ตัวอย่าง นวัตกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

ช่ือนวัตกรรม : นวตั กรรมการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” เพ่อื พฒั นาสมาธิและความคดิ สร้างสรรคข์ องนกั เรียนผา่ นกิจกรรม งานประดิษฐ์

ประเภทของนวตั กรรม : นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ ผ้จู ดั ทำนวตั กรรม : นางสาวกญั ญาณฐั พลเสน

นางสาววรรณภา นนั ทะสาร นางสาววลิ าวรรณ นนั ทะสาร นางสาวปริญญา ไชยปัญญา ทปี่ รึกษำนวัตกรรม : นางนุชรา นรสาร ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นดอนไมง้ าม

บทคดั ย่อ

นวตั กรรมการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้” เพ่ือพฒั นาสมาธิและความคดิ สร้างสรรค์ ของนกั เรียนผา่ นกิจกรรม งานประดิษฐ์ มีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ใหน้ กั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็น ผลสาเร็จได้ ส่งเสริมการเรียนรู้ของนกั เรียน ใหเ้ กิดสมาธิ ทกั ษะและมีความคิดสร้างสรรค์ ลดพฤติกรรมการ ติดโทรศพั ท์ นาเวลาวา่ งมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ และให้นกั เรียนมีความสุข สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน เกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง

กติ ติกรรมประกำศ

นวตั กรรมเลม่ น้ีสาเร็จไดด้ ว้ ยความกรุณาของผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นดอนไมง้ าม นางนุชรา นรสาร ท่ี ไดใ้ หค้ าแนะนา แนวคิด ให้คาปรึกษาใหค้ วามรู้ดา้ นการจดั ทานวตั กรรม คอยดูแลใน เร่ืองการดาเนินงาน ดา้ นเอกสารการแกไ้ ขเอกสารใหถ้ ูกตอ้ ง และขอขอบพระคุณคณะครูโรงเรียนบา้ นดอน ไมง้ ามท่ีให้คาแนะนาตรวจสอบ การดาเนินงาน และให้ความดูแลช่วยเหลืออย่างเตม็ ที่ ทางคณะผจู้ ดั ทาขอ กราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง ไว้ ณ โอกาสน้ี

คณะผูจ้ ดั ทา ขอขอบพระคุณทุกท่านดงั ที่ไดก้ ล่าวถึงมาขา้ งตน้ และท่ีไม่ไดก้ ล่าวถึงไว้ ณ ที่น้ี เป็ น อยา่ งสูง

คณะผจู้ ดั ทา

สำรบญั (ก) (ข) บทคดั ย่อ 1 กติ ตกิ รรมประกำศ 3 บทที่ 1 บทนำ 6 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละงำนวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง 8 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ กำรศึกษำ 12 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนนิ งำน บทท่ี 5 สรุปผลกำรดำเนนิ งำน และข้อเสนอแนะ บรรณำนุกรม ภำคผนวก

บทท่ี 1 บทนำ

1. ทีม่ ำและควำมสำคัญ

ในปัจจุบนั เทคโนโลยเี ขา้ มามีบทบาทในการใชช้ ีวิตประจาวนั นกั เรียนแตล่ ะคนสามารถเขา้ ถึงการ ใชง้ านได้ การใชเ้ ทคโนโลยนี ้นั มีท้งั ผลดีและผลเสีย ผลดีทาใหน้ กั เรียนสามารถคน้ ควา้ ศึกษาหาความรู้ เพม่ิ เติม ผลเสียถา้ เราแบ่งเวลาใชง้ านไม่ได้ ทาใหเ้ ราขาดความย้งั คดิ จึงทาใหโ้ รงเรียนของเราพบปัญหา นกั เรียนติดโทรศพั ท์ ติดเกม ไม่มีสมาธิ ขาดความสนใจในการเรียนและการทางาน

เศษผา้ ท่ีเหลือจากการตดั ผา้ หลายคร้ัง เม่ือนามารวมกนั ให้มีจานวนมาก ผา้ แต่ละขนาด แตล่ ะชิ้น สีสนั มีความโดดเด่น แมก้ ระท้งั ผวิ สัมผสั ที่แขง็ แรงออ่ นนุ่ม เศษผา้ เหลา่ น้ีคงเหลือมาจาก การตดั เยบ็ เส้ือผา้ ทว่ั ไป ซ่ึงเป็นหน่ึงในปัจจยั ส่ี ที่จาเป็นตอ่ มนุษยท์ ุกคน โดยเฉพาะร้านตดั เยบ็ เส้ือผา้ สาหรับสุภาพสตรี เพราะ ตอ้ งสวมใสเส้ือผา้ ในแต่ละโอกาส ท่ีแตกต่างกนั ออกไป จึงทาใหค้ รูและบุคลากรในโรงเรียนบา้ นดอนไม้ งาม มีการนาผา้ ทอมาใชต้ ดั ชุดทางานมากข้ึน และมีโครงการการฝึกทกั ษะดา้ นอาชีพใหแ้ ก่นกั เรียน จาก กลุ่มความมนั่ คงทางอาหาร ซ่ึงทางโรงเรียนไดน้ านกั เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรม การทากระเป๋ า โดยใชผ้ า้ ไทยใน คร้ังน้ีดว้ ย ผลปรากฏวา่ นกั เรียนสามารถทาไดส้ าเร็จ มีความสุขและภาคภูมิใจในการทางาน และทาใหม้ ีเศษ ผา้ เหลือใชท้ ่ีเกิดจากการไม่ไดใ้ ชแ้ ละไม่สามารถนาไปผลิตเป็นผืนผา้ ได้ ทาใหพ้ บวา่ เศษผา้ ที่เหลือใช้จากการ ตดั เยบ็ ชุด ทากระเป๋ า สามารถนาไปตอ่ ยอดเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั เศษผา้ ทาใหเ้ ศษผา้ ท่ีไมม่ ีประโยชนไ์ ดก้ ลบั มามี ประโยชน์อีกคร้ังหน่ึง โดยการเปล่ียนแนววิธีการผลิตใหม้ ีความสร้างสรรคแ์ ละแปลกใหม่ข้ึนกวา่ เดิม

จากเหตผุ ลขา้ งตน้ ขา้ พเจา้ จึงไดพ้ ฒั นานวตั กรรมการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” โดยใชก้ ารประดิษฐ์สิ่งของ เพ่ือพฒั นาสมาธิและความคิดสร้างสรรคข์ องนกั เรียน ใหน้ กั เรียนมีสมาธิ มี ความการทางาน ทกั ษะการทางาน และมีความคดิ สร้างสรรค์ ผา่ นกิจกรรมการทากระเป๋ า กิ๊บติดผล และตุง เพ่ือนามาช่วยแกไ้ ขปัญหาของนกั เรียนในดา้ นของทกั ษะการทางาน การมีสมาธิ ความสนใจ และความคิด สร้างสรรค์ การแกไ้ ขปัญหาดว้ ยกระบวนการตา่ ง ๆ จนเกิดเป็นทกั ษะท่ีถาวรของนกั เรียน โดยมีการ สอดแทรกแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือสอนใหเ้ ดก็ รู้จกั การใชช้ ีวติ ในสังคมปัจจุบนั ไดอ้ ยา่ ง สมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคณุ คา่ ของทรัพยากรต่างๆ รู้จกั อยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืน รู้จกั เอ้ือเฟ้ื อเผื่อแผ่ และแบง่ ปัน รู้วา่ ตนเองเป็นองคป์ ระกอบหน่ึงในส่ิงแวดลอ้ มและวฒั นธรรม การกระทาของตนย่อมมีผลและ เช่ือมโยงกบั สภาพแวดลอ้ มท่ีตนเองเป็นสมาชิกอยู่

2. วัตถุประสงค์

1. เพ่อื ใหน้ กั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็นผลสาเร็จได้ 2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของนกั เรียน ให้เกิดสมาธิ ทกั ษะและมีความคดิ สร้างสรรค์ 3. เพอ่ื ลดพฤติกรรมการติดโทรศพั ท์ นาเวลาวา่ งมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้ 4. เพื่อใหน้ กั เรียนมีความสุข สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง

3. ขอบเขตกำรดำเนนิ งำน

3.1 กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรพฒั นำนวตั กรรม ประชำกร นกั เรียนโรงเรียนบา้ นดอนไมง้ ามจานวน 75 คน กลุ่มตัวอย่ำง นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 จานวน 10 คน

3.2 ระยะเวลำทีใ่ ช้ในกำรพฒั นำนวตั กรรม คือ วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2565 – 3 มิถุนายน 2565

4. ผลท่ีคำดว่ำจะได้รับ

1. นกั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็นผลสาเร็จได้ นาไปสู่การมีสมาธิในวชิ า อื่น ๆ เพมิ่ ข้นึ 2. นกั เรียนมีสมาธิในการเรียนเพมิ่ ข้ึน 2. นกั เรียนลดพฤติกรรมการติดโทรศพั ท์ สามารถนาเวลาวา่ งไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ 3. นกั เรียนมีความสุขกบั การเรียน สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน แลว้ เกิดคามภาคภูมิใจในตนเอง

บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงำนวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง

นวตั กรรมการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” เพื่อพฒั นาสมาธิ และความคิดสร้างสรรค์ ของนกั เรียนผา่ นกิจกรรม งานประดิษฐ์ คณะผจู้ ดั ทาไดศ้ ึกษาแนวทางคิดทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ตา่ งๆ เพือ่ เป็นแนวทางในการดาเนินโครงการดงั น้ี

1. แนวคดิ เก่ียวกบั นวตั กรรมสิ่งประดิษฐ์ 2. กระบวนการนวตั กรรม 3. หลกั การสร้างสรรคง์ านประดิษฐ์

1 . แนวคดิ เกยี่ วกบั นวัตกรรมส่ิงประดษิ ฐ์ นวตั กรรม (Innovation) มีรากศพั ทม์ าจากภาษาลาติน ค าวา่ Innovare แปลวา่ “ทาส่ิงใหม่

ข้นึ มา” สานกั งานนวตั กรรมแห่งชาติ (2549) ไดใ้ หค้ วามหมายของนวตั กรรมไวว้ า่ นวตั กรรม คือ “สิ่ง ใหม่ท่ีเกิดจากการใชค้ วามรู้และความคดิ สร้างสรรคท์ ี่มีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคม”

โทมสั ฮิวส์ Hughes,1987) ไดใ้ หค้ วามหมายของนวตั กรรมไวว้ า่ “เป็นการนาเอาวิธีการใหมม่ า ปฏิบตั ิหลงั จากที่ไดผ้ า่ นการทดลองและไดร้ ับการพฒั นามาเป็นลาแลว้ และมีความแตกต่างจากการปฏิบตั ิ เดิมท่ีเคยปฏิบตั ิมา”

สมนึก เอ้ือจิระพงษพ์ นั ธ์และคณะ(2553) ไดใ้ หค้ วามหมายของ นวตั กรรม หมายถึง “สิ่ง ใหมท่ ่ีเกิดข้นึ จากการใชค้ วามรู้ ทกั ษะประสบการณ์และความคดิ สร้างสรรค์ ในการพฒั นาข้ึน ซ่ึง อาจจะมีลกั กษณะเป็นผลิตภณั ฑใ์ หม่ บริการใหม่ หรือกระบวนการใหม่ ท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ในเชิง เศรษฐกิจและสังคม”

สรุป นวตั กรรม คือ “สิ่งท่ีเกิดจากการใชค้ วามรู้ในศาสตร์สาขาตา่ งๆอยา่ งบรู ณาการ เพ่ือประดิษฐ์ สร้างสรรคส์ ิ่งใหมใ่ หเ้ กิดข้ึนเพอ่ื ประโยชน์ทางสงั คมและเศรษฐกิจ”

องคป์ ระกอบของนวตั กรรม จากประเด็นที่เป็นแก่นหลกั สาคญั ของคานิยาม องคป์ ระกอบที่เป็นมิติสาคญั ของนวตั กรรม มีอยู่ 3 ประการ คอื 1. ควำมใหม่ (Newness) หมายถึง เป็นสิ่งใหม่ที่ถูกพฒั นาข้นึ ซ่ึงอาจเป็นตวั ผลิตภณั ฑ์ บริการ หรือ กระบวนการ โดยจะเป็นการปรับปรุงจากของเดิมหรือพฒั นาข้ึนใหม่เลยกไ็ ด้ 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกจิ (Economic Benefits) หรือการสร้างความสาเร็จในเชิง พาณิชยก์ ลา่ วคอื นวตั กรรม จะตอ้ งสามารถท าใหเ้ กิดมูลคา่ เพิ่มข้นึ ไดจ้ ากการพฒั นาสิ่งใหม่น้นั ๆ ซ่ึงผลประโยชน์ท่ีจะเกิดข้นึ อาจจะวดั ไดเ้ ป็นตวั เงินโดยตรง หรือไม่เป็นตวั เงินโดยตรง

3. กำรใช้ควำมรู้และควำมคดิ สร้ำงสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) สิ่งท่ีจะ เป็นนวตั กรรม ไดน้ ้นั ตอ้ งเกิดจากการใชค้ วามรู้และความคิดสร้างสรรคเ์ ป็นฐานของการพฒั นาใหเ้ กิด ซ้าใหม่ ไมใ่ ช่เกิดจาก การลอกเลียนแบบ การทาซ้า เป็นตน้

2. กระบวนกำรนวตั กรรม จะเป็นส่วนสาคญั ที่ทาใหอ้ งคก์ รสามารถดารงอยแู่ ละเจริญเติบโต ต่อไปไดซ้ ่ึงกระบวนการ

ประกอบดว้ ยส่วนที่สาคญั ๆ หลายประการ 1. กำรค้นหำ (Searching) เป็นการสารวจสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอก เพ่อื ตรวจจบั

สัญญาณของท้งั โอกาสและอุปสรรค สาหรับการน าไปสู่จุดเริ่มตน้ การเปลี่ยนแปลงใน อนาคต 2. กำรเลือกสรร (Selecting) เป็นการตดั สินใจเลือกสญั ณาณท่ีสารวจพบเหล่าน้นั เพ่ือจะ นาไป

ประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสุดกบั องคก์ ร ท้งั น้ีการเลือกสรรจ าเป็นตอ้ งมีความาสอดคลอ้ งกบั หลกั กล ยทุ ธ์ขององคก์ ร

3. กำรนำไปปฏบิ ตั ิ (Implementing) เป็นการแปลงสัญญาณท่ีมีศกั ยภาพ ไปสู่การ สร้างสรรคส์ ิ่งใหม่ ๆ ข้ึนและนาสิ่งเหลา่ น้นั ออกเผยแพร่สู่ตลาดท้งั ภายในและภายนอกองคก์ ร แต่ สัญญาณท่ีวา่ ไมไ่ ดเ้ กิดข้นึ เพยี งชว่ั คร้ังชว่ั คราวเท่าน้นั หากแต่จะเกิดข้ึน ดว้ ยการดาเนินงานข้นั ตอนท่ี สาคญั อีก 4 ประการ ดงั น้ี

3.1 การรับ (Acquring) คือ ข้นั ตอนของการนาองคค์ วามรู้ต่าง ๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้ เกิดเป็น นวตั กรรมข้ึน เช่น การสร้างสรรคส์ ิ่งใหม่จากกระบวนการทางวิจยั และพฒั นา(R&D) , การทา วจิ ยั ทาง การตลาด รวมไปถึง การไดร้ ับองคค์ วามรู้จากแหล่งอ่ืน ๆ โดยการถ่ายทอดทางเทคโนโลยี (Technology Transfer) หรือการคน้ ควา้ ร่วมกนั ในเครือพนั ธมิตร (Strategic Alliance) เป็นตน้

3.2 การปฏิบตั ิ (Executing) คือ ข้นั ตอนของการน าโครงการดงั กล่าวสู่การ ปฏิบตั ิงานภายใตส้ ภาพ ของความไม่แน่นอนต่าง ๆ ซ่ึงตอ้ งอาศยั ทกั ษะการแกป้ ัญหา (ProblemSolving) ตลอดเวลา

3.3 การนาเสนอ (Launching) คอื การนานวตั กรรมที่ไดอ้ อกสู่ตลาด โดยอาศยั การจดั การอยา่ งเป็ น ระบบเพอ่ื ให้นวตั กรรมน้นั สามารถเป็นท่ียอมรับจากตลาดไดโ้ ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ใน ช่วงแรกของการนาออก สู่ตลาด

3.4 การรักษาสภาพ (Sustaining) คอื การรักษาสถานะภาพการยอมรับจากตลาด ให้ เกิดข้ึนอยา่ ง ตอ่ เน่ืองต่อไปและคงอยใู่ ห้นานเทา่ ท่ีจะเป็นได้ ซ่ึงอาจจะตอ้ งนานวตั กรรมน้นั ๆ กลบั มาปรับปรุงแกไ้ ขใน แนวความคดิ หรือท าการเริ่มใหมต่ ้งั แต่ตน้ (Reinnovation) เพือ่ ให้ ไดน้ วตั กรรมที่ถึกพฒั นาใหม้ ีความ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดมากยงิ่ ข้ึน

4. กำรเรียนรู้ (Learning) เป็นส่ิงจาเป็นท่ีองคก์ รควรที่จะศึกษาและเรียนรู้ในช้นั ตอนตา่ ง ๆ ของ กระบวนการทางนวตั กรรมเพอื่ ก่อใหเ้ กิดเป็นองคค์ วามรู้พ้นื ฐานที่แขง้ แกร่ง และสามารถนาไปใช้ พฒั นา วธิ ีการสาหรับจดั การกบั กระบวนการทางนวตั กรรมเหลา่ น้นั ใหม้ ีประสิทธิภาพท่ีดียงิ่ ข้ึน

3. หลกั กำรสร้ำงสรรค์งำนประดิษฐ์ การสร้างสรรคง์ านประดิษฐ์ใหป้ ระดิษฐใ์ หป้ ระสบผลสาเร็จน้นั ผูเ้ รียนตอ้ งมีความพงึ พอใจ ในการ

ทางาน โดยยดึ หลกั การดงั น้ี 1. หมนั่ ศึกษาหาความรู้ในงานที่ตนเองสนใจ โดยศึกษาจากผเู้ ชี่ยวชาญการในชุมชนการโรงเรียน

จากตวั อยา่ งสิ่งประดิษฐ์ท่ีสนใจ 2. ศึกษาหลกั การ วิธีการ หรือข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน ในการประดิษฐช์ ิ้นงานโดยการวิเคราะห์ดว้ ย

ตนเองหรือศึกษาจากผรู้ ู้ ผเู้ ช่ียวชาญ หรือจากสื่อต่าง ๆ เช่น วารสาร หนงั สือ เป็นตน้ 3. ทดลองการปฏิบตั ิการประดิษฐผ์ เู้ รียนตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ และทดลองปฏิบตั ิตามแนวคิดที่ได้

สร้างสรรคไ์ วแ้ ละมีการปรับปรุงแกไ้ ข ขอ้ บกพร่องจนสาเร็จเป็นชิ้นงานประดิษฐ์ท่ีพงึ พอใจ

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินงำน

วตั ถปุ ระสงคใ์ นวิธีดาเนินการศึกษาเพ่อื ใหน้ กั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็นผลสาเร็จ ส่งเสริมการเรียนรู้ของนกั เรียน ใหเ้ กิดสมาธิ ทกั ษะและมคี วามคดิ สร้างสรรค์ ลดพฤติกรรมการติดโทรศพั ท์ นาเวลาวา่ งมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ นกั เรียนมีความสุข สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน และเกิดความภาคภมู ิใจ ในตนเอง

เคร่ืองมือทใี่ ช้ในกำรศึกษำ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี คอื 1. แบบประเมินพฤติกรรมนกั เรียน ก่อน – หลงั เขา้ ร่วมกิจกรรม “งานประดิษฐ์” 2. แบบประเมินตนเองของนกั เรียนต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้”

ข้นั ตอนกำรสร้ำงเคร่ืองมือ ข้นั ตอนการสร้างเคร่ืองมือ ไดด้ าเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี 1. กาหนดหวั ขอ้ ท่ีจะทดสอบและสอบถามกลุ่มเป้าหมาย โดยใหส้ อดคลอ้ งกบั จุดมงุ่ หมาย ของ

การศึกษา 2. นาแบบสอบถาม เสนอผเู้ ชียวชาญ เพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เที่ยงตรง ในดา้ นภาษาและหลกั

วชิ าการ และจึงนาไปทาการปรับปรุงแกไ้ ข 3. นาแบบสอบถาม ฉบบั สมบูรณ์ ไปเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลกบั กล่มุ เป้าหมาย

ข้นั ตอนกระบวนกำรดำเนนิ กิจกรรม 1. ข้นั เตรียม ประชุม วางแผน การดาเนินนวตั กรรม ผลจากการประชุม ไดข้ อ้ สรุปเบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ข้นั ตอนการ

ดาเนิน ดงั น้ี แหลง่ วสั ดุคอื เศษผา้ ตอ้ งมีการเก็บสะสมเศษผา้ ใหไ้ ดป้ ริมาณพอสมควร เพ่ือการออกแบบ ตกแตง่ จดั ทาการ

ประดิษฐ์

เคร่ืองมือ วสั ดุอุปกรณ์ 1. ผา้ สีต่าง ๆ 2. ดา้ ยเยบ็ ผา้ 3. เขม็ มือ 4. กรรไกร 5. ลกู ปัด 6. ก๊ิบ 7. ปื นกาว

2. ข้นั ดำเนินกำร 1. ออกแบบชิ้นงานประดิษฐ์ 2. รวบรวมเศษผา้ ไมจ่ ากดั ขนาด และสีสัน 3. นาผา้ มาตดั เป็นส่ีเหล่ียมตามขนาดท่ีตอ้ งการ 4. พบั ทบกนั เร่ิมจากพบั คร่ึงก่อน จากน้นั ก็เอาซา้ ยกบั ขวามาทบั กนั 5. จบั จีบ ประมาณ 3 กลีบ 6. จากน้นั เยบ็ แลว้ นาดา้ ยมดั ใหแ้ น่น 7. นาเศษผา้ ชิ้นเลก็ มามว้ น เยบ็ เก็บใหเ้ รียบร้อย นามาวางไวต้ รงระหวา่ งร่องโบว์ 8. พบั ปลายเขา้ ไปขา้ งใน จากน้นั เยบ็ ไม่ตอ้ งแน่นมาก แต่อยา่ หลวมเกินไป 9. พอเยบ็ ผา้ เสร็จแลว้ นาโบวม์ าติดกบั ก๊ิบ 10. แตกแตง่ ชิ้นงาน

บทที่ 4 ผลกำรดำเนนิ งำน

จากการศึกษา คร้ังน้ี สามารถแสดงผล และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไดด้ งั น้ี

ตำรำงที่ 1 คะแนนประเมินพฤตกิ รรมในกำรทำงำนนกั เรียนก่อนจัดกจิ กรรม

ท่ี ชื่อ - สกลุ ข้อที่ 1 รำยกำรประเมิน ข้อท่ี 5 รวม แปลงค่ำ ข้อท่ี 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4

1 เดก็ ชายกสิกร คานึง 1 1 1 1 1 5 พอใช้

2 เด็กชายเกียรติศกั ด์ิ คาเอี่ยม 3 2 3 2 3 13 ดี

3 เด็กชายธนะพร คานึง 1 1 1 1 1 5 พอใช้

4 เด็กชายศุภากรณ์ แกว้ พวง 111 1 1 5 พอใช้

5 เดก็ ชายอภินนั ท์ จารีรัตน์ 1 1 1 1 1 5 พอใช้

6 เดก็ หญิงกญั ญพชั ร เหมือนตา 3 23 2 3 13 ดี

7 เดก็ หญิงกญั ญารัตน์ มณีวงษ์ 3 23 2 3 13 ดี

8 เดก็ หญิงนนั ทิศา ทองกลม 323 2 3 13 ดี

9 เดก็ หญิงฐิติมา ศรีไชย 3 2 3 2 3 13 ดี

10 เดก็ หญิงอดุ มลกั ษณ์ แกว้ ภกั ดี 3 23 2 3 13 ดี

รวม 22 16 22 16 22 98

เฉลยี่ 2.2 1.6 2.2 1.6 2.2 9.8 พอใช้

แปลงคา่ น้อย น้อยทสี่ ุด น้อย น้อยท่สี ุด น้อย

จำกตำรำง แสดงใหเ้ ห็นวา่ การประเมินพฤติกรรมนกั เรียนก่อนจดั กิจกรรม “งานประดิษฐ์” เฉล่ีย

คะแนนการประเมินโดยรวมได้ ดงั น้ี

ขอ้ ที่ 1 นกั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็นผลสาเร็จ ไดใ้ นระดบั นอ้ ย

ขอ้ ที่ 2 นกั เรียนมีสมาธิในการทางาน ไดใ้ นระดบั นอ้ ยท่ีสุด

ขอ้ ที่ 3 นกั เรียนเกิดทกั ษะและมีความคดิ สร้างสรรค์ ไดใ้ นระดบั นอ้ ย

ขอ้ ท่ี 4 พฤติกรรมการติดโทรศพั ทข์ องนกั เรียนลดลง และนาเวลาวา่ งมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ได้ ได้

ในระดบั นอ้ ยที่สุด

ขอ้ ที่ 5 นกั เรียนมีความสุข สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน เกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง ไดใ้ นระดบั

นอ้ ย

สรุป นกั เรียนมีพฤติกรรมการทางานก่อนจดั กิจกรรมโดยรวม อยใู่ นระดบั พอใช้

ตำรำงที่ 2 คะแนนประเมินพฤตกิ รรมในกำรทำงำนนักเรียนหลงั จัดกจิ กรรม

ที่ ชื่อ - สกุล ข้อท่ี 1 รำยกำรประเมิน ข้อท่ี 5 รวม แปลงค่ำ ข้อท่ี 2 ข้อท่ี 3 ข้อที่ 4

1 เด็กชายกสิกร คานึง 4 3 4 4 5 20 ดีเยี่ยม

2 เด็กชายเกียรติศกั ด์ิ คาเอ่ียม 5 4 5 5 5 24 ดเี ยี่ยม

3 เด็กชายธนะพร คานึง 4 3 3 3 5 18 ดีมำก

4 เด็กชายศุภากรณ์ แกว้ พวง 333 4 5 18 ดีมำก

5 เดก็ ชายอภินนั ท์ จารีรัตน์ 3 3 3 4 5 18 ดมี ำก

6 เด็กหญิงกญั ญพชั ร เหมือนตา 5 45 5 5 24 ดเี ยย่ี ม

7 เด็กหญิงกญั ญารัตน์ มณีวงษ์ 5 55 5 5 25 ดเี ยย่ี ม

8 เด็กหญิงนนั ทิศา ทองกลม 445 5 5 23 ดเี ยย่ี ม

9 เดก็ หญิงฐิติมา ศรีไชย 5 4 5 5 5 24 ดีเย่ยี ม

10 เด็กหญิงอุดมลกั ษณ์ แกว้ ภกั ดี 5 45 5 5 24 ดีเยย่ี ม

รวม 22 43 37 43 45 50 218

เฉลย่ี 2.2 4.3 3.7 4.3 4.5 5 21.8

แปลงคา่ น้อย มำก ปำนกลำง มำก มำก มำกที่สุด

จำกตำรำง แสดงใหเ้ ห็นวา่ การประเมินพฤติกรรมนกั เรียนก่อนจดั กิจกรรม “งานประดิษฐ์” เฉล่ีย

คะแนนการประเมินโดยรวมได้ ดงั น้ี

ขอ้ ท่ี 1 นกั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็นผลสาเร็จ ไดใ้ นระดบั มาก

ขอ้ ที่ 2 นกั เรียนมีสมาธิในการทางาน ไดใ้ นระดบั ปานกลาง

ขอ้ ท่ี 3 นกั เรียนเกิดทกั ษะและมีความคดิ สร้างสรรค์ ไดใ้ นระดบั มาก

ขอ้ ท่ี 4 พฤติกรรมการติดโทรศพั ทข์ องนกั เรียนลดลง และนาเวลาวา่ งมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ไดใ้ น

ระดบั มาก

ขอ้ ที่ 5 นกั เรียนมีความสุข สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน เกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง ไดใ้ นระดบั

มากท่ีสุด

สรุป นกั เรียนมีพฤติกรรมการทางานหลงั จดั กิจกรรมโดยรวม อยใู่ นระดบั ดีเยยี่ ม

ตำรำงท่ี 3 เปรียบเทยี บคะแนนประเมินพฤติกรรมในกำรทำงำนนักเรียนก่อนและหลงั จดั กจิ กรรม

ท่ี ชื่อ - สกุล เปรียบเทยี บ ผลต่ำง ก่อนใช้ หลงั ใช้

1 เดก็ ชายกสิกร คานึง 5 20 15

2 เดก็ ชายเกียรติศกั ด์ิ คาเอี่ยม 13 24 11

3 เดก็ ชายธนะพร คานึง 5 18 13

4 เด็กชายศุภากรณ์ แกว้ พวง 5 18 13

5 เดก็ ชายอภินนั ท์ จารีรัตน์ 5 18 13

6 เด็กหญิงกญั ญพชั ร เหมือนตา 13 24 11

7 เด็กหญิงกญั ญารัตน์ มณีวงษ์ 13 25 12

8 เด็กหญิงนนั ทิศา ทองกลม 13 23 10

9 เด็กหญิงฐิติมา ศรีไชย 13 24 11

10 เดก็ หญิงอุดมลกั ษณ์ แกว้ ภกั ดี 13 24 11

รวม 98 218 120

เฉลย่ี 17.81 39.64 21.81

ร้อยละ 39.2 87.2 48

จากตารางพบวา่ นกั เรียนมีคะแนนก่อนการใชน้ วตั กรรม คิดเป็นร้อยละ 17.81 และหลงั การใช้

นวตั กรรม โดยคดิ เป็นร้อยละ 39.64 มีความแตกต่างร้อยละ 21.81

ตำรำงที่ 4 แบบประเมินควำมพงึ พอใจของนักเรียน

ข้อ รำยกำรประเมนิ ระดับควำมพงึ พอใจ แปลงค่ำ รวม คา่ เฉล่ีย

1 รูปแบบกิจกรรมตอบสนองความตอ้ งการของนกั เรียน 50 5 มากท่ีสุด

2 กิจกรรมการเรียนรู้ทาใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย 46 4.6 มาก

3 ส่ือ/วสั ดุอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการทา กิจกรรมมีความเหมาะสม 40 4 มากท่ีสุด

4 ระยะเวลาที่ใชใ้ นการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม 45 4.5 มาก

5 เน้ือหาของกิจกรรม เหมาะกบั ระดบั ความรู้ความสามารถ 40 4 มาก ของนกั เรียน

6 กิจกรรมส่งเสริมใหน้ กั เรียนพฒั นาความสามารถดา้ นการ 45 4.5 มาก สื่อสาร การคดิ และการแกป้ ัญหา

7 นกั เรียนไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะตามเน้ือหาและ 48 4.8 มาก กิจกรรมการเรียนรู้

8 นกั เรียนรู้สึกภาคภูมิใจในผลงานตนเอง 50 5 มากที่สุด

9 นกั เรียนมีความสนุกสนานในการทากิจกรรม 50 5 มากที่สุด

10 นกั เรียนนาความรู้ที่ไดจ้ ากการทากิจกรรมไปใชใ้ น 40 4 มาก ชีวิตประจาวนั ได้

รวม 454 45.4 ดีเยยี่ ม

จำกตำรำงเบื้องต้น แสดงให้เห็นว่า ในภาพรวมของระดบั ความพึงพอใจของกลุ่มตวั อย่างท่ีมีต่อการจดั

กิจกรรม “งานประดิษฐ์” อยใู่ นระดบั ดีเยย่ี ม

หากพิจารณาค่าเฉล่ีย เป็ นรายกิจกรรม พบว่า มีความพึงพอใจในรูปแบบกิจกรรมตอบสนอง ความตอ้ งการของนกั เรียน นกั เรียนรู้สึกภาคภูมิใจในผลงานตนเอง นักเรียนมีความสนุกสนานในการทา กิจกรรม อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด รองลงมาจากน้นั นกั เรียนมีความพงึ พอใจ อยใู่ นระดบั มาก

บทท่ี 5 สรุปอภปิ รำยผลและข้อเสนอแนะ

จากการดาเนินนวตั กรรมการศึกษา (Best Practice) นวตั กรรมการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้”เพื่อพฒั นาสมาธิและความคดิ สร้างสรรคข์ องนกั เรียนผา่ นกิจกรรม งานประดิษฐ์ กบั นกั เรียน กลมุ่ เป้าหมายผลปรากฏวา่

คะแนนประเมินพฤติกรรมในการทางานนกั เรียนก่อนและหลงั จดั กิจกรรม นกั เรียนมีคะแนนก่อน การใชน้ วตั กรรม คิดเป็นร้อยละ 39.2 และหลงั การใชน้ วตั กรรม โดยคดิ เป็นร้อยละ 87.2 มีความแตกต่างร้อย ละ 48 นกั เรียนมีความกา้ วหนา้ ในการใชน้ วตั กรรม

แบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียน แสดงใหเ้ ห็นวา่ ในภาพรวมของระดบั ความพึงพอใจของ กลุ่มตวั อยา่ งที่มีต่อการจดั กิจกรรม “งานประดิษฐ”์ อยใู่ นระดบั ดีเยยี่ ม หากพจิ ารณาค่าเฉลี่ย เป็นราย กิจกรรม พบวา่ มีความพึงพอใจในรูปแบบกิจกรรมตอบสนองความตอ้ งการของนกั เรียน นกั เรียนรู้สึก ภาคภูมิใจในผลงานตนเอง นกั เรียนมีความสนุกสนานในการทากิจกรรม อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด รองลงมา จากน้นั นกั เรียนมีความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั มาก

นกั เรียนสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานใหเ้ ป็นผลสาเร็จได้ นาไปสู่การมีสมาธิในวชิ า อื่น ๆ เพิม่ ข้ึน มี สมาธิในการเรียนเพิ่มข้ึน สามารถลดพฤติกรรมการติดโทรศพั ท์ นาเวลาวา่ งไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ มี ความสุขกบั การเรียน สนุกกบั การสร้างสรรคผ์ ลงาน และเกิดคามภาคภูมิใจในตนเอง

ข้อเสนอแนะ ประดิษฐช์ ิ้นงานใหม้ ีความหลากหลาย ควรมีการพฒั นาต่อ เพื่อใหเ้ กิดการขยายความรู้สู่ชุมชน

หรือกลมุ่ ผสู้ นใจ เพราะเห็นประโยชนแ์ ละคณุ ค่าจากเศษผา้

บรรณำนุกรม

กฤษณา ลน้ เหลือ/อญั ชิสา แตงไทย. 2563. นวตั กรรมส่ิงประดิษฐพ์ วงมาลยั ผา้ ขาวมา้ . วิทยาลยั เทคโนโลยอี รรถวิทยพ์ ณิชยการ.

ชาญวทิ ย์ พรนภดล. (2556). การรักษาเด็กสมาธิส้ัน (ปริญญามหาบณั ฑิต) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ฃ มหาวิทยาลยั

ณรงค์ กาญจนะ. (2552). เทคนิคและทกั ษะการสอนเบ้ืองตน้ . สืบคน้ เม่ือ 1 พฤศจิกายน 2562 (ออนไลน์). เขา้ ถึงไดจ้ าก: //tang49e101050.blogspot.com/p/blog-page_6581.html

ลดั ดาวลั ย์ รุมรัตน์. นวตั กรรมการจดั กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้” โดยใชก้ ระบวนการ AOMKUNGMA เพ่ือพฒั นานกั เรียนดา้ นทกั ษะการทางานและความคดิ สร้างสรรคผ์ า่ นกิจกรรม เกษตรสร้างสรรค.์ โรงเรียนวดั ใหญ่ชยั มงคล (ภาวนารังสี) จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา.

วินดั ดา ปิ ยะศิลป์ . (2550 หนา้ 12). เดก็ สมาธิส้นั (Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder-ADHD). (ปริญญามหาบณั ฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

สุปรีชา คาตะ๊ และคณะ. 2555. เศษผา้ ท่ีมีชีวิต. วิทยาลยั อาชีวศึกษาเชียงราย. Tukta Style. ก๊ิบติดผมทาจากผา้ . เขา้ ถึงไดจ้ าก //www.youtube.com/watch?v=ihlGjrEvHH8

ภำคผนวก

ภำพ กำรประดิษฐ์กบิ๊ ตดิ ผม

ภำพ กำรประดิษฐ์กระเป๋ ำ

ภำพ กำรประดษิ ฐ์ตงุ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด