ือ สรา้ งคุณค่าหรือมาตรฐานดา้ นการประกอบอาชพี ใหเ้ ป็นยอมรบั ของสงั คมเชน่ ผจู้ ดั การ นาองค์การผลติ สนิ ค้าหรอื บรกิ ารท่ีมีคุณภาพใหแ้ ก่ผบู้ รโิ ภค ไมฉ่ ้อฉลหลอกลวง เสียภาษีใหแ้ ก่รัฐบาลอย่างถูกต้อง เปน็ ต้น

3.ความจาเป็นในการศึกษาหลกั การจัดการและความเป็นมาของหลกั การจดั การ (Necessity of education of management principle)

ในชีวิตของมนุษย์ทุกคนต้องการความสาเร็จในชีวิตทั้งด้านการเรียน การทางานชีวิตครอบครัวเช่นเดียวกัน องค์การต่าง ๆ ไม่ว่าเป็นองค์การของรัฐบาล องค์การธุรกิจ หรือองค์การเอกชน ที่มีการกาหนดวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายในองค์การและหาวธิ ีการดาเนินงานให้องค์การบรรลุวตั ถุประสงค์หรือเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ดังน้ันความ จาเป็นในการศึกษาหลกั การจัดการ คือ

3.1 สามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หลักการจัดการทาให้บุคคลผู้ท่ีได้ ศึกษาและเข้าใจหลักการจัดการซึ่งกระบวนการในการจัดการประกอบด้วยการวางแผนการจัดองค์การ การจัดคน เข้าทางาน การอานวยการ และการกากับดูแลเม่ือบุคคลใดได้ศึกษากระบวนการเหล่านี้แล้วสามารถนาความรู้ หลักการจัดการไปประยุกตใ์ ชท้ าใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในการดาเนินชวี ิตและบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้

3.2 หลกั การจดั การใช้ได้กบั ทุกองค์การ องคก์ ารทุกองค์การทัง้ ขนาดเลก็ และขนาดใหญ่ องค์การของรัฐบาลหรือองค์การเอกชนเม่ือนาหลกั การจัดการไปใชท้ าให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย ทก่ี าหนดไวเ้ พราะองคก์ ารสามารถใชท้ รัพยากรได้อย่างคุ้มค่าเกิดประสทิ ธผิ ลและประสิทธภิ าพในการผลติ มีวิธีการ ทางานท่ีดีทาให้ลดข้ันตอนในการทางานของพนักงานสง่ ผลให้การทางานในองค์การประสบความสาเร็จและมีการ จา้ งพนักงานที่เหมาะสมตามกระบวนการจัดคนเขา้ ทางานสง่ เสรมิ ให้คณุ ภาพของพนักงานดีขนึ้ 3.1.1 ความเป็นมาของการจัดการ (History of management)

การจัดการมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองหากย้อนอดีตไปหลายพันปีก่อนมีองค์การธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ การจัดการศึกษาจากการปกครองหรือการบริหารบ้านเมืองผู้นาได้ใช้การจัดการหรือ การบริหารกับประช าช น อาทิเช่น ชาวกรีก ได้รู้จักการบริหารจัดการในฐานะเป็นศิลปะและเริ่มสนับสนุนแนวความคิดทางด้าน วิทยาการในการทางานชาวโรมันได้ใช้การกระจายอานาจทางการบริหารจั ดการกับอาณาจักรที่ย่ิงใหญ่ไพศาล ชาวจีนได้สร้างกาแพงเมืองจีนและชาวอียิปต์ได้สร้างสามเหลี่ยมปิรามิดกลางทะเลทราย ดังภาพท่ี 1.6 และ ภาพที่ 1.7

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

7

ภาพที่ 1.6 ปริ ามิดแหง่ กซิ า เมืองกซิ า ประเทศอียิปต์ ทม่ี า : “ตานานโลก ปิรามิดแหง่ กซิ า่ ” (ออนไลน)์

ภาพท่ี 1.7 กาแพงเมอื งจีน ท่มี า : ปรศิ นา. “กาแพงเมอื งจีน” (ออนไลน์)

4. ความหมายของแนวคิดการจดั การ (Mean of management concept)

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (2542 : 599) ใหค้ วามหมายแนวคิด คือ ความคิดที่มี แนวทางปฏิบัติดังน้ันแนวคิดการจัดการคือความคิดท่ีมีแนวทางปฏิบัติในการดาเนินงานส่ังงานควบคุมงานท่ี นักวิชาการหรือผู้รู้ได้คิดค้นวิธีการหรือกระบวนการจัดการและรวบรวมเป็นรูปแบบถูกไปใช้อย่างกว้างขวางเป็นท่ี ยอมรับมาจนถึงปัจจุบันจึงได้คิดแนวคิดในการจัดการขึ้นแบ่งเป็น3 แนวคิด ได้แก่ แนวคิดการจัดการแบบ

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

8

คลาสสิก มีทฤษฎีที่เกี่ยวข้องคือ ทฤษฎีการบริหารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific management) ทฤษฎี ระบบราชการ (Bureaucracy) และทฤษฎีการบริหาร (Administrative theory) แนวคิดการจัดการแบบ พฤติกรรม มีทฤษฎีคือ ทฤษฎีจิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ทฤษฎีระบบสังคมในการจัดการ (The Social System Approach to Management) ทฤษฎีลาดับความต้องการ ( Hierarchy of Needs Theory) ทฤษฎี X และทฤษฎี Y แนวคิดการจัดการแบบสมัยใหม่ มีทฤษฎีวิทยาการจัดการ ทฤษฎีเชิงระบบ ทฤษฎอี งคก์ ารตามสถานการณ์ การบริหารจัดการโดยวัตถุประสงค์ และ ทฤษฎี

4.1 แนวคดิ การจัดการแบบคลาสสิค (The concept in classic management) การจัดการแบบคลาสสิกหรือแนวคิดแบบดั้งเดิมเป็นแนวคิดการจัดการระยะเร่ิมแรกเนน้ ความสาเร็จของ

องค์การเป็นหลักมีการนามาใช้แบบลองผิดลองถูกเกิดในชว่ งปีค.ศ.1880ซ่ึงแนวคิดนี้มีทฤษฎีทเ่ี กิดขึ้น3ทฤษฎีคือ ทฤษฎีการบรหิ ารจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific management) ทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucracy) และ ทฤษฎกี ารบรหิ าร (Administrative Theory) ซ่งึ มีรายละเอียด ดังน้ี

4.1.1 ทฤษฎกี ารจดั การเชิงวทิ ยาศาสตร์ (Scientific management) โดย Frederick Winslow Taylor มผี ู้สนับสนุน ไดแ้ ก่ Henry L. Gantt และ Frank Gilberth เป็นตน้

4.1.1.2 เฟรเดอรกิ วนิ สโลว์ เทยเ์ ลอร์ (Frederick Winslow Taylor)

ภาพที่ 1.8 Frederick Winslow Taylor ท่มี า : “Wikipedia the free encyclopedia” (ออนไลน์).

เฟรเดอริก วินสโลว์ เทเลอร์(Frederick Winslow Taylor) วิศวกรอุตสาหกรรมชาวอเมริกันได้ชื่อว่าเป็น บิดาของการจัดการแบบวิทยาศาสตรโ์ ดยเปน็ ผู้ค้นหาประสิทธภิ าพและค้นหาวธิ ีท่ีดที ี่สุดเพ่ือให้บรรลุผลการทางาน ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ ศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวเวลาในการทางาน (Time – and – Motion Study) ซึ่งเป็น การสารวจการเคล่ือนไหวของร่างกายและเวลาท่ีใช้ในการทางานจนสมบูรณ์งานที่มีชื่อเสียงของ เท เลอร์ (Taylor) ชื่อ Principle of Scientific Management โดยมีการพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1911 เขาเขียนไว้ ตอนหน่ึงว่าจุดมุ่งหมายในการทางานของเขาคือการแสวงหาและการกาหนดวิธีการในการเพิ่ มประสิทธิภาพของ งานโดยลดอัตราการสูญเปล่าในการใช้แรงงานและได้ศึกษาความเคล่ือนไหวของคนงานในการทางาน (Work

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

9

study) อย่างละเอียดเพื่อให้รู้ความเคลื่อนไหวที่จาเป็นและไม่จาเป็นจึงสามารถขจัดความเคล่ือนไหวที่ไม่จาเป็น ออกจากการวเิ คราะหก์ ารปฏบิ ัติงานดังกลา่ วกไ็ ด้วธิ ีที่ดีทส่ี ุด (The One Best Way) อันเป็นหลักสาคัญของการจัด แบบวิทยาศาสตร์ จากนั้นก็กาหนดมาตรฐานของการทางานเพื่อให้เป็นเครื่องมือในการควบคุมงาน ต่อไป วิรัช สงวนวงศ์วาน (ผู้แปล) (2551 : 17) ได้กล่าวถึง หลักการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ของเทเลอร์ Taylor (Taylor’ s Principles) มี 4 ประการ ได้แก่

  1. นาหลักการทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้กบั การทางานของพนักงานแตล่ ะคน แทนการใช้วธิ ีแบบเดิม
  2. ใช้หลักการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการคดั เลือก ฝกึ อบรม สอนงานและพฒั นาทักษะของพนักงาน
  3. ผู้บริหารต้องร่วมมือร่วมใจกับพนักงานเพ่ือให้สามารถใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์กับการ ทางานอยา่ งจริงจงั
  4. มีการแบ่งงานและความรับผิดชอบอย่างเท่าเทียมกันระหว่างผู้บริหารกับพนักงานผู้บริหาร จะตอ้ งรับผิดชอบงานทั้งหมดในสว่ นท่เี หนือกว่าความสามารถของพนกั งาน กล่าวโดยสรุป หลักการจัดการระบบวิทยาศาสตร์ของเทเลอร์ (Taylor) เป็นการจัดการที่ใช้ แรงงานในการทางานน้อยสุด ใช้ทรัพยากรน้อยสุดใช้วิธีการดีสุดพร้อมจะคัดเลือกคนดีที่สุดมาทา งานโดยให้ การฝึกอบรมด้วยวิธีการดีสุดในการทางานและให้ค่าตอบแทนเป็นธรรม ซึ่งเป็นที่หวังได้ว่างานจะมีประสิทธิภาพ สูงสุด

4.1.2 แฮร่ี แอล แกนท์ (Hary L. Gantt) ผู้สนับสนุนแนวความคิดของ Taylor เป็น วิศวกรรมอุตสาหกรรม ได้เร่ิมงานโดยการพิจารณาระบบผลตอบแทนแบบจูงใจของเทเลอร์ (Talor) และได้มี ความคิดใหม่ว่า ควรมีการกาหนดผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษในรูปของโบนัสสาหรับพนักงานท่ีทางานตามได้รับ มอบหมายในแต่ละวันและสาหรับหัวหน้าของคนงานนั้นๆมีการพัฒนาวิธีการอธิบายแผนงานโดยกราฟ แผนภูมิ (Gantt Chart) ได้นามาใช้อย่างกว้างขวางในปัจจบุ นั และเทคนิคทตี่ ามมาคือ โปรแกรม PERT ดงั ภาพท่ี 1.11 และ 1.12

ภาพที่ 1.9 Hary L.Gantt ที่มา : Wikipedia “View original Wikipedia Article”

(ออนไลน)์ .

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

10

ภาพที่ 1.10 การใช้ Gantt chart ในการวางแผนโครงการผลติ กระเป๋าเพื่อจาหนา่ ย ทมี่ า : ดัดแปลงมาจาก ศิริวรรณ เสรีรตั น์ และคนอน่ื ๆ (2539 : 89)

ภาพท่ี 1.11 เครือข่าย PERT ในการสรา้ งและเปิดร้านจาหน่ายเส้อื ผ้า ท่มี า : ดดั แปลงมาจาก ศิรวิ รรณ เสรรี ัตน์ และคนอื่น ๆ (2539 : 90) 4.1.3. แฟรงค์ บังเกอร์ กิลเบิร์ธ และลิลเลียน มอลเลอร์ กิลเบร์ธ (Frank Bunder Gilbreth and Lillian Moller Gilbreth) ท้ังสองคนเป็นผู้สนับสนุนความคิดของเทเลอร์ (Taylor )โดยศึกษาความ เคลื่อนไหวในการทางาน เขียนวทิ ยานพิ นธ์ เมือ่ ศกึ ษาระดบั ปริญญาเอกที่แสดงให้เหน็ ถึงความในใจความสัมพันธ์ ระหวา่ งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์กับบุคคลในการทางานโดยการจัดการแบบวิทยาศาสตรม์ จี ุดมุ่งหมายท่จี ะช่วย ใหค้ นงานสามารถปฏบิ ัติงานสาเร็จได้ตามความสามารถของตน วิทยานิพนธ์นี้ถูกจัดพิมพ์ขึ้นเป็นหนังสือช่ือว่า The Phylosophy of Management แ ล ะ ไ ด้ ทาการศึกษาด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้าไปกว่าเทเลอร์ (Taylor) โดยการจัดทาภาพยนตร์แสดงความ

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกัน

11

เคล่ือนไหวของคนงานในการทางาน เพ่ือให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวที่สูญเปล่าและไม่มีผลการผลิตและการ เคลอ่ื นไหวท่จี าเปน็ ในการทางานแตล่ ะประเภท

ภาพท่ี 1.12 Frank Bunder Gilbreth and Lillian Moller Gilbreth ทมี่ า : Pazartesi. (ออนไลน์).

โครงสร้างองค์การในศตวรรษท่ี 20 โดยศึกษาการทางานภายในองค์การและโครงสร้างของสังคมโดย ส่วนรวมพบว่า องค์การขนาดใหญ่ที่มีมากขึ้นในสังคม ได้แก่ ธุรกิจ ทหาร รัฐบาล การเมืองและองค์การอ่ืนๆได้ แตกต่างจากระบบครอบครัวแบบด้ังเดิม Weber จึงได้กาหนดทฤษฎีระบบราชการมีลักษณะโครงสร้างองค์การ ตาแหน่ง และ อานาจหน้าที่มีการกาหนดไว้ตามกฎเกณฑ์อย่างชัดเจน มีการใช้อานาจ มีระบบ ข้อบังคับ การรับ คาส่ัง และปฏิบัติตามผู้บังคับบัญชานอกจากน้ีระบบราชการยังมีลักษณะเป็นองค์การใหญ่ไม่มีความคล่องตัวแต่ สามารถอยู่ได้เพราะไม่มีองค์การใดที่ใหญ่เท่าเข้ามาแข่งขันคนท่ีอยู่ในองค์การแบบราชการน้ีจะมีอานาจเพ่ือให้ ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชาเคารพ และสร้างอิทธิพลได้ สว่ นผู้ใต้บงั คบั บญั ชาจะมีฐานะด้อยแตม่ ั่นคงในสายงาน

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

12

ภาพที่ 1.13 Max Weber ท่ีมา : Raza. (ออนไลน)์

4.1.4 ทฤษฎกี ารจัดการแบบหลกั การบรหิ าร (Administration principles theory) 4.1.4.1 เฮนร่ี ฟาโยล์ (Henri Fayol) มอี าชีพเป็นวิศวกรเหมืองแร่ชาวฝรัง่ เศสและเป็น

ผู้อานวยการของบริษัทเหมืองแร่ เขาได้เขยี นบทความเกย่ี วกับการจัดการขน้ึ โดยเฉพาะ ในขณะนั้น ไดใ้ ชค้ าว่าการบรหิ าร และต่อมาได้จดั พมิ พเ์ ปน็ หนงั สอื ชื่อ Administration Industrielle et Generale พมิ พค์ รง้ั ที่ 1 เป็นภาษาฝรั่งเศส ปี ค.ศ. 1916 ตอ่ มาปี ค.ศ. 1927 ไดจ้ ดั พิมพเ์ ปน็ ภาษาอังกฤษช่ือ Industrial and General เขาได้รับยกย่องว่าเปน็ ผบู้ ุกเบิกแนวความคิดเกย่ี วกับการจดั การเชิงบริหาร (Administrative Management)

ภาพท่ี 1.14 Henri Fayol ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั กาทรจี่มดั ากา:รสIาnนtrกัoพduิมcพti์เoมn๊กtกoรู P.ู u“bเยlic้ยทAฤdmษฎinีกisาtrรation

บริหาร”(ออนไลน์)

13

ซึ่งปัจจยั หรือหนา้ ท่ีในการจดั การเขาเหน็ ว่าควรแบ่งเปน็ 6 ประการของกระบวนการ ปจั จยั หรอื หนา้ ท่ีใน การจัดการ Six verbs of management ได้แก่

1. การบงั คับบญั ชา (Commanding) 2. การควบคุม (Controlling) 3. การประสานงาน (Coordinating) 4. การคาดคะเนล่วงหน้า (Forecasting) 5. การวางแผน (Planning) 6. การจัดองคก์ าร (Organizing) สาคร สุขศรีวงศ์ (2551 : 48) ได้กลา่ วถึง หลักการบริหารท่ี ฟาโยล์ (Fovol) ให้แก่ผบู้ รหิ าร กาหนดขึน้ 14 ประการ เพ่อื แสดงถึงการจดั การที่มีประสิทธิภาพ ได้แก่ 1. หลกั ของการแบ่งงานกันทา (Division of work) คอื การแบ่งแยกงานกนั ทาตามความถนดั โดยไม่ คานึงวา่ จะเป็นงานทางด้านการบริหารหรือดา้ นเทคนคิ ท้ังนีเ้ ปน็ ไปตามหลกั ของการใช้ประโยชนข์ องแรงงานให้มี ประสทิ ธภิ าพสงู สุดตามหลักเศรษฐศาสตร์ 2. หลักที่เก่ียวกับอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ (Authority and responsibility) ฟา โยล์ (Fayol) พบวา่ อานาจและความรบั ผดิ ชอบสัมพนั ธก์ ันซึ่งความรับผดิ ชอบเกิดตามอานาจหน้าทเ่ี ขาเหน็ วา่ อานาจ เปน็ ส่วนประกอบของปัจจยั ที่เปน็ ทางการต่างๆได้มาจากตาแหน่งผู้บริหารและปัจจัยสว่ นบุคคลเป็นการประสม ประสานของการมีไหวพริบประสบการณ์คุณค่าทางศีลธรรมความรับผิดชอบในอดีต ฯลฯ 3. หลักเก่ียวกบั ระเบียบวนิ ัย (Discipline) โดยถือวา่ ระเบียบวนิ ัยในการทางานนนั้ เกดิ จากการปฏิบัติ ตามข้อตกลงในการทางานทัง้ น้โี ดยมงุ่ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ การเคารพเช่อื ฟัง และทางานตามหน้าที่ด้วยความตง้ั ใจ 4. หลกั ของเอกภาพในการบงั คับบญั ชา (Unity of command) เป็นสายการบังคับบญั ชาจากระดบั สูง มายังระดบั ตา่ สุด ด้วยสายการบังคบั บัญชาจะอานวยให้การบังคับบญั ชาเปน็ ไปตามหลักของการมีผ้บู ังคบั บัญชา เพียงคนเดียวและช่วยใหเ้ กดิ ระเบียบในการสง่ ข่าวสารข้อมูลระหวา่ งกนั อีกดว้ ยหากมสี ายการบงั คบั บัญชายาวห่าง ออกไปการพยายามบงั คับใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั ข้อนี้ยอ่ มจะก่อใหเ้ กดิ ปญั หาความยากลาบากในการติดตอ่ ส่ือสาร 5. หลกั เอกภาพในแนวทาง (Unity of direction) คอื ในการกระทาการใดคนงานควรไดร้ ับคาสัง่ จาก ผู้บงั คับบัญชาเพียงคนเดียวเท่านั้นทงั้ นเ้ี พื่อป้องกนั มิใหเ้ กิดความสับสนในคาสัง่ ดว้ ยการปฏบิ ตั ิตามข้อน้ีย่อมจะชว่ ย ให้สามารถขจัดสาเหตุของการขดั แยง้ ระหว่างแผนกงานและระหว่างบุคคลในองค์การให้หมดไปได้ 6. หลกั ประโยชนส์ ว่ นบุคคลเปน็ รองจากประโยชนส์ ่วนรวม (Suborination of individual to general interest) หลกั ข้อนร้ี ะบวุ า่ สว่ นรวมย่อมสาคญั กวา่ สว่ นยอ่ ยตา่ งๆและเป้าหมายของสว่ นรวมของกลุ่มจะต้องมี ความสาคญั เหนือกวา่ เปา้ หมายของส่วนบุคคลหรอื ของส่วนย่อยต่างๆเพ่ือทีจ่ ะใหส้ าเร็จผลตามเป้าหมายของกลุ่ม (องค์การ)นัน้ 7. หลกั ผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration) การให้และวธิ กี ารจ่ายผลประโยชน์ตอบแทนควรทีจ่ ะ ยุติธรรมและใหค้ วามพอใจมากทีส่ ุดทงั้ ฝ่ายลูกจ้างและนายจ้าง 8. หลักของการรวมอานาจไว้ส่วนกลาง (Centralization) หมายถึง การบรหิ ารควรจะมีการรวมอานาจไว้ ทจี่ ุดศูนยก์ ลางเพื่อใหส้ ามารถควบคมุ สว่ นต่าง ๆ ขององค์การไว้ไดเ้ สมอและการกระจายอานาจจะมากน้อย เพยี งใดก็ยอ่ มแลว้ แตก่ รณีและในการทจ่ี ะเลือกทาวิธีใดมากน้อยอยา่ งไรน้ันแต่ละคนจะเลอื กทาโดยให้ประโยชน์ รวมสูงสุดเท่าทีจ่ ะทาได้

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

14

9. หลกั การจัดสายการบงั คบั บญั ชา (Scalar chain) การบรหิ ารงานตา่ ง ๆ ภายในองคก์ ารจะต้องระบุ สายงานการบังคบั บัญชาทัง้ แนวด่งิ และแนวราบให้ชัดเจนโดยเฉพาะการจัดลาดับสายงานจากผบู้ รหิ ารสงู สุดไปจนถึง พนกั งานระดบั ล่างสดุ เพ่อื ให้เขา้ ใจแนวทางการตดิ ตอ่ ส่อื สารการรายงานผลการปฏิบตั งิ านและการสั่งการภายในองคก์ าร ทช่ี ัดเจน

10. หลกั ของความมีระเบยี บเรียบรอ้ ย (Order) ทุกสง่ิ ทุกอยา่ งไมว่ ่าสง่ิ ของหรือคน ตา่ งมีระเบยี บและรู้ วา่ ตนอยใู่ นท่ีใดของสว่ นรวมหลกั นค้ี อื หลักฐานท่ใี ช้ในการจดั สงิ่ ของและตวั คนในการจัดองค์การน่ันเอง

11. หลักของความเสมอภาค (Equity) ผบู้ ริหารต้องยึดถือความเอ้ืออารแี ละความยุตธิ รรมเป็นหลักปฏิบัติ ตอ่ ผู้ใต้บงั คบั บัญชาทัง้ นี้เพ่ือให้ไดม้ าซึง่ ความจงรักภักดแี ละการอุทิศตนเพอื่ งาน

12. หลกั ของความมั่นคงในการจ้างงาน (Stability of tenure) กลา่ ววา่ การสร้างความรู้สึกมัน่ คงในการ จ้างงานให้แกพ่ นักงานเพอื่ ใหพ้ นกั งานไมร่ สู้ ึกหวาดหวั่นต่อความรสู้ ึกที่อาจถูกเลกิ จ้างในเวลาใดกไ็ ด้

13. หลักของความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ (Initiative) การส่งเสรมิ ให้สมาชกิ ขององค์การได้มีความกลา้ ทีจ่ ะ แสดงความคิดรเิ ริ่มในการทางาน

14. หลักความสามัคคี(Esprit de corps) คอื การเกิดความสามัคครี ะหวา่ งสมาชกิ ในองค์การซึ่งเน้นถึง ความจาเปน็ ท่คี นต้องทางานเป็นกลมุ่ ท่เี ปน็ อนั หนง่ึ อันเดยี วกัน(Teamwork)และชใ้ี ห้เหน็ ถงึ ความสาคัญของการ ตดิ ต่อสอ่ื สารเพื่อให้ได้มาซงึ่ กลมุ่ ทางานที่ดี

4.1.4.2 ลเู ทอร์ กลู กิ และสินดอล เออวกิ (Luther Gulick and Lyndall Urwick)

ภาพท่ี 1.15 Luther Gulick ที่มา : “Luther Gulick” (ออนไลน์)

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

15

ภาพที่ 1.16 Lyndall Urwick ทีม่ า : “Lyndall Urwick”

ลูเทอร์ กูลิก และ สินดอล เออวิก (Luther Gulick and Lyndall Urwick) เป็นศาสตราจารย์ใน มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย Columbia เป็นที่ปรึกษาในด้านการบริหาร ได้สนับสนุนแนวคิดของ เฮนรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) ได้ใช้ประสบการณ์การบริหารจัดการอย่างกว้างขวางจากหลกั ของฟาโยล์ (Fayol) ต่อมาทั้งสองได้ จัดพิมพ์หนังสือช่ือ “ศาสตร์ในการบริหาร (Science of administration)” ท่ีได้รวบรวมหลักท่ีเกี่ยวข้องกับการ แบ่งงานกันทา (Division of work) การประสานงานกัน (Coordination) การแบ่งแยกแผนก (Creating department) ซ่ึงได้กาหนดโดยจุดมุ่งหมาย (Purpose) กระบวนการ (Process) บุคคล (Persons) และ สถานท่ี (Place) การใช้พนักงานที่ปรึกษา (Staff) ซ่ึงงานจะเน้นท่ีคาถามเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์ การ (Organization structure) โดยจะอธิบายถึงข้อดีและข้อเสียของวิธีการต่าง ๆ ในการแบ่งแยกแผนกและการ ประสานงานกันในองค์การ วิธีการท่ีจะใช้พนักงานตามสายการบังคับบัญชาหลัก (Line) และพนักงานตามสายงานท่ี ปรึกษา (Staff) ซ่ึงถือว่าเป็นการควบคุมที่ดีที่สุด และเป็นข้อได้เปรียบที่เกิดจากการเชี่ยวชาญเฉพาะ ดา้ น (Specialization)

4.2 แนวคดิ การจัดการแบบสมยั ใหม่ (Behavioral approach management)

การจัดการตามแบบพฤติกรรมหรือการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์น้ันไม่อาจจะระบุเจาะจงลงไปได้ว่า เริ่มต้นแต่เมื่อใด เป็นกระบวนการศึกษาทางพฤติกรรม จิตวิทยา และสังคมวิทยาท่ีมีปฏิกิริยาสัมพันธ์ในลกั ษณะท่ี เป็นทางการของการปฏิบัติงานของคนซ่ึงแตกต่างจาก แ น ว คิ ด การจัด การสมัย คล าสสิกที่มองว่าคน ทุกคน ต้ อ ง ทางานเพื่อองค์การที่มุ่งเฉ พา ะด้านผลประโยชน์ แ ล ะจ ะทา ง า น เ พื่อเ งิน เ ท่า นั้น แ ต่แ น ว คิด ก า ร จัด ก า ร แ บ บ พฤติกรรมศาสตร์มีความเชื่อวา่ คนทุกคนมีความตอ้ งการอยู่รวมกนั มคี วามเป็นมิตรต่อกันและพึง่ พาอาศยั ซงึ่ กันและกัน ดังนั้นแนวคิดนี้จึงเน้นความเข้าใจในตัวบุคคลและเชื่อว่าผู้บริหารสามารถเข้าใจผู้ร่วมงานและปรับองค์การ ของตนให้เข้ากับผู้ร่วมงานได้แล้วจะทาให้องค์การประสบความสาเร็จบรรลุเป้าหมายได้ แนวคิดนี้มีทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง คือ ทฤษฏีจิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ทฤษฏีระบบสังคมในการจัดการ (The

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

16

socialsystem approach to management) ท ฤ ษ ฎี ล า ดั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร (Hierarchy of needs theory) ทฤษฏี X และทฤษฏี Y ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดังน้ี

4.2.1 ทฤษฎจี ิตวทิ ยาอตุ สาหกรรม (Industrial psychology) ทฤษฎีจิตวิทยาอุตสาหกรรมเป็นแนวคิดที่พยายามศึกษาถึงสาเหตุคนงานทางานได้ดี

หรือไม่ดีว่าเกิดจากปัจจัยอะไรและให้ความสาคัญเกี่ยวกับจิตใจของคนงานเพราะมีความเช่ือว่าคนงานจะสามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพต้องมีทักษะทางร่างกายและมีใจท่ีรักจะทางานผู้ท่ีศึกษาแนวคิดนี้คือ ฮิวโก เมาน์ สเตอรเ์ บิร์ก (Hugo Munsterberg)

ภาพที่ 1.17 Hugo Munsterberg ที่มา : “Hugo Munsterberg” (ออนไลน์) ฮิวโก เมาน์สเตอร์เบิร์ก (Hugo Munsterberg) ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ.1885 ได้รับการศึกษาและฝึกฝนเป็นนักจิตวิทยาจนได้ปริญญาเอกท่ีมหาวิทยาลัยLeipzigในปีค.ศ.1887และได้ ปรญิ ญาแพทย์ศาสตรท์ ี่มหาวทิ ยาลัย Heidelbeng ในปี ค.ศ.1892 การศึกษาของ ฮวิ โก้วา่ ค้นพบ 4.2.1.1 วิธกี ารค้นหาบุคคลทม่ี ีคุณภาพดา้ นจติ ใจ ซ่ึงเหมาะทส่ี ุดกบั งานทีเ่ ขาทา 4.2.1.2 ลักษณะสภาพทางจติ ใจทนี่ ่าพงึ พอใจสูงสุดและมากทีส่ ดุ 4.2.1.3 วธิ ที ี่ธรุ กิจมีอิทธิพลต่อคนงานเพือ่ ใหเ้ กิดผลลัพธ์ทีด่ ีทสี่ ุด 4.2.2 ท ฤ ษ ฎี ร ะ บ บ สั ง ค ม ใ น ก า ร จั ด ก า ร (The social system approach to management) ทฤษฏีระบบสังคมในการจัดการน้ี เป็นการมองคนทางานท้ังระบบมีการศึกษาเริ่มจากตัวคนก่อน ถัดมาจึงสนใจระบบความร่วมมือร่วมใจของบุคคลกับองค์การและมาสิ้นสุดที่ระบบหน้าท่ีในการดาเนินการจัดการ ทฤษฎีนีผ้ ้ศู ึกษาคือ เซสเตอร์ ไอ บานาร์ด (Chester I. Barnard) และจอร์ช เอลตัน มาโยล์ (George Elton Mayo)

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

17

4.2.2.1 เชสเตอร์ ไอ บานาร์ด (Chester I. Barnard)

ภาพท่ี 1.18 Chester I. Barnard ท่มี า : “Chester I. Barnard” (ออนไลน์). เชสเตอร์ ไอ บานาร์ด (Chester I. Barnard) เป็นวิศวกรและเป็นประธานบริษัท New Jersey Bell Telephone เป็นผู้บริหารสูงสุดของ United Services Organization ได้รวบรวมหลักของการจัดการ ประกอบด้วยมุมมองในการตัดสนิ ใจความเปน็ ผ้นู าและการยอมรับอานาจของสติปัญญาซ่ึงเกิดจากประสบการณ์ใน การจัดการจึงได้เรียบเรียงหนังสือท่ีสาคัญเล่มหน่ึงในปี ค.ศ. 1938 เร่ืองหน้าท่ีการจัดการ (The function of executive) 4.2.2.2 จอร์ช เอลตัน มาโยล์ (George Elton Mayo) เป็นนักสังคมวิทยาทางานอยู่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard) ได้ทาการศึกษาวิจัยทัศนคตแิ ละปฏิกิริยาทางจติ วทิ ยาของคนงานในการทางาน ตามสถานการณ์ต่างๆท่ีผู้วิจัยกาหนดข้ึนในองค์การท้ังยังได้ย้าในเร่ืองความสาคัญของบุคค ลเป็นอย่างมากผล การศึกษาค้นคว้าด้านการจัดการตามแบบมนุษยสัมพันธ์ท่ีได้รับการยกย่องมาก คือการศึกษาทดลองท่ีเรียกว่า “Howthorne Experiment” ณ Western Electric Company อันเป็นโรงงานทาอุปกรณ์สาขาของ The Bell Telephone Company ท่ีทาการทดลองตั้งอยู่ ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา มีคนงานประมาณ 4,000 คน ใน การทางานในท่มี ีแสงสวา่ งต่างกันวา่ จะมีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตอยา่ งไร

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกัน

18

ภาพที่ 1.19 George Elton Mayo ท่ีมา : “George Elton Mayo” (ออนไลน)์ .

นอกจากนไี้ ด้ทาการศกึ ษาทดลองเก่ียวกับการเปลีย่ นแปลงสภาพการทางานของการทดลองนี้เรียกวา่ The relay assembly test room ซ่ึงทาการทดลองระหว่างปี ค.ศ.1927 – 1932 โดยครั้งแรกใช้พนักงานหญิง รวม 5 คน กรรมวิธีในการทดลองขั้นต่อไปใช้คนงานจานวน 2,000คน ได้เปล่ียนแปลงการทดลองน้ีหลายวิธี เช่น

1. ปรบั สภาพความชืน้ ของอณุ หภมู ใิ นห้องใหม้ สี ภาพตา่ ง ๆ กัน 2. จดั ใหท้ างานและหยดุ เป็นระยะ ๆ 3. เปลี่ยนแปลงการทางานไมใ่ หท้ าซา้ ๆ ซาก ๆ ในงานอยา่ งเดียวกันนาน 4. เพมิ่ ค่าจา้ งแรงงานเพือ่ เป็นเครอื่ งจูงใจ ผลการทดลองปรากฏว่า สภาพการทางาน แสงสว่าง ระยะเวลาพักผ่อน ระหว่างการทางาน ระเบียบการ จ่ายเงินค่าจ้าง ตลอดจนวิธีการในการควบคุมงานที่ดี มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงในการทางานแต่ไม่มากนัก จาก การศกึ ษาทดลองคร้งั น้ี ทาให้ความคดิ ใหม่ ๆ ในเรือ่ งความสามารถในการรบั รู้ การแปลความหมายและทา่ ทีในการ ทางานของคนงานได้ดีขึ้น 4.2.2.3 ทฤษฎลี าดับความต้องการ (Hierarchy of needs theory)

อับบลาฮัม เอช มาสโลว์ (Abraham H. Maslow) เป็นผู้จัดการโรงงานและนักจิตวิทยาเป็นผู้ เสนอทฤษฎลี าดับความต้องการ ซ่ึงเปน็ ความคิดทว่ี ่าบุคคลมีความต้องการมากเนื่องจากเป็นส่วนหน่ึงของสังคม จงึ มคี วาม ตอ้ งการสง่ิ ตา่ งๆเพื่อตนเองจะได้มีชวี ติ อย่างมีความสุข จึงไดศ้ กึ ษาและนาเสนอความคิดเรอื่ งความต้องการของมนุษย์เรียง จากความต้องการพื้นฐานไปจนถึงความต้องการสูงสุด อนิวัช แก้วจานง (2552 : 66 – 67) ได้กล่าวถึงการศึกษาทฤษฎี ความตอ้ งการของมาสโลว์ (Maslow) อธบิ ายความต้องการต่างๆทมี่ นุษยต์ ้องการคือ

1. ความต้องการขน้ั พื้นฐานเพือ่ ความอยรู่ อดในสงั คม (Basic needs for survival & physiological needs) มนุษย์ทุกคนมีความต้องการจะอยู่ในสังคมได้นานท่ีสุด จึงจาเป็นต้องการปัจจัย 4 ท่ี ประกอบดว้ ยอาหาร น้า ทีอ่ ย่อู าศยั ยารักษาโรค

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

19

2. มีความต้องการความมั่นคงปลอดภัย (Security needs or safety needs) มนุษยต์ ้องการ มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี เพื่อให้ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่มีอันตรายใดๆ เพ่ือสร้างความม่ันคงใน ชีวิต ทรัพย์สนิ และหนา้ ที่การงานทั้งของตนเองและญาตพิ ี่น้อง

3. ความต้องการความรกั ความผูกพนั และการไดร้ บั การยอมรบั จากสังคม (affiliation needs or social needs) เป็นความต้องการหลังจากได้รับความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมนุษย์ ทุกคนย่อมต้องการความรักจากผู้อื่นจึงพยายามสร้างความผูกพันกับบุคคลใกล้ชิดและบุคคลอ่ืนเน่ืองจากมี ความรู้สกึ ว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหากไดร้ ับความรักจากคนรอบข้างแสดงว่าไดร้ ับการยอมรับจากสังคม

4. ความต้องการยกย่อง (Esteem needs) เปน็ ความต้องการหลังจากไดร้ ับความรักความผูกพัน และยอมรับจากสังคมแล้วย่อมมีความต้องการเพ่ิมข้ึนโดยต้องการให้บุคคลอื่นยอมรับและยกย่องหากได้รับในส่วนนี้จะ เป็นความภาคภูมิใจและม่ันใจในชวี ิตสถานะ และอานาจซ่ึงจะทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม

5. ความต้องการความสาเรจ็ ในชีวติ (Self – actualization needs) เป็นความตอ้ งการในลาดับ สูงสุดสมบูรณ์จึงต้องการทาให้สังคมหรือผู้อ่ืนมีความสุขเช่นเดียวกัน บุคคลท่ีมีความสาเร็จในชีวิต จึงต้องการใช้ ศกั ยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ในการผลักดันหรือชว่ ยเหลือผู้อ่ืน

ภาพที่ 1.20 Abraham H. Maslow ท่ีมา : “Abraham H. Maslow” (ออนไลน)์

4.2.2.4 ทฤษฎี X และทฤษฎี Y (Theory X and Theory Y ) ทฤษฎี X และทฤษฎี Y เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนท่ีแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

กลุ่ม X มองคนไปในทางไม่ดี กลุ่ม Y มองคนในทางดี ผู้ศึกษาทฤษฎีน้ี คือ ดักกลาส แม็คเกรกอร์ (Douglas Mc Gregor) เป็นศาสตราจารย์ทางการบริหารอธิการบดี และผู้เชี่ยวชาญ ด้านจิตวิทยาได้ค้นหาหลักเกณฑ์การ จัดการในทัศนะด้านสังคม จึงเขียนหนังสือ ชื่อ The Human Side of The Enterprise ศิรวิ รรณ เสรรี ัตน์ และ คนอื่น ๆ (2539 : 28 – 29) ได้กล่าวถึงทฤษฎี X และทฤษฎี Y เป็นทฤษฎีเก่ียวกับธรรมชาติของ มนุษย์ 2 ทฤษฎี คือทฤษฎี X และทฤษฎี Y กล่าวคือ ทฤษฎี X (Theory X) เป็นปรัชญาการจัดการแบบด้ังเดิม โดยมองว่าพนักงานเกียจคร้านไม่กระตือรือร้น ไม่ชอบงาน และพยายามหลีกเล่ียงงาน ส่วนทฤษฎี Y (Theory

  1. เป็นปรัชญาการจัดการโดยมองว่า พนักงานมีความรับผิดชอบ มีความคิดริเร่ิมในการแก้ปัญหาในการทางานและ

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกัน

20

ไม่มีความเบ่ือหน่ายในการทางาน McGregor พอใจทฤษฎี Y โดยผู้บริหารควรให้พนักงานควบคุมตัวเองมากกว่าให้ บุคคลอ่ืนควบคุมตลอดจนพนักงานสามารถเลือกวิธีการทางานเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายองค์การ วิธีน้ีจะมอบความ ไว้วางใจพนักงาน และให้เขามีส่วนร่วมในองค์การ ทฤษฎีน้ีสอดคล้องกับทฤษฎีความต้องการประสบความสาเร็จของ มาสโลว์ (Maslow)

ภาพท่ี 1.21 Douglas Mc Gregor ทม่ี า : “Developing employee engagement:management’s role”

ออนไลน์

4.3 แนวคดิ การจดั การแบบพฤติกรรม (Behavioral approach management)

การจัดการตามแบบพฤติกรรมหรือการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์นั้นไม่อาจจะระบุเจาะจงลงไปได้ว่า เริ่มต้นแต่เมื่อใด เป็นกระบวนการศึกษาทางพฤติกรรม จิตวิทยา และสังคมวิทยาที่มีปฏิกิริยาสัมพันธ์ใน ลักษณะท่ีเป็นทางการของการปฏิบัติงานของคนซึ่งแตกต่างจากแนวคิดการจัดการสมัยคลาสสิกที่มองว่าคน ทุกคนต้อ งทา ง า น เ พื่อ อ ง ค์ก า ร ที่มุ่ง เ ฉ พ า ะด้าน ผ ลป ร ะโ ยช น์ แ ล ะ จ ะ ทา ง า น เ พื่อ เ งิน เ ท่า นั้น แ ต่แ น ว คิด ก า ร จัดการแบบพฤติกรรมศาสตร์มีความเช่ือวา่ คนทุกคนมีความต้องการอยู่รวมกันมคี วามเป็นมิตรตอ่ กนั และพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกันดังนั้นแนวคิดนี้จึงเน้นความเข้าใจในตัวบุคคลและเชื่อว่าผู้บริหารสามารถเข้าใจผู้ร่วมงานและ ปรับองค์การขอ ง ต น ใ ห้เ ข้า กับ ผู้ร่ว ม ง า น ไ ด้แ ล้ว จ ะ ทา ใ ห้อ ง ค์ก า ร ป ร ะ ส บ ค ว า ม สา เ ร็จ บ ร ร ลุเ ป้า ห ม า ย ไ ด้ แนวคิดน้ีมีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง คือ ทฤษฏีจิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology) ทฤษฏีระบบสังคม ในการจัดการ (The socialsystem approach to management) ทฤษฎีลาดับความต้องการ (Hierarchy of needs theory) ทฤษฏี X และทฤษฏี Y ซ่ึงมรี ายละเอยี ด ดังนี้

4.3.1 ทฤษฎีจิตวทิ ยาอุตสาหกรรม (Industrial psychology) ทฤษฎีจิตวิทยาอุตสาหกรรมเป็นแนวคิดท่ีพยายามศึกษาถึงสาเหตุคนงานทางานได้ดี

หรือไม่ดีว่าเกิดจากปัจจัยอะไรและให้ความสาคัญเก่ียวกับจิตใจของคนงานเพราะมีความเช่ือว่า คนงานจะสามารถ ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพต้องมีทักษะทางร่างกายและมีใจท่ีรักจะทางานผู้ที่ศึกษาแนวคิดน้ีคือ ฮิวโก เมาน์ สเตอรเ์ บริ ์ก (Hugo Munsterberg)

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

21

ภาพท่ี 1.17 Hugo Munsterberg ที่มา : “Hugo Munsterberg” (ออนไลน)์ . ฮิวโก เมาน์สเตอร์เบิร์ก (Hugo Munsterberg) ได้ช่ือว่าเป็นบิดาของจิตวิทยาอุตสาหกรรม ในปี ค.ศ.1885 ได้รับการศึกษาและฝึกฝนเป็นนักจิตวิทยาจนได้ปริญญาเอกท่ีมหาวิทยาลัยLeipzigในปีค.ศ.1887และได้ ปริญญาแพทย์ศาสตร์ที่มหาวทิ ยาลัย Heidelbeng ในปี ค.ศ.1892 การศึกษาของ ฮวิ โกว้ ่า คน้ พบ 4.3.1.1 วธิ ีการคน้ หาบคุ คลท่ีมคี ุณภาพด้านจติ ใจ ซึ่งเหมาะท่สี ุดกับงานที่เขาทา 4.3.1.2 ลกั ษณะสภาพทางจิตใจท่ีน่าพงึ พอใจสงู สุดและมากท่ีสุด 4.3.1.3 วิธที ธี่ รุ กิจมอี ิทธพิ ลต่อคนงานเพ่อื ใหเ้ กิดผลลพั ธท์ ด่ี ที ี่สุด 4.3.2 ทฤษฎีระบบสังคมในการจดั การ (The social system approach to management) ทฤษฏี ระบบสังคมในการจัดการน้ี เป็นการมองคนทางานท้ังระบบมีการศึกษาเร่ิมจากตัวคนก่อนถัดมาจึงสนใจระบบ ความร่วมมือร่วมใจของบุคคลกับองค์การและมาสิ้นสุดท่ีระบบหน้าท่ีในการดาเนินการจัดการ ทฤษฎีน้ีผู้ศึกษาคือ เซสเตอร์ ไอ บานารด์ (Chester I. Barnard) และจอรช์ เอลตนั มาโยล์ (George Elton Mayo)

4.3.2.1 เชสเตอร์ ไอ บานารด์ (Chester I. Barnard)

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

22

ภาพท่ี 1.18 Chester I. Barnard ท่ีมา : “Chester I. Barnard” (ออนไลน)์ . เชสเตอร์ ไอ บานาร์ด (Chester I. Barnard) เป็นวิศวกรและเป็นประธานบริษัท New Jersey Bell Telephone เป็นผู้บริหารสูงสุดของ United Services Organization ได้รวบรวมหลักของการจั ดการ ประกอบด้วยมมุ มองในการตดั สินใจความเป็นผนู้ าและการยอมรับอานาจของสติปัญญาซ่ึงเกิดจากประสบการณ์ใน การจัดการจึงได้เรียบเรียงหนังสือท่ีสาคัญเล่มหน่ึงในปี ค.ศ. 1938 เร่ืองหน้าท่ีการจัดการ (The function of executive) 4.3.2.1 จอร์ช เอลตัน มาโยล์ (George Elton Mayo) เป็นนักสังคมวิทยาทางานอยู่ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard) ได้ทาการศึกษาวิจัยทัศนคติและปฏิกิรยิ าทางจิตวิทยาของคนงานในการทางาน ตามสถานการณ์ต่างๆที่ผู้วิจัยกาหนดขึ้นในองค์การทั้งยังได้ย้าในเรื่องความสาคัญของบุคคลเป็นอย่างมากผล การศึกษาค้นคว้าด้านการจัดการตามแบบมนุษยสัมพันธ์ที่ได้รับการยกย่องมาก คือการศึกษาทดลองท่ีเรียกว่า “Howthorne Experiment” ณ Western Electric Company อันเป็นโรงงานทาอุปกรณ์สาขาของ The Bell Telephone Company ท่ีทาการทดลองตั้งอยู่ ณ เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา มีคนงานประมาณ 4,000 คน ใน การทางานในทีม่ แี สงสว่างต่างกนั ว่าจะมีผลกระทบต่อปรมิ าณการผลติ อย่างไร

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกัน

23

ภาพท่ี 1.19 George Elton Mayo ท่ีมา : “George Elton Mayo” (ออนไลน)์ . นอกจากนี้ได้ทาการศึกษาทดลองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพการทางานของการทดลองน้ี เรียกว่า The relay assembly test room ซึ่งทาการทดลองระหว่างปี ค.ศ.1927 – 1932 โดยครั้งแรกใช้ พนักงานหญิงรวม 5 คน กรรมวิธีในการทดลองขั้นต่อไปใช้คนงานจานวน 2,000คน ได้เปล่ียนแปลงการทดลอง นีห้ ลายวธิ ี เชน่ 1. ปรบั สภาพความชื้นของอณุ หภมู ิในหอ้ งให้มสี ภาพต่าง ๆ กัน 2. จดั ใหท้ างานและหยุดเปน็ ระยะ ๆ 3. เปลย่ี นแปลงการทางานไมใ่ หท้ าซา้ ๆ ซาก ๆ ในงานอย่างเดยี วกันนาน 4. เพิ่มคา่ จ้างแรงงานเพอื่ เป็นเครื่องจงู ใจ ผลการทดลองปรากฏว่า สภาพการทางาน แสงสว่าง ระยะเวลาพักผ่อน ระหว่างการทางาน ระเบียบการ จ่ายเงินค่าจ้าง ตลอดจนวิธีการในการควบคุมงานที่ดี มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงในการทางานแต่ไม่มากนัก จาก การศกึ ษาทดลองครง้ั นี้ ทาใหค้ วามคดิ ใหม่ ๆ ในเรื่องความสามารถในการรบั รู้ การแปลความหมายและทา่ ทีในการ ทางานของคนงานได้ดีข้ึน 4.3.3 ทฤษฎีลาดับความต้องการ (Hierarchy of needs theory) อับบลาฮัม เอช มาสโลว์ (Abraham H. Maslow) เป็นผู้จัดการโรงงานและนักจิตวิทยาเป็นผู้เสนอ ทฤษฎีลาดับความต้องการ ซึ่งเป็นความคิดท่ีว่าบุคคลมีความต้องการมากเนื่องจากเป็นส่วนหน่ึงของสังคม จึงมีความ ต้องการสิ่งตา่ งๆเพื่อตนเองจะได้มชี วี ติ อย่างมีความสุข จึงไดศ้ กึ ษาและนาเสนอความคิดเรอ่ื งความต้องการของมนุษย์เรียง จากความต้องการพ้ืนฐานไปจนถึงความต้องการสูงสุด อนิวัช แก้วจานง (2552 : 66 – 67) ได้กล่าวถึงการศึกษาทฤษฎี ความต้องการของมาสโลว์ (Maslow) อธิบายความตอ้ งการตา่ งๆทม่ี นษุ ย์ต้องการคอื 1. ความต้องการขัน้ พ้นื ฐานเพอื่ ความอยู่รอดในสงั คม (Basic needs for survival & physiological needs) มนุษย์ทุกคนมีความต้องการจะอยู่ในสังคมได้นานที่สุด จึงจาเป็นต้องการปัจจัย 4 ที่ ประกอบด้วยอาหาร นา้ ทอ่ี ยู่อาศัย ยารักษาโรค

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

24

2. มคี วามตอ้ งการความมั่นคงปลอดภัย (Security needs or safety needs) มนุษย์ ต้องการมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี เพื่อให้ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ไม่มีอันตรายใดๆ เพ่ือสร้างความ มั่นคงในชวี ิต ทรพั ยส์ นิ และหน้าที่การงานทงั้ ของตนเองและญาตพิ ่นี ้อง

3. ความตอ้ งการความรักความผูกพนั และการไดร้ ับการยอมรบั จากสงั คม (affiliation needs or social needs) เป็นความต้องการหลังจากได้รับความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินมนุษย์ทุกคนย่อมต้องการความรักจากผู้อ่ืนจงึ พยายามสรา้ งความผกู พันกับบุคคลใกล้ชดิ และบุคคล อื่นเนื่องจากมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคมหากได้รับความรักจากคนรอบข้าง แสดงว่าได้รับการ ยอมรบั จากสังคม

4. ความตอ้ งการยกย่อง (Esteem needs) เปน็ ความต้องการหลังจากได้รับความรักความผูกพันและ ยอมรับจากสังคมแล้วย่อมมีความต้องการเพิ่มขึ้นโดยต้องการให้บุคคลอื่นยอมรับและยกย่องหากได้รับในส่วนน้ีจะเป็น ความภาคภมู ิใจและมน่ั ใจในชวี ิตสถานะ และอานาจซ่ึงจะทาใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม

5. ความตอ้ งการความสาเร็จในชีวิต (Self – actualization needs) เป็นความต้องการในลาดับสูงสุด สมบูรณ์จงึ ต้องการทาให้สังคมหรือผู้อ่ืนมีความสุขเช่นเดียวกัน บคุ คลทม่ี คี วามสาเรจ็ ในชีวิต จึงต้องการใชศ้ ักยภาพของ ตนเองอย่างเตม็ ที่ในการผลักดันหรือช่วยเหลอื ผู้อน่ื

ภาพท่ี 1.20 Abraham H. Maslow ทม่ี า : “Abraham H. Maslow” (ออนไลน์

4.4 ทฤษฎี X และทฤษฎี Y (Theory X and Theory Y ) ทฤษฎี X และทฤษฎี Y เป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนที่แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

กลุ่ม X มองคนไปในทางไม่ดี กลุ่ม Y มองคนในทางดี ผู้ศึกษาทฤษฎีน้ี คือ ดักกลาส แม็คเกรกอร์ (Douglas Mc Gregor) เป็นศาสตราจารย์ทางการบริหารอธิการบดี และผู้เช่ียวชาญ ด้านจิตวิทยาได้ค้นหาหลักเกณฑ์การ จัดการในทัศนะด้านสังคม จึงเขียนหนังสือ ช่ือ The Human Side of The Enterprise ศิรวิ รรณ เสรรี ตั น์ และ คนอ่ืน ๆ (2539 : 28 – 29) ได้กล่าวถึงทฤษฎี X และทฤษฎี Y เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมชาติของ มนุษย์ 2 ทฤษฎี คือทฤษฎี X และทฤษฎี Y กล่าวคือ ทฤษฎี X (Theory X) เป็นปรัชญาการจัดการแบบดั้งเดิม โดยมองว่าพนักงานเกียจคร้านไม่กระตือรือร้น ไม่ชอบงาน และพยายามหลีกเล่ียงงาน ส่วนทฤษฎี Y (Theory

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกัน

25

  1. เป็นปรัชญาการจัดการโดยมองว่า พนักงานมีความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาในการทางานและ ไม่มีความเบ่ือหน่ายในการทางาน McGregor พอใจทฤษฎี Y โดยผู้บริหารควรให้พนักงานควบคุมตัวเองมากกว่าให้ บุคคลอ่ืนควบคุมตลอดจนพนักงานสามารถเลือกวิธีการทางานเพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมายองค์การ วิธีน้ีจะมอบความ ไว้วางใจพนักงาน และให้เขามีส่วนร่วมในองค์การ ทฤษฎีนี้สอดคล้องกับทฤษฎีความต้องการประสบความสาเร็จของ มาสโลว์ (Maslow)

ภาพที่ 1.21 Douglas Mc Gregor ท่ีมา : “Developing employee engagement:management’s role” ออนไลน์

5. หลกั การของการจัดการ (Management principles)

5.1 หลักการท่ีใช้ในการจัดการ คือการออกแบบหาวิธีการดาเนินและรักษาสภาพการทางานร่วมกันของกลุ่ม ให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิผลหรือประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์สูงสุดซึ่งการ ออกแบบหาวิธีการดาเนินการโดยใช้กระบวนการจัดการ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดการงานบุคคล การ อานวยการ และ การกากับดแู ล โดยรายละเอียดของวัตถุประสงค์ เปา้ หมาย ประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล มีดังนี้

5.1.1 วัตถุประสงค์ (Objective) คือการบอกให้ทราบว่าการดาเนินงานน้ัน ๆ มีความ ต้องการให้เกิดอะไรขึ้นวัตถุประสงค์ที่กาหนดควรระบุไว้ให้ชัดเจนสามารถปฏิบัติได้วัดผลและประเมินผลได้ เช่น นักศึกษาซือ้ สนิ คา้ มาจาหน่ายการจาหนา่ ยสนิ ค้ามคี วามตอ้ งการอะไรแนน่ อนการค้าขายต้องการใหไ้ ด้กาไรจากการ จาหนา่ ยดังนนั้ กาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ ้นึ เพ่อื ใหไ้ ดก้ าไร เป็นตน้

5.1.2 เป้าหมาย (Target) คือ การระบุว่าจะดาเนินการเร่ืองใดก็ตามที่แสดงเปน็ รูปตัวเลข หรือจานวนท่ีจะทาได้ภายในระยะเวลาท่ีกาหนดระบุเป็นประเภทลักษณะและปริมาณให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ เช่น การซื้อสินค้ามาจาหน่ายมีต้นทุน 100 บาทตั้งวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้กาไรซึ่งเป็นการกาหนด แบบกว้าง ๆ แต่การต้ังเป้าหมายจะมีลักษณะที่แคบกว่าและวัดได้อาจต้ังเป้าหมายว่าเพื่อจาหน่ายสินค้าให้ได้ กาไร 20 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นการจาหน่ายสินค้าจะบรรลุเป้าหมายต้องสามารถจาหน่ายได้ราคา 120 บาท จาก ตน้ ทนุ สินคา้ 100 บาท เป็นตน้

5.1.3 ประสิทธิผล (Effective) หมายถึง การดาเนินกิจกรรมเพื่อให้ได้ผลงานสอดรับกับ เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้าหรือที่เรียกว่าเป็นผลสาเร็จของงานตามที่กาหนดหรือมุ่งหมายไว้

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

26

เช่น สมมติมีผ้าจานวน 2 เมตร กาหนดให้พนักงานตัดเย็บเส้ือ 1 ตัวและใช้เวลา 3 ช่ัวโมง พนักงานตัดเสื้อ ได้ 1 ตัว โดยใช้ผ้าตามจานวนที่กาหนดคือ 2 เมตรและใช้เวลาในเวลา 3 ชั่วโมงพอดี ตรงนี้จึงเรียกว่าพนักงาน ทางานไดม้ ีประสิทธผิ ล เปน็ ต้น

5.1.4 ประสิทธิภาพ (Efficiency) การดาเนินกิจกรรมท่ีใช้ทรัพยากรอย่างฉลาดให้คุ้ม ทุนท่ีสุด ทาให้ได้งาน เน้นความรวดเร็ว คุ้มค่า งานมีคุณภาพ เช่น สมมติมีผ้าจานวน 2 เมตร กาหนดให้พนักงาน ตัดเย็บเส้ือ 1 ตัวตามตัวอย่างที่กาหนดและใช้เวลา 3 ชั่วโมง พนักงานตัดเส้ือได้ 1 ตัว โดยใช้ผ้าตามจานวนที่ กาหนดคือ 1.5 เมตรและใช้เวลาในเวลา 2 ช่ัวโมง ตรงน้ีจึงเรียกว่าพนักงานทางานได้มีประสิทธิภาพเป็นต้น เพราะการทางานใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและใช้เวลาอย่างรวดเร็วและงานมีคุณภาพหากเปรียบเทียบระหว่าง ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ดงั ภาพที่ 1.28

ภาพที่ 1.28 แสดงความหมายของประสทิ ธผิ ลและประสทิ ธภิ าพ ทม่ี า : ธงชัย สันตวิ งษ์ (2539 : 4)

6.กระบวนการจดั การ (Management process)

กระบวนการจัดการ คือกิจกรรมภาระหน้าที่ท่ีผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้นา ต้องนาไปปฏิบัติในการ บริหารงานและบริหารคน นาทรัพยากรในการจัดการที่ประกอบด้วยคน (Man) เงิน (Money) เคร่ืองจักร (Machines) และวัตถุดิบ (Materials) เป็นสิ่งนาเข้า (Input) โดยผ่านหน้าที่ในการจัดการ (Process) ท่ี ประกอบด้วยหน้าที่การวางแผน การจัดองค์การ การจัดการงานบุคคล การอานวยการ การกากับดูแลของ องค์การให้สามารถทางานร่วมกันไปจนกระทั่งทาให้เกิด ผลลัพธ์ (Output) คือบรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และ ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานอย่างมปี ระสิทธภิ าพเป็นท่ีพึงพอใจกับผู้ที่เก่ียวขอ้ งแล้วจะสง่ ผลย้อนกลับหลงั จากได้ใช้ ทรัพยากรแลว้ ว่าเป็นอยา่ งไร เพอื่ ท่จี ะได้พฒั นาปรบั ปรุงแก้ไขต่อไป ซง่ึ กระบวนการจัดการประกอบดว้ ย

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปุระกนั

27

6.1 การวางแผน (Planning) การวางแผน หมายถึง การกาหนดส่ิงที่จะทาในอนาคตขององค์การ โดยให้ใครทาอะไรท่ีไหน

เมื่อไหร่ อย่างไร ใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง ทาในลักษณะวัตถุประสงค์ เป้าหมาย โครงการ แผนงาน แนวทางการ ปฏิบัติงานทั้งในระยะส้ันหรือระยะยาว การวางแผนเป็นการป้องกันการผิดพลาดหรือข้อบกพร่องหากมีปัญหาใน การดาเนินงานตามแผนท่ีวางไว้ก็จะมีการวางแผนใหม่เพ่ือแก้ไขต่อไป เช่นหากเปิดร้านขายก๋วยเต๋ียวต้องวางแผน จะขายที่ไหน จะเอาใครมาช่วย และหาวสั ดอุ ุปกรณ์มาจากไหน เปน็ ต้น

6.2 การจดั องคก์ าร (Organizing) การจัดองค์การ หมายถงึ การกาหนดภาระหนา้ ท่ี ความรบั ผิดชอบ จดั เตรียมรายละเอียดของงาน

ความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ และจัดทาเป็นโครงสร้างขององค์การ ตลอดทิศทางในการทางานโดยการ ติดต่อส่ือสารในองค์การ เพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ เช่น เม่ือเปิดร้านขายก๋วยเต๋ียวจะมี งานอะไรทาบ้าง อาจแบ่งเป็นฝ่ายบริการมีหน้าท่ี เสิร์ฟ ให้บริการแก่ลูกค้า ฝ่ายผลิต ฝ่ายเก็บเงิน เป็นต้น โดยแบ่ง หน้าที่ ความรับผิดชอบทีช่ ัดเจน

6.3 การจัดการงานบคุ คล (Personnel management) การจัดการงานบุคคล การบริหารงานบุคคล การจัดคนเข้าทางานหรือการบริหารทรัพยากร

มนุษย์ มีความหมายเดียวกัน คือ การดาเนินกิจกรรมที่เก่ียวกับทรัพยากรมนุษย์ในองค์การให้มีเพียงพอในการ ปฏิบัติงานทั้งด้านปริมาณและด้านคุณภาพ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่องค์การกาหนดไว้อย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดการงานบุคคล เริ่มต้ังแต่การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การรับสมัครงานการคัดเลือก การ บรรจุแต่งต้ัง เลื่อนตาแหน่ง โยกย้าย การฝึกอบรมและ การพัฒนา การจ่ายค่าตอบแทน การประเมินการ ปฏบิ ัตงิ าน และการพน้ จากงาน

6.4 การอานวยการ (Directing) การอานวยการ คือ การที่ผู้บริหารจะทาอย่างไร จึงจะทาให้พนักงานในองค์การได้ทุ่มเทกาลัง

กายและกาลังใจการทางานตามภาระหน้าท่ี ท่ีรับผิดชอบของตนอย่างเต็มท่ี เพ่ือให้การทางานเป็นไปตาม แผนงาน และได้รับผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ดังนั้นผู้บริหาร ผู้จัดการ หรือผู้นา ต้องใช้วิธีการ อานวยการได้แก่วิธีการใช้ความเป็นผู้นา การตัดสินใจ การจูงใจ การติดต่อส่ือสาร และการส่ังงาน เปน็ ตน้

6.5 การกากับดูแล (Oversight) การกากับดูแล คือกระบวนการท่ีผู้บริหารต้องกากับดูแลให้ผลงานของผู้ทางาน ทุกจุดไปสู่

แผนงานหรือเป้าหมายที่วางไว้โดยใช้เทคนิค การควบคุม การประเมินผลงาน การเปรียบเทียบ หรือการวัดผล เพื่อติดตามดูแลกากับการทางานให้เข้าสู่มาตรฐานท่ีต้ังไว้ หากผลงานไม่เป็นไปตามมาตรฐานต้องมีการปรับปรุง แก้ไขต่อไป ซง่ึ ผู้จดั การหรือผบู้ ริหาร สามารถใช้กระบวนการจดั การ ดงั ภาพท่ี 1.29

เอกสารประกอบการสอน วชิ า หลักการจดั การ Introduction to Public Administration ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

28

ภาพที่ 1.29 การใช้กระบวนการจัดการ ทม่ี า : ดัดแปลงมาจาก ศิรวิ รรณ เสรรี ัตน์ และคนอื่น ๆ (2539 : 4)

7.ประโยชนข์ องกระบวนการจดั การ (Benefits of management process)

ผบู้ รหิ าร ผู้จดั การขององค์การใด ๆ ก็ตามไดน้ ากระบวนการจัดการมาใช้ ทาให้เกิดประโยชน์ คือ 7.1 ทาให้การปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้จัดการที่ได้กระบวนการจัดการ ไปใช้ได้

เหมาะสมกับองค์การของตน ก็จะทาให้องค์การบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายท่ีได้กาหนดไว้ 7.2 ทาให้สมาชิกในองคก์ ารมคี วามตัง้ ใจในการปฏิบัตงิ าน เน่อื งจากมีการจดั การเปน็ แนวทางที่ทา

ให้พนักงานในองค์การเกิดความตั้งใจเต็มใจร่วมมือกันปฏิบัติงาน เนื่องจากงานที่ปฏิบัติมีชัดเจน ทาได้สะดวก รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพ

7.3 ลดความซ้าซ้อนในการทางาน เนื่องจากกระบวนการจัดการได้กาหนดขอบเขต การ ทางานของพนกั งานแต่ละบุคคลไว้อย่างละเอียดชดั เจน จงึ ทาให้พนกั งานแต่ละคนทางานตามหน้าท่ขี องตนเอง

สรุป ดร.ปรธภร ปรุ ะกนั

เอกสารประกอบการสอน วิชา หลกั การจดั การ Introduction to Public Administration

29

การอยู่รวมกันของมนุษย์เป็นสังคม ทาให้เกิดองค์การขึ้น มีวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

ร่วมกัน จึงมีผู้จัดการทั้งองค์ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ได้นาหลักการจัดการมาใช้ในองค์การ ซึ่งการ

จัดการ (Management) และการบริหาร (Administration) คือการนากระบวนการจัดการประกอบด้วยการ

วางแผน การจัดองค์การ การจัดการงานบุคคล การอานวยการ และการกากับดูแล ไปจัดการทรัพยากรของ

องค์การท่ีประกอบด้วย คน เงิน เครื่องจักร และวัตถุดิบที่มีอยู่อย่างจากัดให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

ขององค์การที่กาหนดไว้

บุค ค ล ที่นา ห ลัก ก า ร จัด ก า ร ม า จัด ก า ร ใ น อ ง ค์ก า ร คือ ผู้จัด ก า ร ห รือ ผู้บ ริห า ร

แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับสูง ระดับกลาง และระดับต้นที่ต้องอาศัยทักษะในการจัดการได้แก่ ทักษะด้าน

ความคิด ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ และทักษะด้านเทคนิค นอกจากมีทักษะการจัดการแล้วผู้จัดการควรมี

คุณสมบัติ คือ ความเข้าใจศาสตร์การจัดการ มีความรับผิดชอบ สื่อสารได้ดี มีความเป็นผู้นา บุคลิกภาพท่ี

ดี มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีความน่าเช่ือถือ สามารถแก้ปัญหา มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ วิสัยทัศน์ดี กล้าใน

การตัดสินใจ และสามารถใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยผู้จัดการรวมถึงบุคคลท่ีศึกษาหลักการจัดการให้เข้าใจจะทา

ให้รู้ว่าหลักการจัดการนั้นมีความจาเป็น ในการดาเนินชีวิตของทุกคน เพราะการใช้หลักการจัดการจะทาให้

การทางานบรรลุวัตถุประสงค์ และการดาเนินชีวิตประจาวันประสบความสาเร็จ

ก า ร จ ัด ก า ร เ ป ็น ว ิธ ีก า ร จ ัด ก า ร ท ร ัพ ย า ก ร ใ น อ ง ค ์ก า ร ที ่ม ีอ ยู ่อ ย ่า ง จ า ก ัด ใ ห ้เ ก ิด ป ร ะ โ ย ช น์

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด