คล น กร ษาไข หว ด หล ง ม.จ นทรเกษม

arsa.260753 Download

  • Publications :0
  • Followers :0

คู่มือ ORT ปี 5 10 เม.ย57

คู่มือ ORT ปี 5 10 เม.ย57

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

คู่มือ ORT ปี 5 10 เม.ย57

อยา่ งสงบไมห่ ลงตาย ไม่อยากไปอบายภมู ิ เกิดมาชาตินม้ี ีทกุ ขม์ าก พอแล้ว จงึ ขอใหท้ กุ คนทำตามท่ีพอ่ ขอร้อง คือ ๑. ขอให้สามัคคี ระลึกถงึ สายเลือดบรรพบุรษุ ตง้ั ว่า “พมิ พ์สุ

ธรรม” แปลวา่ แบบแผนธรรมอันดงี าม ขอใหท้ ำดีทุกลมหายใจ จะไดเ้ ปน็ แบบอย่างแก่ลกู หลาน ๒. ถา้ พ่อป่วยหนกั ไม่ตอ้ งนำเข้ารักษาในโรงพยาบาล พอ่ ปรารถนา จะตายอยา่ งสงบ อาศัยธรรมะของพระพุทธเจ้า ๓. ถา้ เม่อื พอ่ ตายไมต่ อ้ งร้องไห้ เศรา้ โศก เสยี ใจ ทกุ คนจะต้องพลัด พรากและไมต่ อ้ งทำพิธี เพราะพ่อได้มอบรา่ งกายให้สถาบัน วทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ และมพี ินยั กรรมใหม้ สี ่วนแบง่ สมบัตทิ รัพยส์ ิน ไว้แล้ว ๔. ขอให้ทกุ คนอโหสิกรรมแกท่ กุ ๆ คน พอ่ มุ่งส่แู ดนเกษมเทา่ ท่ีจะ ทำได้ขอให้ทกุ คนอย่าได้กอ่ เวรกรรมตอ่ ใครๆ ขอให้อโหสิ กรรม ท้ังหมด”

• ยอ้ นอดีต เกิด ๑๔ เมษายน ๒๔๘๘ ตรงกับวันเสาร์ขึน้ ๓ คำ่ เดือน ๕ ปรี ะกา ท่ีบ้านคำมะมาย ต.หนองกรงุ อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม ปลายสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ประมาณ ๓ เดือน จบสงครามด้วย อเมริกา ทงิ้ ระเบดิ ปรมาณูทีเ่ กาะฮิโรชิม่า เกาะนางาซากิ คนตาย จำนวนมาก ญปี่ ุน่ ยอมแพ้สงคราม ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ คุณตาเสียชวี ติ กไ็ ด้ยา้ ยไปอย่บู า้ นเสี้ยวนอ้ ย ต.บา้ นเหล่า อ.เมอื ง จ.ชยั ภูมิ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ เขา้ โรงเรียน ประถมศึกษา จนจบมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ตอ่ มา พ.ศ. ๒๕๐๒

- ๕๑ -

ไดเ้ รยี นต่อทโ่ี รงเรยี นอำนวยเวทย์ จ.นครราชสีมา มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ปีน้คี ณุ พ่อเสียชวี ติ และสะเทือนใจท่ี ประเทศไทยแพ้คดีเขาพระวหิ ารขน้ึ ศาลโลก ตอนนัน้ รสู้ ึก อยากเป็นทหารรบั ใช้ชาติ

• ปี ๒๕๐๓ ไดก้ ลับมาเรยี นต่อทโ่ี รงเรยี นชัยภมู วิ ิทยา ไดม้ ีโอกาสเรยี น ภาษาอังกฤษกับครอบครวั Missionary พอปดิ เทอมไปสมคั รเปน็ กระเป๋ารถเมล์ เพอ่ื หาเงินคา่ เล่าเรยี น จึงไดม้ โี อกาสไปกรุงเทพฯ ต่อมาจึงไปอยูท่ ีก่ รงุ เทพฯ เรยี นตอ่ ทโี่ รงเรยี นผดุงศษิ ยว์ ทิ ยา ต่อจากนน้ั ไปอาศัยทว่ี ดั เทวราชกญุ ชร และไปจบ ม.ศ. ๕ ทโี่ รงเรียน สมาคมโรงเรียนราษฎร์มักกะสนั ปี ๒๕๐๗ สอบเขา้ เปน็ นักเรียน นายสบิ ทหารสอ่ื สาร สะพานแดง บางซ่อื กรงุ เทพฯ เมอื่ จบ การศึกษาได้สงั กดั กองพันทหารส่อื สาร ถนนวทิ ยุ ใช้ชีวิตเป็นทหาร ๑๕ ปี กไ็ ด้ลาออกไปศกึ ษาท่ีสหรัฐอเมรกิ า

• ยอ้ นอดตี ปี ๒๕๑๑ - ๒๕๑๒ ขณะมยี ศสิบเอกไปราชการสงคราม เกาหลี (ใต)้ ในตำแหน่งพลวทิ ยุ ตอนสอื่ สาร กองร้อยอิสระผลัดท่ี ๒๐ หนว่ ยทหารไทยร่วมรบกองกำลงั สหประชาชาติ ได้สมญานาม ว่า “พยัคฆน์ อ้ ย” ภาษาอังกฤษว่า “Little Tiger” สมญานามน้ี ไดร้ บั เมอื่ ผลดั ท่ี ๓ ขณะน้ันเป็นระดับกองพันทหารไทย (เพมิ่ เตมิ กำลัง) ผบู้ ังคบั กองพันสมัยนน้ั คอื พ.ต.เกรยี งศักดิ์ ชมะนนั ทน์ ได้ ทำการรบเผชญิ หน้ากบั กองกำลงั ทหารเกาหลเี หนอื อย่างองอาจกล้า หาญไดร้ บั การยกย่องจากผ้บู งั คบั บญั ชาสูงสุดของกองกำลัง สหประชาชาตใิ นสมยั น้นั และได้รบั เหรียญกล้าหาญของ

- ๕๒ -

สหรัฐอเมริกา (พ.ต.เกรียงศกั ดิ์ ชมะนนั ทน์ รบั ราชการได้ยศเป็นพล เอกและได้เปน็ นายกรฐั มนตรขี องประเทศไทย) ตอ่ มา เมอื่ มกี าร เจรจาสงบศกึ ท่ปี ันมนุ จอมแล้วก็ลดกำลงั ทหารลง หนว่ ยทหารไทย ได้ลดกำลังเหลือระดบั กองรอ้ ยเพมิ่ เติมกำลังขึน้ สมทบกบั กองพล ทหารราบที่ ๗ สหรัฐฯ เป็นกองกำลังสหประชาชาตติ ามเดิม • เพอ่ื เปน็ ความทรงจำในอดตี จงึ ขอกลา่ วนามผูท้ ีม่ ีบทบาทสำคัญใน ระหวา่ งปี ๒๕๑๑-๒๕๑๒ กองร้อยอิสระผลดั ที่ ๒๐ (พยัคฆน์ อ้ ย ผลัด ๒๐) มีพลตรี Edward P. Smith เปน็ ผู้บัญชาการกองพลท่ี ๗ สหรัฐฯ ขณะนัน้ พล.ต.โชติ คลอ่ งวิชา เป็นเอกอคั รราชทูตไทย ประจำกรุงเซอลู มี พ.อ.อรรคพล สมรูป เปน็ ผู้ช่วยทูตทหารบกและ หัวหนา้ นายทหารตดิ ตอ่ ประจำสหประชาชาติ และ พ.ต.นพชเลศ บรู ณศริ ิ เป็นนายทหารติดต่อประจำสหประชาชาติ

กองร้อยอสิ ระผลัดท่ี ๒๐ นข้ี ึ้นตรงตอ่ กรมทหารราบที่ ๒๑ รักษาพระองคใ์ นสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ จงึ ประดบั พระปรมาภิไธยย่อ “สก.” ทหี่ น้าอกด้านขวา มีผบู้ งั คบั กองร้อย คือ พ.ต.อำพล บุณโยปษั ฎัมภ์ (ยศสดุ ท้ายเป็น พล.อ.) รอง ผูบ้ ังคับกองร้อย คือ ร.อ.เจอ โพธิศ์ รนี าค (ยศสุดท้ายเปน็ พล.อ.) ผู้ บังคับหมวดปนื เลก็ ที่ ๑ คือ ร.ท.อัครเดช ศศปิ ระภา (ยศสดุ ทา้ ย เป็น พล.อ.) ผู้บังคบั หมวดปนื เล็กท่ี ๒ คือ ร.ท.สมศักดิ์ ศัลยกำธร (ยศสุดทา้ ยเปน็ พล.อ.) ผู้บงั คับหมวดปืนเลก็ ที่ ๓ คือ ร.ท.ศลิ กลั กลั ยาณมติ ร (ยศสดุ ทา้ ยเป็น พล.ท.) ผูบ้ ังคบั หมวดอาวธุ คือ

- ๕๓ -

ร.ท.วชั ร วัฒนกุล (ยศสุดท้ายเป็น พล.ท.) หวนระลกึ เพลงฮิทมาก คือ ปูซานฮังกยู ่า แปลว่า ระลึกถึงปซู าน เมอื งทางใต้ของเกาหลใี ต้ • กาลเวลาผ่านไปตา่ งก็แยกยา้ ยไปใชช้ วี ิตตามครรลองของแตล่ ะท่าน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ส.อ.เบญจพล พมิ พ์สุธรรม ไดเ้ ป็นครสู อนใหแ้ ก่ กำลงั พลที่ค่ายฝึกกองพลเสอื ดำที่กาญจนบรุ ี ตอ่ มาในปี ๒๕๑๓ - ๒๕๑๕ ไปทำงานพิเศษทางภาคเหนือกบั ประเทศเพื่อนบา้ น ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ทุนไปศึกษาหลกั สูตรช่างซ่อมเคร่ืองช่วยเดินอากาศท่ี สหรัฐอเมรกิ า ปี ๒๕๒๐ ไดป้ ฏิบตั งิ านในประเทศฟิลิปปินส์กบั กอง พันทหารช่างไทยรว่ มภาคี “ซโี ต้” (SEATO) ในกรุงมะนลิ า เก่ยี วกบั การสรา้ งทางยุทธศาสตร์ ทหารสอื่ สารทำหน้าทต่ี ิดต้ังข่าย การส่ือสาร • ต่อมา ปี พ.ศ. ๒๕๒๔–๒๕๒๙ ได้เรียนวิศวกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอ นกิ สท์ ่มี หาวทิ ยาลยั Toledo มลรัฐ Ohio สหรัฐอเมริกา ต่อมา ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ จงึ ขอโอนสัญชาตเิ ปน็ อเมรกิ นั เพ่ือทำงานในองคก์ าร บนิ พลเรือน FAA สหรัฐฯ ทำงานอยู่ ๒๖ ปี จงึ ลาออก เมอ่ื ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖

- ๕๔ -

• เปลี่ยนวถิ ชี วี ติ ใหม่ ระลกึ ไดว้ ่า ไดเ้ คยตั้งสจั อธิษฐานไวต้ อ่ หน้าองค์ พระประธานวัดมงคลบพิตร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ว่าจะขอ บรรพชาอุปสมบท เกรงวา่ เสียสจั จะก็คงตกนรก จึงไดล้ าออกจาก งานทง้ั หมด แลว้ เตรียมตัวมอบภาระต่างๆ ใหแ้ ก่ครอบครัว โดย เฉพาะลูกหลานต้องใช้กาลเวลาทำความเข้าใจกนั ไม่ใช่เรือ่ งง่ายนัก เพราะตา่ งวัยยอ่ มต่างความคิดเหน็ ในการมองดูโลกสงสาร

• ได้ติดตามถามขา่ วผูท้ ่ีไปราชการสงครามทีป่ ระเทศเกาหลใี ตใ้ น กองร้อยพยคั ฆ์น้อยท่ี ๒๐ ปรากฏว่าล้มหายตายจากกันไปแล้ว หลายคน ความแก่ชรา ความเจ็บป่วยเข้ามาเยือน อดตี นายทหาร ระดับผบู้ ังคบั บญั ชากไ็ ด้เสียชีวิตไปหลายท่านแล้ว เพ่ือนๆ กไ็ ดจ้ าก ไปหลายทา่ น ความรู้สกึ ว่า ตนเองกเ็ ขา้ ใกล้ความตาย บดั นี้ อายุย่าง เข้าวยั เลข ๗ แลว้ จะเหลืออีกกป่ี ี ไดข้ า่ วดวี า่ อดตี ผบู้ งั คับหมวดปนื เลก็ ท่ี ๒ ได้ยศพลเอกแล้วลาออกจากราชการทหารและได้บวชเป็น พระสงฆ์ในคณะธรรมยุตได้หลายปีแล้ว และเปน็ เจา้ อาวาสวดั ป่า พมิ าย (ธรรมยุต) อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสมี า จึงตดั สนิ ใจ เดินทางกลบั จากอเมรกิ ามุ่งมาพบ เพ่ือจะขอมาบวชอย่ดู ้วย และได้ นำหนงั สอื อนสุ รณม์ ายืนยันความสมั พนั ธ์ไดร้ ะลึกในความทรงจำ การใช้ชวี ติ ในสงครามเกาหลีใต้ น้คี อื ร.ท.สมศกั ดิ์ ศลั ยกำธร ตำแหนง่ ผู้บงั คบั หมวดปนื เล็กท่ี ๒ กองร้อยอสิ ระผลดั ที่ ๒๐ (พยัคฆน์ ้อย ๒๐) ณ สาธารณรัฐเกาหลี (ใต้) ตั้ง

- ๕๕ -

คา่ ยอยใู่ กล้เส้นแบ่งเขต DMZ ทบี่ ้านอุนชอน ภาษาเกาหลเี รียก อนุ ชอนนิ

• หวนระลึกถึงในสนามเทือกเขาในเกาหลใี ต้ เขาเรียก CAFE Exercise เดือนธันวาคม ๒๕๑๑ กำลังหนาว ไม่ใช่ร้านขายกาแฟ แต่เป็นการฝกึ เพ่ือความเข้มแขง็ วอ่ งไวของแตล่ ะคน เพอื่ เอาชีวิตให้ รอด ถา้ หากเกิดการสูร้ บจรงิ ในสภาวะอากาศหนาวจดั มาก เปน็ คำ ย่ออาจลืมเลือนไป เขา้ ใจว่า ยอ่ มาจาก Combat Area Field Enemy Exercise คงแปลวา่ การฝึกภาคสนามในภมู ิประเทศทีม่ ีข้าศึก เผชิญหนา้ อยู่จริง ผบู้ ังคับหมวดหนมุ่ ๆ กำลงั สัง่ การเตรียมกำลังเข้ายึดฐานของ ข้าศกึ (สมมุต)ิ หมวดท่ี ๑ ปกี ขวา หมวดท่ี ๒ ปกี ซา้ ย หมวดที่ ๓ กำลังหนุน เพ่ือเข้าตีกำลงั ข้าศกึ (สมมตุ ิ) และมีหมวดอาวุธหนัก สนบั สนุน การปฏิบัตกิ ารทางทหารในการเขา้ ตี

• กาลเวลาผ่านไป ถึงปี ๒๕๕๙ รวมประมาณ ๔๘ ปี สืบสาวหาขา่ ว จากเพอื่ นๆ ทราบว่าอดตี ร.ท.สมศักด์ิ ศลั ยกำธร ผบู้ ังคับหมวดปืน เลก็ ที่ ๒ บรรพชาอุปสมบทในบวรพุทธศาสนาคณะธรรมยุต เขา้ ป่า ปฏิบัตธิ รรม สู้รบกับขา้ ศึกในวฏั สงสาร ไมไ่ ดม้ เี ปส้ ะพายหลงั ไม่มีปืน ทบี่ รรจุกระสนุ เตม็ ไม่มีเข็มขัดใสก่ ระสนุ และระเบิดมือติดเอวติด สายเป้ มแี ต่ย่าม บาตรใบเดียว บริขารเทา่ ท่ีจำเป็น แบกกลด ถอื กาน้ำเขา้ สนามรบในปา่ เขา เพื่อสูร้ บข้าศกึ ในจิตใจ มุ่งไปอยา่ งโดด เด่ยี วคนเดียวไม่ตอ้ งมีกำลังทหารคมุ้ กัน หรือต้องเดินนำหนา้ หรือโผ ไปหมอบไปเพอื่ พชิ ิตขา้ ศกึ ในสนามรบ ท่ีเส่ยี งต่อกระสนุ ปืนของ

- ๕๖ -

ข้าศึก ไมต่ ้องกระโดดจากเคร่อื งบินโดยใชร้ ่มกางลอยในอากาศลง หาดทราย แม่นำ้ ฮันทเ่ี กาหลใี ต้ ไม่ตอ้ งยิงดว้ ยปืนเล็กบรรจุเอง เอ็ม ๑๔ (สมัยนัน้ ) เล็งเป้าในสนามยงิ ปืน แตต่ อ้ งใชก้ ระสุน คือ สติ สมาธิ ปญั ญา เลง็ เป้าท่จี ิตใจตนเอง สู้กับขา้ ศกึ ในจติ ใจตวั เอง ไมท่ ำ ร้ายทำลายล้างชีวิตใครๆ นอกจากทำลายล้างกิเลสอาสวะอวชิ ชาที่ ฝงั อยใู่ นจิตใจ เปิดสนามรบทีจ่ ติ ใจ ชนะกท็ ่จี ติ ใจ ซ่งึ มคี วามยากยิ่ง กวา่ การรบในภมู ิประเทศสามารถมองเห็นข้าศกึ ได้งา่ ยกว่า ยิง กระสุนออกจากลำกล้องปืนก็เกิดเสยี งดัง เสียทรพั ย์สนิ มากมาย แต่ การรบตอ่ สู้กับกเิ ลสอวชิ ชาในจติ ใจ ไม่ต้องใชท้ รพั ยากรมากมาย มี บาตรใบเดียวกพ็ อ และบริขารต่างๆ ลว้ นมาจากศรัทธาทีผ่ อู้ นื่ ให้ ดว้ ยความเตม็ ใจมากมายเหลอื เฟือ อาวธุ กส็ รา้ งขึน้ เองดว้ ย ศีล สมาธิ ปญั ญา ถ้ารบชนะวฏั สงสารได้แลว้ พระพทุ ธเจ้าสรรเสรญิ ว่า เป็นยอดนกั รบ

จ.ส.อ.เบญจพล พิมพ์สุธรรม อดีตตำแหน่ง พลวิทยุ ตอนส่อื สาร สงั กัด กองร้อยอสิ ระผลัดท่ี ๒๐ ไดร้ บั คำแนะนำใหเ้ ตรยี มตัวขอบรรพชา อุปสมบทแบบธรรมยุต จึงไปตดิ ต่อขอบรรพชาอุปสมบทกับท่านเจา้ คุณ พระวนิ ัยโมลี เจ้าอาวาสวัดป่าสาลวนั ท่านยนิ ดี เป็นพระอปุ ัชฌาย์ให้ เม่ือ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๐ ที่วัดปา่ สาลวัน อำเภอเมอื ง จงั หวัด นครราชสีมา ในปีพรรษา ๒๕๖๓ บวชได้ ๔ พรรษา สงั กัด วัดปา่ พมิ าย (ธรรมยตุ )

- ๕๗ -

ภาพบางเหตุการณ์เพ่ือหวนระลกึ อดตี

ส.อ.เบญจพล พมิ พ์สุธรรม

พลวทิ ยุ พลวิทยตุ ดิ ตาม ผู้บงั คบั กองร้อย

อย่ใู นสนามฝึกในภูมิประเทศเกาหลใี ต้

- ๕๘ -

“CAFE EXERCISE” ย่อมาจาก Combat Action Field Enemy Exercise แปลเปน็ ไทยว่า “การฝกึ ทำการรบในพื้นทก่ี ารรบ (จรงิ ) ใกล้ เขตปลอดทหาร (DMZ)”

DMZ = Decentralized Military Zone

โดย ร.อ. Robert W. Anderson นายทหารตดิ ต่อกองทัพสหรฐั ฯ ประจำกองรอ้ ยทหารไทยเปน็ ผชู้ ีแ้ จงสถานการณ์ พน้ื ท่กี ารฝึกรบในพื้นท่ี อันเปน็ ยทุ ธภูมริ บในอดตี ระหว่างกองทัพเกาหลีเหนือกับกองกำลัง สหประชาชาติ ซงึ่ ทหารไทยได้ประกอบวรี กรรมไว้จนไดร้ ับยกยอ่ งและ ไดร้ ับเหรยี ญกลา้ หาญ (Bronze Star V.) V ยอ่ มาจาก Victory แปลว่า ชยั ชนะ

การฝกึ ในพน้ื ท่ีรบจริงใชก้ ระสนุ จริงเตรยี มเผชิญ(ถา้ มีขา้ ศกึ จรงิ ) แตห่ ้ามบรรจใุ นลำกล้องปืนและไม่ใช้กระสุนซอ้ ม

ถา้ เกดิ เสียงปืนดงั ขนึ้ ในสนามรบจริงนนั้ แลว้ เกรงวา่ ทหาร เกาหลเี หนือจะเข้าใจผิด อาจเกิดมีการสู้รบกันข้นึ อกี เพราะได้เซน็ สัญญาหยุดยิงกันแลว้

Counter Guerrilla Warfare เปน็ หลักสตู รการฝกึ การปราบปราม ผูก้ ่อการรา้ ย เป็นการฝกึ การปฏิบัติการรบโดยฉับพลัน ถ้าค้นหา ผู้กอ่ การรา้ ยโดยการใช้กำลงั เป็นหน่วย

- ๕๙ -

ขนาดเล็กเคลือ่ นท่ีเรว็ ตามสถานการณท์ ่เี กิดขึ้น ในพ้ืนทยี่ าก ลำบากใน พืน้ ท่ีเสยี่ งภัยอันตราย

ในบางเหตกุ ารณ์จำเป็นต้องใช้กำลงั ขนาดเล็กเคล่อื นที่เรว็ โดยใช้ ชอื่ ว่า Quick Reaction Force ตอ้ งเคลื่อนย้ายกำลังดว้ ยเฮลคิ อปเตอร์ใน พื้นทีเ่ ปา้ หมาย เปน็ ต้น

ในที่สุดกไ็ มล่ มื ทำกจิ กรรมเกี่ยวกับพระพทุ ธศาสนาและวนั สำคัญ ของชาตไิ ทย

- ๖๐ -

หลวงตาดอกเตอร์ เจ้าอาวาสวดั ป่าพิมาย (ธรรมยตุ ) ได้บอกให้ พระเบญจพล ฉินนฺ าลโย ไปพักอยกู่ ฏุ ดิ ้านหลังสดุ ใกล้ลำน้ำเคม็ ช่อื กฏุ ิ ๑/๕๑ จติ รตรี-ศรีรัตน์ โดยให้ญาติโยมไป ปรับปรุงพืน้ ทีใ่ นบรเิ วณใกล้เคยี งปรับปรุง ทางเดินจงกรม และอนญุ าตให้สร้างสถาน ท่ภี าวนาใต้ต้นโพธใ์ิ หม้ หี ลังคาปอ้ งกันแดด ฝน แล้วตั้งชือ่ ว่า “โพธมิ รรควสิ ทุ ธธิ รรม” และให้สรา้ งสถานทภ่ี าวนาใตต้ น้ ไม้ใหญบ่ น คนั ดนิ ริมน้ำเคม็ รับลมเยน็ ผ่านนำ้ แลว้ ตง้ั ช่อื วา่ “กระแสอุเบกขาธาราสนั โดษ” และ อนุญาตให้ตดิ เครือ่ งมือให้ประจไุ ฟฟ้า แสง สว่างจากแสงแดด เพื่อใช้กับเครอ่ื งมอื ใน การใช้ค้นควา้ จากเครอื่ งอิเล็กทรอนิกส์ สมัยใหมด่ ้วย นอกจากน้ไี ด้อนุญาตให้ใช้ สถานทีภ่ าวนาบนจอมปลวกต้นมะขามที่ หลวงตาดอกเตอรไ์ ด้สรา้ งไว้ เพื่อเป็นสถาน ทพ่ี ักภาวนานานมาแลว้ จึงอนุญาตให้ชา่ ง รื้อและสร้างอาคารคลมุ ไว้เปน็ อนสุ รณ์ตามคำขออนุญาตของคุณครู สนุ ทร สดุ ชนะ คอื “มะขามจอมปลวก” กายวิเวก: จติ วเิ วก ปรารภ ความเพียร: คณะศษิ ย์ขออนุญาตปรบั ปรงุ ไว้เป็นอนุสรณ์เสรจ็ เม่ือ มีนาคม ๒๕๖๓ และท่ีพักภาวนาอีกแหง่ หนึง่ คอื “หลบโลกร้ธู รรม” อยู่ ริมลำน้ำเคม็ ติดกบั ต้นโพธิ์กอไผ่ คณะศษิ ย์ขออนญุ าตสรา้ งเปน็ อนสุ รณ์

- ๖๑ -

เสร็จเมื่อเมษายน ๒๕๖๓ ทง้ั สองแหง่ หลวงตาดอกเตอรไ์ ด้อาศยั พัก ภาวนาในระยะมาสร้างวดั ป่าพมิ าย (ธรรมยุต) ซ่ึงได้ผุพงั ไปตามกาลเวลา และเมือ่ สร้างใหมไ่ วแ้ ลว้ ก็ได้อนญุ าตใหพ้ ระสงฆ์รูปใดสนใจสามารถไป ใชไ้ ด้ตามอธั ยาศยั ซงึ่ ได้นำคำกล่าวของหลวงพ่ออินทรถ์ วาย สนั ตุสสโก ผมู้ าริเรม่ิ สรา้ งวัดป่าพิมาย (ธรรมยตุ ) น้ี ทา่ นว่า “มหาวทิ ยาลยั ป่าหลวง ตา (มหาบวั ) ทา่ นเคยพดู ว่า มหาวิทยาลัยปา่ คอื เปน็ มหาวทิ ยาลยั ที่เป็นสถานท่ฝี ึกหดั ดดั นสิ ยั พระที่จะดำรงทรงศาสนา ทรงมรรค ทรง ผล ผเู้ หล่านจ้ี ะต้องมาศกึ ษาอยู่ในปา่ ดงพงไพรอยู่ในถำ้ เงอ้ื มผา ในที่ สงบสงดั ท่านว่าน้ีละคือ มหาวทิ ยาลัยป่า” ดังนัน้ เมื่อสร้างวัดแล้ว จะต้องปลกู ตน้ ไม้ชนิดต่างๆ ใหเ้ ปน็ สภาพปา่ ขอให้ปลกู เพ่มิ เติมไว้ทุกๆ ปี

แต่ทน่ี ไ่ี ม่มีภูเขาไม่มีเงือ้ มผา จึงต้อง หาโอกาสไปภาวนาในสถานที่อืน่ เพื่อใหเ้ รียนรูส้ ภาวะของจิตใจตนเอง ตามวถิ จี ติ ของแต่ละคนซึ่งอาจไม่ เหมือนกนั หลวงพ่ออนิ ทร์ถวาย ทา่ น ยำ้ ไว้เสมอว่า “พระเราต้องอยา่ ลืม ทำความเพียรภาวนาให้เดินตามแนวแถวพ่อแม่ครูบาอาจารย์ เพ่อื มรรคเพ่อื ผลและมรรคผลไม่ได้อยู่ทไี่ หนอยู่ท่ีใจของเราทุกคนใหม้ ุ่งมนั่ ทำเอา”

- ๖๒ -

ความมคี ณุ ของที่พักภาวนาบนจอมปลวกต้นมะขามใหญ่ ใกลล้ ำนำ้ เค็มทา้ ยวัดปา่ พมิ าย (ธรรมยุต)

หลวงตาดอกเตอรไ์ ดส้ รา้ งท่พี กั กบั สามเณร เพ่อื ปลีกวิเวก ภาวนา ในระยะ แรกสร้างวดั ป่าพิมาย (ธรรมยุต) ระลึกถงึ ความมคี ุณ ๑๐ ประการ คอื

๑. ลงทนุ นอ้ ยโดยใช้วัสดุทีม่ อี ยูแ่ ละทีเ่ หลอื ใชแ้ ล้ว กจ็ ะมี ความรสู้ ึกว่า เปน็ การเลือกมาใชใ้ ห้คมุ้ ค่า

๒. ไม่มโี ทษอันเกดิ จากการไดม้ าโดยง่าย ทำพอเพยี ง เขา้ ไปใช้ ประโยชน์ในการบําเพญ็ เพียร การสร้างใช้เวลานอ้ ยไม่ส้นิ เปลือง

๓. เปน็ สิง่ ตกั เตอื นใจให้เกิดอนจิ สญั ญา ไดร้ เู้ หน็ ความเปลีย่ น แปลงของมะขามจากใบอ่อน สู่ แก่ สู่ การร่วงหลน่ เปน็ ไปตามธรรมชาติ เปน็ วงจรแหง่ การ เกดิ แก่ ตาย

- ๖๓ -

๔. รู้สกึ วา่ ท่ีพกั เป็นเพยี งอาศัยช่วั คราว ไม่รู้สกึ หวงแหน รูเ้ ขา้ ใจ ว่าไมย่ ดึ เปน็ ของเรา ใครจะมาใช้ ประโยชนอ์ ีกกไ็ ด้ และไม่มีความกงั วล ในใจ

๕. ไมม่ กี ารปกปิด จงึ ไม่เป็นทีล่ บั ตาในการคดิ จะทำความชั่ว หรอื คิดจะทำบาปอกุศลใดๆ เป็นความระลกึ ร้สู ึก ละอายต่อการละเมดิ ศีลธรรม

๖. เม่ือใชอ้ ปุ กรณ์ ส่งิ เหลอื ใช้ สง่ิ ทพ่ี อหาได้มาสร้าง จึงไมม่ คี ่า ราคาอะไรท่จี ะตอ้ งไม่ยึดถอื เปน็ เจ้าของ ให้มคี วามกงั วลใจอะไรใน ส่ิงกอ่ สร้างนั้น ย่อมจะเสอื่ มสลายไป ตามกาลเวลา

๗. เม่อื อยู่ลำพังคนเดยี ว กร็ ะลกึ นึกถงึ ภูมิอนื่ เหล่า เทพเทวดา รุกขเทวดา อาศยั ตามต้นไม้ เป็นเพ่อื น ในวัฏสงสารดว้ ยกัน มวี ญิ ญาณ มี ภูมิเดรจั ฉาน อาศัยอยูร่ อบๆ ใกล้บา้ งไกลบ้าง จะได้เอือ้ เฟือ้ กนั และกนั แผเ่ มตตากรณุ ามุทติ าอุเบกขาใหร้ อบตวั เรา

๘. ที่พกั เปิดโล่งท้ังสด่ี า้ น จึงไมอ่ าจมี หรอื ให้มีสิ่งซอ่ นเร้น ในส่ิงท่ี จะเป็นอันตรายต่อเพศพรหมจรรย์ ทงั้ กลางวันกลางคนื ระลึกเป็นศีล บรสิ ุทธ์ติ ลอดไป อันเป็นฐานของการภาวนาด้วยศลี สมาธิ ปัญญา

๙. รู้สึกสะดวกดี อากาศถ่ายเทดี ลมจะพัดมาทางทิศใดเข้าได้ทุก ทิศทางอากาศสปั ปายะ ยามฝนตกกพ็ ออยู่ได้ ยามหนาวก็พออยไู่ ด้ ยาม ร้อนกม็ ีรม่ เงาพออยู่ได้

๑๐. ไมม่ คี วามหว่ งกงั วล เป็นการตดั กงั วล สละนวิ รณ์ อันเปน็ เคร่ืองกั้นจิต ขดั ขวางอยู่ภายในจติ ใจ ละไดง้ ่าย ดว้ ยอาศยั ความวา่ งเปลา่ เปน็ นิมติ หมายไดด้ ี การภาวนาจงึ ตงั้ ตน้ ไดห้ ลายแนว เช่น อานาปานสติ

- ๖๔ -

หรือตั้งกสิณกไ็ ด้ตามถนัด ตอ้ งลองทำจงึ จะรเู้ ขา้ ใจ วิถจี ติ ของตน ตาม จริตนิสยั ของแตล่ ะคน แตต่ อ้ งระวังอย่าหลงนมิ ิต ที่พระบางองค์ทา่ น หลงนิมิตดวงสว่างเลยไปค้างอย่บู นยอดไม้ ดังน้นั ถา้ ใครเกิดนิมติ ในการ ภาวนาก็เพียงร้แู ลว้ ตอ้ งปล่อยอยา่ ยึด

บนั ทกึ ใหค้ ติธรรมแกศ่ รทั ธาทมี่ าวัดป่าพิมาย (ธรรมยุต) (คุณครสู ุนทร สุดชนะ ได้ขออนญุ าตปรับปรุงไว้เป็นอนุสรณ์

เมื่อ ปี ๒๕๖๒)

มะขามจอมปลวก หลบโลกรธู้ รรม

- ๖๕ -

จักรวาล ตราบใดที่โลกนแี้ ละโลกอ่ืนๆ หมนุ อยู่ ไม่จบไมส่ ้ิน

การเกดิ การตายของสัตว์โลก ยอ่ มหมนุ เวยี น อยใู่ นโลกสงสารตลอดไป เปน็ อนันตกาล

The Universe As long as this planet earth and the other planets are still orbiting endlessly, the birth and death of all the world’s

creatures will continue in their round of existences.

- ๖๖ -

ยอ้ นอดตี เปน็ บทเรียนชีวติ มนุษยชาติ

Looking back to the past: Life lessons of mankind

ผบู้ ำเพ็ญบารมีแนวพระโพธิสัตว์

The ones who perform meritorious acts following the Bodhisattva approach

พระเจา้ ชัยวรมันท่ี ๗ ทรงต้ังกำลงั กองทัพฝึกยุทธวิธอี ยู่

ในป่าเขา ๑๕ ปี เพ่ือกู้ชาติและขยาย อาณาเขตออกไปกว้างขวางด้วยกำลัง ทางบกทางน้ำ และสบื ทอดการสร้างสิ่ง มหัศจรรย์ไว้ปรากฏ คอื ปราสาทหิน และ อโรคยาศาล ทรงนบั ถอื พระพุทธศาสนาเถรวาทในบั้นปลายชวี ติ

King Chaiworraman 7th King Chaiworraman 7th and his soldiers remained in the forest 15 years, practising military strategies to rescue the nation from foreign aggression, as well as to expand the kingdom widely, deploying both army and naval forces. He continued building architectural masterpiece such as the famous Phimai Stone Castle and an infirmary called Arokhaya San. He followed the teaching of Buddhist’s Teravada Nikaya, in the last part of his life.

- ๖๗ -

พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช ไดท้ รงนำพระพทุ ธศาสนาเถรวาท ลทั ธิ

ลงั กาวงศ์เขา้ มาครัง้ แรกท่นี ครศรธี รรมราช ดนิ แดนสุวรรณภูมิ ทรงสร้างพระบรมธาตุ เจดยี ์ไวบ้ นหาดทรายแกว้ พรอ้ มวาง รากฐาน เผยแผ่พระพุทธศาสนาตลอด พระชนม์ชพี

King Sritammasokarart King Sritammasokarart brought Teravada Buddhism of the Lankkawong cult to NakhornSriTammarat – the land of Suwannapoom. He had a great stupa containing holy relics built at a coastal location called Crystal Sand. He also propagated Buddhism throughout his life.

พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลไิ ท) ไดท้ รงสถาปนาอาณาจกั รสโุ ขทัย

ใชค้ ำสอนของพระพุทธศาสนาเปน็ หลัก ปกครอง โดยทรงศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา อย่างลกึ ซง้ึ ทรงมีพระปรชี าสามารถใน ศิลปศาสตร์ ๑๘ อยา่ ง และทรงพระราช นิพนธไ์ ตรภมู พิ ระร่วง เกย่ี วกับภพภูมิในวัฏสงสาร ทรงผนวชท่ีวัดป่า มะมว่ งขณะครองราชย์

- ๖๘ -

King Maha Dhammaracha 1st (Lithai) Founder of the Sukhothai kingdom, King lithai applied the Buddha’s teaching to the rules of governing. He studied Buddhism profoundly. He was well-known for his skills in 18 kinds of arts. His great work was the well-known Trai Phoom Pra Ruang – a composition illustrating the circle of rebirth. He ordained at Wat Pa Mamuang (The Temple of Mango Forest) while reigning.

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช (พระองคด์ ำ) ไดท้ รงทำศึกปราบอริราชศัตรู

รอบทศิ ใช้กลยุทธทแี่ ยบยลปราบศตั รู ขยายราชอาณาจักรครอบคลมุ หลาย เผ่าพนั ธ์ุ สร้างคนใหม้ วี ินัยตามหลัก พระพุทธศาสนาและทำการค้าผกู มิตร กบั ตา่ งชาติและทำการรบตลอดพระชนม์ชพี เพ่อื ปกปอ้ งประเทศชาติ

King Naresuan The Great (The Black King) King Naresuan exposed himself to the danger of many battles to suppress the enemies of his country using ingenious strategies to conquer them, expanding the kingdom and ruling various tribes. He encouraged his subject people’s discipline in accordance with Buddhist practice as

- ๖๙ -

well as befriending and trading with foreign countries, in addition to fighting to protect his country all his life.

สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองค์ขาว) ไดท้ รงรว่ มทำศึกปราบอรริ าชศัตรูค่กู บั พระ นเรศวรผู้เป็นพระเชษฐาทุกโอกาสไดส้ บื ทอดกลศกึ และพระราโชบายในการดำรงชาติพระพทุ ธศาสนา ความสมั พันธก์ ับตา่ งประเทศ และมอี นสุ รณท์ ั้ง ๒ พระองคท์ เ่ี จดียว์ ดั ใหญช่ ยั มงคล อยธุ ยา

King Ekatotsarot (The White King) The younger brother of King Narasuan, King

Ekatotsarot always fought side by side with his brother to suppress the enemies of the country, inheriting his brother’s fighting strategies and following his policies in maintaining his country, its Buddhism, and relationships with foreign countries. The monument to the two kings can be admired at Wat Chai Monkhol in Ayutthaya province.

พระสุพรรณกัลยา เปน็ พระเชษฐภคนิ ีของพระองคด์ ำ พระองค์ขาว

ผสู้ ละชีวิตประกันชาตดิ ้วยคณุ สมบตั ิ พิเศษของสตรที ี่รูไ้ ด้ยาก ใช้เปน็ กลยทุ ธ เปน็ ผูเ้ สียสละตลอดชีวิตในดินแดน อันตรายของผู้ปรปักษ์ จึงเปน็ ผเู้ ลศิ ทีโ่ ลก ควรระลึกในคุณความดีนั้น

- ๗๐ -

Princess Supankalaya The older sister of Phra-ong Dham Phra-ong Khao, who’s sacrificed for nation beyond unthinkable of her intellectual to use for tactical, who’s given up her whole life in the harmfully land of enemy, who excellent which the world should remember!

สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ไดท้ รงสถาปนาชาตใิ หเ้ ป็น

ปกึ แผ่นดว้ ยการเชดิ ชพู ระพุทธศาสนา ใชว้ ดั เป็นสถานให้การศึกษาแก่ ประชาชนและคา้ ขาย สร้างความ สมั พนั ธก์ ับมติ รประเทศ เพอื่ สรา้ งชาติ ใหม้ ัน่ คง แสดงถงึ พระปรีชาสามารถมาก ทรงเชี่ยวชาญหลายภาษา และ ทรงพระราชนิพนธ์เร่ือง รามเกยี รต์ิ

King Taksin The Great King Taksin united the country by glorifying Buddhism. Temples were used as places to both offer education to the people and for trading. He promoted good relationships with friendly countries to establish the stability of his own country. All those showed his competency. He was famous for knowing various languages. He also wrote The Ramayana.

- ๗๑ -

การฝกึ นกั รบธรรมอปุ มาอุปไมยเปรยี บเทยี บหลกั การสงคราม ปี พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓

• คา่ ยฝกึ ศกึ ษาธรรม หลกั ธรรมและหลกั ปฏิบัติกรรมฐาน ตลอดจน ปฏิปทาใหแ้ กน่ กั รบธรรม ศิษยว์ ัดป่าพิมาย (ธ.) ต.รงั กาใหญ่ อ.พมิ าย จ.นครราชสมี า หลวงตาดอกเตอร์ เป็นเจ้าอาวาส/ครบู าอาจารย์

• แผนการฝึกศึกษากรรมฐานในสนามในป่าภูเขา ดินแดนทุรกนั ดารท่มี ี ครูบาอาจารย์เป็นหลักอยู่หรือมีครบู าอาจารย์สำคัญเป็นผู้นำไป เพ่อื เปน็ กำลงั ใจและใหค้ ำแนะนำอบุ ายการประพฤติปฏบิ ัตจิ ติ ภาวนา ไม่ให้หลงทางมรรคผลในปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐาน และมีภมู ิ ประเทศเกื้อกูลต่อการปฏิบัตภิ าวนา เพ่ือใหเ้ กิดพละธรรมและ เสริมสร้างประสบการณ์ที่มีปฏิสมั พนั ธก์ นั ระหว่างจิตใจกับร่างกายใน อายตนะต่างๆ

• ทศิ เหนือ-ตะวันตกเฉยี งเหนอื ธรรมะโคจร : วัดปา่ บ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี พระอาจารย์สุธรรม สุธมั โม : วัดปา่ นาคำนอ้ ย อ.นายูง จ.อดุ รธานี

- ๗๒ -

พระอาจารยอ์ นิ ทร์ถวาย สันตุสสโก : วัดอรญั พรหมาราม ต.วงั ไมแ้ ดง อ.ประทาย จ.นครราชสมี า พระอาจารย์สามดง จันทโชโต : วัดป่าทับไฮ ต.แสงสวา่ ง อ.หนองแสง จ.อุดรธานี พระอาจารย์วิโรจน์ สารญาโน

• ทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ธรรมะโคจร : วดั ป่าโนนสงั ฆ์ อ.กดุ บาก จ.สกลนคร พระอาจารย์บรรลำ สุเมโธ : วดั ป่าบ้านคอ้ ใหญ่ อ.กุดบาก จ.สกลนคร พระอาจารย์โสภา (จ่อย) อนตุ ตฺ โร : วัดถำ้ ขาม ต.ไร่ อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร พระอาจารย์วิทยากร (โจ้) จติ ฺตสโุ ภ : วัดป่าชา้ อุนดง อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร พระอาจารยอ์ ำนาจ : วดั ป่านาคนิมิตต์ อ.โคกศรีสพุ รรณ จ.สกลนคร หลวงปู่อว้าน เขมโต : วัดดอยธรรมเจดีย์ เพื่อสักการะระลกึ ในธรรมะ พน้ สงสารขององค์หลวงตาพระมหาบวั ญาณสัมปันโน : กราบอธิษฐานเจดีย์พระธาตุพนม อ.เมอื ง จ.นครพนม : วัดปา่ ภเู ขากวาง อ.คำชะอี จ.มกุ ดาหาร พระอาจารย์สนุ ทร ญาณวโร

- ๗๓ -

หมายเหตุ: มีรอยพระพทุ ธบาทบนภเู ขาทีห่ ลวงตาดอกเตอร์ เจ้า อาวาสวดั ปา่ พิมาย (ธ.) ได้ ดำเนินการสรา้ งศาลาคลุมไว้ พร้อมสร้างบนั ไดโลหะ เพ่อื อำนวยความสะดวกแกผ่ ูจ้ ะไป สักการะเม่ือปี ๒๕๖๒ : วัดปา่ ภลู านหลวง บ้านป่งเปอื ย อ.เมือง จ.มุกดาหาร พระอาจารย์บุญยัง คุตตปุญโญ : วดั อรัญวาสี (วัดป่าวงั ไฮ) อ.หนองสงู จ.มกุ ดาหาร พระอาจารยถ์ วิลชัย ธัมมวโร (พระครกู ติ ตธิ รรมาภรณ์)

• ทิศตะวนั ออก ธรรมะโคจร : วดั เขาศาลาอตุลฐานะจาโร ต.จรัส อ.บวั เชด จ.สุรินทร์ พระอาจารย์เย้อื น ขนั ติพโล (พระราชวสิ ทุ ธมิ นุ )ี

• ทิศตะวันตก-ตะวนั ตกเฉยี งเหนือ ธรรมะโคจร : วัดเข่ือนจฬุ าภรณ์ อ.คอนสาร จ.ชยั ภมู ิ หลวงปสู่ ุพจน์ ถิราจาโร (พระสริ ิวรคุณ) : วัดสูงสทุ ธาวาส (วัดถำ้ ฮวงโป) อ.คอนสาร จ.ชยั ภูมิ หลวงพอ่ อด้ิ (พระครโู สภณสุทธิญาณ) หมายเหตุ: ๑.มีสัตว์ปา่ เช่น เสอื โคร่ง, ชา้ งป่า, หมปู ่าและสตั วอ์ ่นื ๆ ๒.มีเทือกเขาสลับซบั ซอ้ น มถี ้ำหลายแหง่ ตามเทอื กเขา บนั ทึกเป็นความทรงจำ โดย คณะศษิ ยว์ ดั ปา่ พมิ าย (ธ.)

- ๗๔ -

• ลักษณะภมู ปิ ระเทศและบรรยากาศทภ่ี ูเขากวาง อ.คำชะอี จ.มกุ ดาหาร (มีรอยพระพุทธบาทท่พี บใหม่)

- ๗๕ -

• ลกั ษณะภูมิประเทศและบรรยากาศทภ่ี ูลานหลวง อ.เมอื ง จ.มกุ ดาหาร (เทอื กเขาสลบั ซับซ้อนเชอ่ื มตอ่ กับเทอื กเขาภูเขากวาง ไกลสดุ ตา)

- ๗๖ -

• ลกั ษณะภูมิประเทศและบรรยากาศทวี่ ดั เขอื่ นจุฬาภรณ์ อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ (เทอื กเขาสลบั ซบั ซอ้ นมีสตั วป์ ่าชกุ ชมุ )

- ๗๗ -

คณะผจู้ ดั ทำหนังสอื ธรรมะ: แก้ปัญหาชีวติ เพอ่ื ความสขุ และนำไปสู่บรมสุข • ทปี่ รึกษา: พระจำนันท์ สมจติ ฺโต, พระเบญจพล ฉนิ นฺ าลโย • พิมพ์ตน้ ฉบับ: แมช่ ีสุภาพร เยน็ เหลือ, น.ส.ผไทมาศ เปรอื่ งปรีชาศกั ดิ์ • ภาษาอังกฤษ: ผศ.ดร.กนกวรรณท์ คาเดท,

Mr. John Martin Herbert Cadet • ตรวจพิสูจนอ์ กั ษร: แมช่ ีสุภาพร เยน็ เหลอื ,

นางอำนวยพร เปร่ืองปรชี าศกั ดิ์ • ประสานงาน: นางสาววจิ ิตร ห่านร่งุ ชโรทร (เมย)์ • แบบปก : แม่ชสี ภุ าพร เย็นเหลอื , นายณัฐภทั ร ปญั ญาอัครธรรม

และฝา่ ยศลิ ปข์ องโรงพิมพ์ ส. สมศักด์ิ พร้นิ ติ้ง นครราชสีมา โทร ๐๘๔-๔๗๒-๓๗๘๕ • ทนุ พิมพ:์ จากคณะศรัทธารวบรวมที่เหรญั ญกิ ของวดั ปา่ พิมาย (ธ.) โดย นางฉลวย หิรญั ไพบลู ย์ (ครแู อว๋ ) โทร ๐๘๑-๓๘๙-๖๙๙๑ นางอำนวยพร เปร่อื งปรชี าศกั ด์ิ (แตว๋ ) โทร ๐๘๙-๙๔๙-๗๖๔๐ นางสาววิจติ ร หา่ นรงุ่ ชโรทร (เมย์) โทร ๐๘๒-๖๕๙-๓๙๖๑ นางปยิ ะพรรณ บญุ ช่มุ (ครตู ุ่ม) โทร ๐๘๑-๐๖๗-๗๙๖๘ จำนวนพมิ พ์ ๑๐,๐๐๐ เลม่ • ขอบคณุ ผอู้ ยู่เบือ้ งหลังแห่งความสำเร็จหลายๆ อยา่ ง บนลานธรรมฯ ทง้ั การก่อสรา้ งตา่ งๆ ตลอดจนการปลกู บำรุง ตกแตง่ ต้นไม้ สรา้ งภมู ิทัศน์ให้ สวยสดงดงาม แมไ้ ม่เอย่ นามก็ได้รับบญุ กศุ ลตลอดกาล และขอขอบคณุ ไว้ ณ ทน่ี ด้ี ว้ ย เรยี กวา่ “ผปู้ ดิ ทองหลงั พระ”

- ๗๘ -

--๗๗๙๙--

--๘๘๐๐- -

หลวงตาพระมหาบวั ญาณสัมปันโน สมณะ..พระผ้ขู า้ มวฏั ฏะ..ฝากไว้ใหล้ กู หลาน ดำเนนิ ตามบูรพาจารย์ หลวงป่มู ั่น ภูริทตั โต

หลวงปูม่ น่ั ภรู ิทัตโต

ตามเทศนาทอ่ี งค์หลวงปูม่ ่ันได้เทศนาไว้ว่า.. “ธรรมชาตขิ องดที ง้ั หลายย่อมเกดิ มาแต่ของไม่ดี มอี ุปมาดั่งดอก

ปทุมชาติอันสวยๆ งามๆ กเ็ กดิ ขนึ้ มาจากโคลนตม อนั เป็นของสกปรก ปฏิกูลน่าเกลียด แตว่ า่ ดอกบวั นน้ั เมอ่ื ข้นึ พ้นโคลนตมแล้ว ยอ่ มเปน็ สิ่งที่ สะอาด เป็นทีท่ ดั ทรงของพระราชา อำมาตย์ อปุ ราช และเสนาบดี เปน็ ตน้ และดอกบวั นัน้ มไิ ดก้ ลบั คนื ไปยังโคลนตมนน้ั เลย..”

หลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปันโน

- ๘๑ -

คตธิ รรมเพ่อื นกั รบธรรม ดูแบบอยา่ งบูรพาจารย์: หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมั ปันโน

“สไู้ ม่ถอย”

“ศรทั ธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญั ญา เปน็ ธรรมชำระกเิ ลสใหห้ ลุดพน้ ได้” ..นักปฏบิ ตั ิธรรม ไมเ่ หน็ ภยั ในกิเลส จะไปเห็นภัยกับอะไร ถอดออกมา จากจติ จากใจ เพราะความเมตตา ความสงสาร อยากให้รใู้ หเ้ หน็ ธรรม เหล่านี้ ใหเ้ หน็ ทั้งโทษของกเิ ลส ทั้งคณุ คา่ ของธรรมด้วยการประพฤติ ปฏบิ ตั ิ..

(ใจวา่ งเพราะธรรม ๑๔ มิถุนายน ๒๕๒๖)

- ๘๒ -

เพม่ิ กำลังจติ ใจให้แกน่ ักรบธรรม

ธรรมปฏบิ ตั ิที่พอ่ แม่ครบู าอาจารย์ ได้สงั่ สอนไวใ้ หม้ ีรากฐานของ จติ ใจ จงึ เลอื กสรรนำมาเพื่อให้ศึกษาพิจารณาและปฏบิ ตั ติ ามนนั้ ให้เปน็ สมบตั ไิ ว้ในจติ ใจตนเอง ใครจะปฏิบัติได้มากหรอื นอ้ ยกข็ อให้ทบทวนให้ เขา้ ใจและทำใหไ้ ด้กจ็ ะเกิดผลแก่ตนเอง สักโอกาสใดโอกาสหน่ึงเป็นแน่ ขออย่าไดล้ ะเลยอ่านและทำซำ้ ๆ ทำบอ่ ยๆ ทำตอ่ เนื่อง ต้องรู้แจง้ อยา่ ง แน่นอน “กินน้อย นอนน้อย ทำความเพยี รให้มากๆ”

• หลวงปมู่ น่ั ภูรทิ ัตโต บูรพาจารยพ์ ระกรรมฐาน ทา่ นได้ส่งั สอน เรือ่ งศลี ไว้ ดงั นี้ “อานิสงสข์ องศลี ๕” เม่ือรักษาได้ คือ ขอ้ ๑ ทำให้อายยุ ืน ปราศจากโรคภัยเบียดเบียน ข้อ ๒ ทรัพยส์ มบตั ิทีอ่ ยใู่ นความปกครอง มคี วามปลอดภยั จากโจร ผู้ร้ายมาราวี เบยี ดเบยี นทำลาย ขอ้ ๓ ระหวา่ งลกู หลาน สามีภรรยา อยู่ดว้ ยกันเปน็ ผาสุก ไม่มีผคู้ อย ลว่ งลำ้ กล้ำกราย ต่างครองรกั กันอยดู่ ้วยความเปน็ สขุ ข้อ ๔ พูดอะไรมผี ู้เคารพ เช่ือถือ คำพูดมเี สน่ห์ เปน็ ทีจ่ ับใจไพเราะ ด้วยสตั ย์ ดว้ ยศลี ข้อ ๕ เปน็ ผมู้ ีสติปญั ญาดีและเฉลยี วฉลาด ไม่หลงหน้าหลงหลัง จับ โนน่ ชนนี่เหมอื นคนบา้ คนบอหาสติไม่ได้ ผ้มู ศี ลี เป็นผู้ปลกู และส่งเสรมิ สุขบนหัวใจคนและสตั ว์ท่ัวโลกใหม้ ีแต่

ความอบอุ่น ไมเ่ ปน็ ท่ีระแวงสงสัย

- ๘๓ -

ผไู้ มม่ ีศีลเป็นผทู้ ำลายหัวใจคนและสัตว์ ใหไ้ ด้รบั ความเดือดร้อนทกุ หย่อมหญ้า • หลวงตาพระมหาบัว ญาณสมั ปนั โน ผสู้ ืบทอดปฏปิ ทา

พระกรรมฐาน ทา่ นไดส้ อนไว้ ดังนี้

ทาน

“คำว่า ทาน การเสียสละ แบง่ ปันสมบตั เิ งนิ ทอง เรี่ยวแรง วชิ า ความรู้ ตลอดอบุ ายและความคดิ เห็นต่างๆ ต่อกัน นี้เป็นเรอ่ื งท่ีประทบั ใจแกผ่ ้ไู ดร้ บั อยา่ งจับใจซาบซึ้งและสนทิ ติดใจไมม่ วี ันหลงลืมตลอดกาล แลยังเปน็ เครือ่ งหมายทห่ี วังฝากชีวิตจติ ใจ ฝากเปน็ ฝากตาย ด้วยความ เช่ือถืออยา่ งฝังใจอกี ด้วย...”

• อานิสงสข์ องกุศลบุญทานน้ี จะช่วยประคองสภาพชีวิตในปัจจบุ นั ควบคู่ไปกับศลี - ธรรม ไปรอเจา้ ของอยู่เม่อื ส้นิ ชีวิตแลว้ และจะ พาไปเกดิ ในระดับครอบครัวท่มี ฐี านะโดยประมาณทีท่ ำไว้...

ศลี

“ศลี มีอำนาจจำกดั ความประพฤตทิ ไี่ มด่ ี ทาง กาย วาจา ให้สะอาด กลายเป็นความประพฤติเรียบรอ้ ย สวยงาม ทางกาย วาจา ใจ คนทม่ี ีศีล พดู มีทจ่ี บลง มสี าระแกน่ สารในคำพดู พดู มเี หตุมผี ล...”

ภาวนา

“การภาวนา คือ วธิ ีอ่านตวั เรา ใหร้ คู้ วามผิด ถูก ชั่ว ดี ได้อย่าง ถูกต้อง ยง่ิ กวา่ ผอู้ นื่ จะมาคอยชี้แจงความบกพร่องของเรา ให้เราทราบ

- ๘๔ -

เสยี อีก ในขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ วิธกี ำจดั หรือลดละความผดิ ของตวั ที่เคยมี มา และปดิ กัน้ ส่งิ ไมด่ ที ัง้ หลายมิให้เกิดขน้ึ อกี ต่อไปดว้ ย...” “การไม่หัด อา่ นตวั เอง ทำใหเ้ กิดเร่อื งยงุ่ บอ่ ยๆ...”

“...การภาวนานแ้ี ล เปน็ วธิ ีการของผู้แสวงหาความสุขโดยถกู ต้อง อย่างแทจ้ ริงและเป็นวธิ ีท่ีไมห่ ลอกลวงให้เกดิ ความฟุ้งเฟ้อเหอ่ เหมิ ไป ในทางทผี่ ิด...”

ภาพบนศาลาอารกั ขกัมมัฏฐาน วดั ป่าพมิ าย (ธ.) ระยะภยั โควิด-๑๙

พบตนเอง “...ความไม่ร้ขู องคน เมอ่ื มีความสุขทางโลก ดว้ ยลาภ ยศ สรรเสริญ ทฟ่ี ฟู อ่ งไป เมอ่ื มีทกุ ข์กายทกุ ข์ใจ ก็โยนความทุกขน์ นั้ ว่า ทีม่ าเป็นเพราะ บคุ คลหรอื เหตตุ า่ งๆ ถา้ เป็นคนท่ไี ด้รบั การอบรมสั่งสอนจนจิตรธู้ รรมแลว้ จะสามารถควบคมุ ความสุข ความทุกขม์ ิใหโ้ ลดโผนเกินกวา่ เหตุ เพราะ รจู้ ักใชธ้ รรมยบั ยงั้ ให้เปน็ ไปตามสภาพความเปน็ จรงิ ที่สมควร รคู้ วามไม่ แนน่ อน ความเกิด ความดับ ไม่ตดิ ยดึ บคุ คลและสภาพแวดลอ้ ม เห็น ความตายเปน็ สจั ธรรม เตรยี มพรอ้ มเสมอทีจ่ ะเผชิญทกุ เวลา...”

- ๘๕ -

คนมธี รรม

“...คนมธี รรม มใิ ช่อ่านเก่ง จำเก่ง พดู เกง่ แตต่ ้องสามารถนำธรรม ไปปรับปรงุ แก้ไขความคดิ การพูดและการกระทำของตนให้ดีข้นึ จน ตนเองรู้นั่นแหละของจริง จงพิสูจนต์ นเองเสมอๆ ดงั นี้...”

“...วธิ ีภาวนากค็ อื วิธสี ังเกตตวั เอง สงั เกตจติ ที่มีนสิ ยั หลุกหลิกไมอ่ ยู่ เป็นสุข ดว้ ยมสี ติตามระลึกรคู้ วามเคลือ่ นไหวของจติ โดยมีธรรมบทใด บทหนงึ่ เปน็ คำบริกรรม เพื่อเป็นยารักษาจิตให้ทรงตัวอยู่ได้ดว้ ยความสขุ ขณะภาวนา...”

“...ถ้ามีศลี มีธรรมเป็นเคร่ืองรกั ษาตวั เป็นเคร่ืองปอ้ งกันตัวก็อยู่ ผาสุกเยน็ ใจอยูค่ นเดียวกส็ บาย เพราะอย่ดู ว้ ยธรรมครองใจ...”

“...ปฏบิ ัตศิ าสนา คือ ปฏิบัตทิ ต่ี ัวเราน่ีเอง ให้เป็นไปในทางท่ีให้ ความสงบเยน็ ใจ ให้คณุ แก่ตนมากข้ึน สมกับศาสนาสอนคนให้ฉลาดใน การรักษาตนใหพ้ ้นภัย...”

“...การรกั ษาสมบัตใิ ดในโลก ไมย่ ากเทา่ รกั ษาตน คือ ตัวเราทจ่ี ะไม่ ใหต้ กเป็นเหยือ่ แหง่ ความชั่ว น้รี สู้ กึ ยากมาก...เพราะสิ่งที่พาใหเ้ สยี ซงึ่ มี อยภู่ ายในนั้น มิขน้ึ อย่กู ับวัย กาล สถานที่ อะไรเลย สง่ิ น้นั คอื ความอยาก เป็นเจ้าของเรอื น เรืองอำนาจ คอยหาโอกาสจะช่วงชิงพาใหไ้ ปในทาง เสอื่ มเสียอย่เู สมอ...”

“...ผู้ใดอยู่ในอิริยาบถด้วยความมสี ตแิ ละปัญญาประจำตนตลอด เวลา ผูน้ ้ันแลจะเป็นเจ้าของสมบัติอันเลิศ คอื มรรคผลนพิ พานในชาติน้ี ...”

- ๘๖ -

“...จงพยายามทำสติธรรมดานใี้ หก้ ลายเปน็ มหาสตขิ ึ้นมา และจงทำ ปญั ญาธรรมดาใหก้ ลายเป็นมหาปญั ญาขนึ้ มาท่ดี วงใจของเรา เมื่อสตมิ ี กำลงั จนเพียงพอแลว้ เราจะเดินปญั ญาพิจารณา แมก้ ิเลสจะหนาแนน่ เหมอื นภูเขาทงั้ ลกู กต็ อ้ งทะลุไปไดโ้ ดยไมต่ อ้ งสงสัย...”

“...คนมีธรรม รู้จัก คำวา่ “พอ” และพยายามคิดพงึ่ ตนเอง...” “...ศาสนาของพระพุทธเจา้ เป็นศาสนาทที่ รงมรรคทรงผล สอน ต้ังแต่ขัน้ ธรรมดาจนถงึ ข้ันสุดยอด เปน็ ศาสนาของผู้ส้นิ กเิ ลสไมท่ ำลาย ศาสนาใด...” “...คำใหอ้ ภยั คำขอโทษนเี้ ปน็ คำทีม่ คี ุณค่ามากท่สี ดุ นะ ส่งิ ที่ให้อภยั นเี้ ป็นส่ิงที่มคี ุณคา่ มาก คนทข่ี อโทษเวลาตนทำผดิ ก็มีคุณคา่ มาก...” ขอทุกๆ ท่านน้อมนำคำสอนของบูรพาจารย์ ดังท่คี ดั เลอื กมา น่าจะ พอเหมาะสมแก่กาลสมัยและบุคคลที่สนใจเขา้ มาเกี่ยวขอ้ งและแมไ้ มเ่ คย มาวดั ปา่ พิมาย (ธรรมยุต) กข็ อได้รบั อานสิ งส์ เพอื่ รู้ เพ่อื ปฏบิ ัติ เพอื่ ประโยชนต์ นและผู้อน่ื ต่อๆ ไป ขอใหจ้ ำโอวาทธรรมของหลวงป่มู นั่ ภูรทิ ัตโต บูรพาจารย์ใหญ่ ผทู้ ่ี โลกยกย่องไว้เป็นหลกั ใจว่า.. “จุดทเ่ี ย่ียมยอดของโลก คอื ใจ ควรบำรงุ รกั ษาด้วยดี ได้ใจแล้ว คือ ได้ธรรม เหน็ ใจตนแลว้ คือ เห็นธรรม ถงึ ใจตนแล้ว คอื ถงึ พระ นิพพาน”

หลวงตา วดั ป่าพมิ าย (ธ.)

- ๘๗ -

คติธรรมประจำวัดป่าพิมาย (ธรรมยุต)

ป้ายวัดปา่ พิมาย (ธ.) หน้าประตเู ข้า-ออก

๑. เราปฏิบัตธิ รรม..ไมม่ ุ่งลาภ ไมม่ ่งุ สกั การะจากใครๆ ๒. เราปฏิบตั ธิ รรม..เรามุ่งเพ่อื เปน็ ผู้ให้เสมอใหท้ านให้อภัยทาน เป็น

รากฐานทม่ี น่ั คงต่อธรรม ๓. เราปฏบิ ัติธรรม..ไมม่ ่งุ ชื่อเสยี งเกียรติยศใดๆ เราม่งุ ธรรมเพ่ือธรรม

เพอ่ื ถอนความปรารถนาท่ีผิดธรรม ๔. เราปฏิบัตธิ รรม..ให้มหี ริ ิ ละอายความชว่ั เพ่อื เพ่มิ พูนความดี ๕. เราปฏิบัตธิ รรม..ให้มีโอตตัปปะ ละอายตอ่ บาป เพ่ือสะสมบุญกุศล

วาสนาบารมี ๖. เราปฏิบัติธรรม..ให้มีความมักนอ้ ย พอเพียง พอดี สนั โดษ ให้มจี ติ ใจ

เผือ่ แผต่ ่อสรรพสตั ว์ ๗. เราปฏิบัตธิ รรม..ใหเ้ ปน็ สัมมาทฏิ ฐิ ใหม้ ีมรรคมีองคแ์ ปดให้เปน็

อริยมรรค ๘. เราปฏิบตั ิธรรม..ใหม้ พี รหมวหิ ารธรรม (เมตตา กรณุ า มุทิตา

อเุ บกขา) ๙. เราปฏบิ ัตธิ รรม..ให้มจี ติ ใจผกู มติ ร มีไมตรตี ่อกันและกนั เสมอ

- ๘๘ -

๑๐. เราปฏิบัตธิ รรม..ให้เป็นผู้เสยี สละ เป็นผ้ใู หอ้ ภัยเสมอตอ่ สรรพสัตว์ ทง้ั ปวง

๑๑. เราปฏบิ ัตธิ รรม..ใหม้ ีทาน ศลี สมาธิ ปญั ญา วิมุตติ เปน็ กำลังกา้ ว ตามทางมรรคผล

๑๒. เราปฏิบตั ิธรรม..ใหม้ ีอธิศีล อธจิ ติ อธิปญั ญา เพื่อบรมสุข เป็นกำลัง วชิ ชา ลบล้างอวิชชาเพือ่ ชัยชนะในโลกวฏั สงสาร คอื เหนือ วัฏสงสาร

 ถามตวั เองไวเ้ สมอวา่ เราคอื ใคร? สำนกึ ไว้เสมอว่า...

• เราคอื พุทธบริษัทสี่ ให้ตั้งจติ ใจไวต้ ามอัปปมญั ญาธรรมเสมอ คอื อัปปมัญญาธรรมเริม่ แรก คือ เมตตา กรุณา มทุ ิตา อเุ บกขา จะ เกิดสติ สมาธิ ปัญญา ได้ง่าย และจะได้ทรัพยอ์ ันประเสรฐิ ใน อนาคตอนั ใกล้ ถา้ จิตใจผู้ใดบกพร่องธรรมเหล่านี้ ธรรมขนั้ สูงขึ้น ไปเข้าใจยาก เพราะเป็นของที่ตบี เล็กมดื มวั

• เราคือศิษย์พระพทุ ธเจ้า ดำเนนิ ชวี ติ ตามธรรมของพระพทุ ธเจา้ ดว้ ยการภาวนา เพ่ือให้ได้เจโตวิมตุ ติ ปัญญาวมิ ตุ ติ

• เราคอื ผู้มจี ติ ใจระลึกเพ่ือชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ มีพระคุณ อย่างประมาณไมไ่ ด้ นีค้ ือองค์ธรรมสามตอ่ วิถชี วี ติ เรา ยงั มีอยู่ บรบิ ูรณ์ในดนิ แดนไทยสุวรรณภมู ิ

• เราคอื ผู้ปรารถนาให้หมดสิ้นกิเลสอาสวะอวิชชา กต็ อ้ งมอี งค์สาม น้เี กอ้ื กลู ตอ่ วถิ ีชีวิตแหง่ พทุ ธบริษัทส่ีเสมอตลอดไป

- ๘๙ -

• จำไวว้ ่า: อนิ ทรยิ ปโรปรยิ ัติญาณ คือ ญาณกำหนดรู้อนิ ทรีย์ของผ้อู ่นื นน้ั เป็นวิสัยของพระพุทธเจา้ เทา่ นั้น เราเป็นศิษย์ผ้มู ีปญั ญาญาณนอ้ ย กวา่ ไมส่ มควรรู้ ไม่ควรละเมดิ ใครๆ ทัง้ สิ้น ทำแล้วจะเจอทางตันไปต่อ ไมไ่ ด้ เพราะไมใ่ ชพ่ หูสูต ถ้าไมเ่ ชอื่ ตามน้ี กจ็ ะตกลงในวงั น้ำวน แล้วก็ จมลงๆ ใครๆ ช่วยเหลือไมไ่ ด้ สดุ วิสยั ของอริยสาวก อาจโชคดกี ็ต่อ เมือ่ บงั เกิดอบุ ัตพิ ระพุทธเจ้าในอนาคตอันไกลแสนไกลนับกาลไมถ่ ว้ น • การส่งนกั รบธรรมไปสู่สนามปา่ ดงพงไพร เปน็ การฝึกภาคสนาม ในภูมปิ ระเทศตา่ งๆ เพิม่ พูนความรูป้ ระสบการณ์จากครูบา อาจารยต์ ่างๆ แต่ละองค์น้นั ทา่ นยอ่ มมีวทิ ยายทุ ธ์แตกต่างกันไป ขอจงสร้างสมเอาเปน็ สมบัติของแต่ละคนจะได้สามารถฝ่าดงพง ไพรลำ้ ลกึ ของวัฏสงสาร • ขอความตั้งจิตใจไว้มน่ั คงตามคตธิ รรมเหลา่ นี้ ไดถ้ ึงความเป็นยอด คือ ยอดแห่งธงชยั ชนะ คอื ยอดนักรบสมบูรณ์ ความเปน็ นกั รบ ธรรมศษิ ยพ์ ระพทุ ธเจ้าในยุคกง่ึ พทุ ธกาลเรมิ่ ผ่านไป

พระครวู าทีธรรมสุนทร (พระ พล. อ. ดร. สมศักดิ์ ศัลยกำธร ฉายา ธมั มสัตติโก)

เจ้าอาวาสวดั ป่าพมิ าย (ธรรมยุต) ตำบลรังกาใหญ่ อำเภอพิมาย จงั หวดั นครราชสีมา ประเทศไทย

- ๙๐ -

งานของเรา: ศิษย์วดั ปา่ พิมาย (ธรรมยตุ ) “บวร”

บา้ น-วัด-พระราชา

บ้าน-วดั -ราชการ บ้าน-วดั -โรงเรียน

บ้าน-วัด-โรงนา บา้ น-วัด-โรงพยาบาล เวน้ - โรงหนัง โรงละคร

บ้าน - โรงเตี้ยม - โรงแรม (ใช้เฉพาะจำเป็นจรงิ ๆ)

วดั - โรงมหรสพอนื่ ๆ

- โรงการพนนั

โรงนอนตาย (โรงศพ)- โรงฆา่ สตั ว์ โรงอนื่ ๆ ทผ่ี ิดศลี ธรรม - “ยศ” แปลตามศัพทว์ า่ ความยิง่ ความเดน่

ทา่ นแบง่ ไว้ ๓ ชนดิ เพมิ่ เป็น ๔ ชนิด

๑. อสิ ริยยศ คือ ความเป็นใหญ่ด้วยยศทไ่ี ดร้ บั เชน่ ยศทหาร ยศ

ตำรวจ ยศข้าราชการ ซง่ึ โปรดเกล้าฯ แตง่ ตงั้ โดยพระมหากษตั ริย์

หรือผ้มู ีอำนาจเปน็ ใหญ่ในแผ่นดนิ หรือดนิ แดนน้นั

๒. เกียรตยิ ศ คือ คณุ งามความดีจากทตี่ นไดก้ ระทำมาจนได้รับ

ความยกยอ่ งนบั ถอื ขององค์กรหรือสังคมนั้นๆ คงจะเน้นไปใน

ดา้ นศรัทธา

- ๙๑ -

๓. ปริวารยศ คือ มีพวกพ้องเพื่อนฝูง คนในสงั คมยอมรับนับถือ ด้วยคุณความดีท่ตี นกระทำไว้ ทเ่ี คารพนับถอื กันในสังคมน้ันๆ

๔. ยศทางด้านพระพทุ ธศาสนาไม่ตอ้ งมีผู้ใดแต่งต้ัง แต่ธรรมของ พระพุทธเจา้ ทตี่ นเองประพฤตปิ ฏิบตั ิ จนเกดิ ผลประจกั ษเ์ อง วัด ไดด้ ้วยหลักธรรมของพระพุทธเจ้าน้ี เรยี กว่า ยอดแหง่ ยศ

เหตปุ ัจจยั ท่จี ะเกิดยศโดยหลกั ธรรมน้ี ก็คอื ๑. ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ หรอื ความมีสจั จะ ๒. ความขยนั หมนั่ เพียรกต็ ้องมีความอดทน ๓. ความมีสตปิ ญั ญา รอบรู้ รอบคอบ ๔. ความมเี มตตากรณุ า เออื้ เฟ้ือตอ่ ผูอ้ นื่ มีจติ ใจกวา้ งขวาง ๕. ความมีหลกั ธรรม แยกแยะประโยชน์ เพอ่ื ตนและผอู้ นื่ ๖. ความสำรวมระวังกาย วาจา ใจ ทัง้ ต่อหนา้ และลบั หลงั หรือ ซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองและผู้อ่นื ๗. โดยหลักธรรมของพระพุทธเจา้ กค็ อื การหมัน่ ประกอบคณุ งาม ความดี เพ่ือประโยชน์สุขในโลกน้ีและโลกหน้า ยศสูงสดุ ของพวกเรา คอื พระอรหันตสาวก - พระอรหนั ตสาวกิ า ยคุ หลังกึ่งพุทธกาล

จังกมสูตร: อานิสงส์แหง่ การเดินจงกรม ๕ ๑. อดทนตอ่ การเดนิ ทางไกล ๒. อดทนต่อการบำเพ็ญเพยี ร ๓. มีอาพาธน้อย ๔. ทำให้อาหารยอ่ ยง่าย ๕. มสี มาธิตั้งอยไู่ ด้นาน

- ๙๒ -

หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน

โลกธรรม ๘ ไม่ควรยดึ ถือทง้ั หมด ถา้ มีแลว้ ก็ผา่ นไป ถ้ายงั ไม่มปี รากฏก็ อยา่ ไปคาดหวัง กำหนดจติ ใจใหต้ รงแนว่ ทางกลาง ละทิ้งโลกธรรม เหล่านัน้ โลกธรรมทีว่ า่ คือ

มยี ศ - เส่ือมยศ มสี รรเสริญ - มีนนิ ทา (เส่ือมสรรเสริญ) มีลาภ - เสอ่ื มลาภ มสี ขุ - มที กุ ข์ (เสื่อมสขุ ) ขอใหพ้ วกเรามุ่งยศตามหลักธรรมของพระพุทธเจ้า เมื่อไดย้ ศนน้ั แล้ว ไมเ่ สอื่ ม เพราะไม่ใช่โลกธรรม เป็นยศเหนือวัฏจักร ไมใ่ ช่ยศทเี่ ปน็ สมมุติ แต่เป็นยศทว่ี ิมุตติ

- ๙๓ -

คตธิ รรม ความไม่ประมาท

๑. ถามตนเองวา่ ร่างกายเรามีส่วนไหนงดงามบา้ ง? สกปรกท้งั รา่ ง

๒. ถามวา่ อาหารท่ีบรโิ ภคเขา้ ไปสะอาดหรอื สกปรก? ปนอยู่กบั ร่างกายท่สี กปรก แตไ่ มก่ ช่ี ั่วโมงกเ็ นา่ เหมน็ แลว้

๓. ถามวา่ โลกนว้ี ุน่ วายไหม? นา่ เพลดิ เพลนิ ไหม? ไมน่ ่าสนกุ เพลิดเพลนิ เปน็ ลักษณะน้มี านานแลว้

๔. ถามวา่ สงั ขารรา่ งกายเทยี่ งหรือไม่ เส่ือมหรอื ไม่? ป่วยไข้ เสอ่ื มลงไปเร่ือยๆ

๕. ถามวา่ จะต้องถงึ กาลเวลาตายแน่ใช่ไหม? ใกล้เขา้ มาทกุ เวลา

แลว้ ถามว่า - เราจะไปไหน? - เรามที พ่ี ่ึงหรอื ยงั ? - มนั่ ใจหรอื ยงั ? - ไมต่ อ้ งเกดิ อกี ดไี หม? - เบอื่ จะตอ้ งพบเจออกี ทว่ี า่ มานหี้ รือยงั ? - ตอ้ งเร่งความเพยี รดว้ ยสตปิ ญั ญา พจิ ารณาไว้ตลอดกาลทกุ เม่อื เพิม่ พูนด้วยสมาธิ ตงั้ มนั่ ใช้ปญั ญาพิจารณาอยา่ งตอ่ เน่อื ง ภายในจติ ใจ ความไม่ประมาท เตอื นจิตใจไวเ้ สมอ - อย่ากลวั ลำบากกาย ตอ้ งอดทน เพ่อื ทำความเพยี รใน ทกุ อริ ิยาบถ จะตอ้ งร้เู ห็นธรรมแนๆ่ โดยลำดบั ๆ

หลวงตา วดั ป่าพิมาย (ธ.) ๑ กนั ยายน ๒๕๖๓

- ๙๔ -

คติเพื่อนักรบธรรมศิษย์วดั ป่าพิมาย (ธรรมยตุ )

พระอาจารย์บุญยัง, พระอาจารยว์ ิโรจน์, หลวงตาดอกเตอร์ บนอาสนะช้นั ลา่ งศาลา อารกั ขกมั มัฏฐาน วดั ปา่ พิมาย (ธ.)

• องค์ประกอบของนกั รบอาชพี มี ๔: ๑. ฉลาด (ในฐานะนกั รบ) ๒. ยงิ ลกู ศรไดไ้ กล ๓. ยงิ ไม่พลาด ๔. ทำลายกายขนาดใหญ่ได้

เปรียบเทียบกบั นักรบธรรม ศิษย์วัดปา่ พมิ าย (ธรรมยุต) ๑. ฉลาดในฐานะ คือ มศี ีล (ถา้ เปน็ พระตอ้ งสำรวมในปาฏิโมกข)์ ประพฤติเคร่งครดั ในสกิ ขาบท (ในศีล) ๒. ยิงลกู ศรได้ไกล คือ พจิ ารณาเหน็ ขันธ์ ๕ ท้ังทีเ่ ปน็ อดีต อนาคต และปัจจุบนั ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอยี ด เลวหรือ ประณีต ไกลหรือใกล้ ด้วยปัญญาอันชอบตามความเปน็ จริงวา่ น่ัน ไมใ่ ชข่ องเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ๓. ยิงไม่พลาด คอื รชู้ ัดในอริยสจั ๔ ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค ตาม ความเป็นจริง ๔. ทำลายกายขนาดใหญไ่ ด้ คือ ทำลายอวชิ ชากองใหญ่ได้ พร้อมด้วย พลรบอีกมากมาย - ๙๕ -

• ธรรมที่ไม่มใี ครเลยหรือใครๆ ในโลกท่ีจะประกันได้ มี ๔ ๑. ความแก่ไมม่ ีใครประกันไดว้ า่ ไม่แก่ มองเห็นอย่ทู ุกวันใครคดิ พจิ ารณาบ้าง? ๒. ความเจ็บไม่มีใครประกนั ได้วา่ ไมเ่ จบ็ ไมป่ ว่ ย มีหรอื ไม่ รูเ้ ห็นได้ยิน บ่อยๆ ใช่ไหม? ๓. ความตายไม่มีใครประกนั วา่ ไมต่ าย ความตายไมเ่ ว้นใครๆ รู้เหน็ อยู่ประจำ? ๔. ผลแหง่ กรรมช่ัวไมม่ ใี ครประกนั ไดว้ า่ ไมบ่ ังเกิดผล อย่าลืมคิด พจิ ารณา ไมส่ นใจใชไ่ หม? เพราะคงไม่รใู้ ช่ไหม?

• กำลงั ทเ่ี ป็นยอด พละ ๕ (ปุนกฏู สตู ร)

๑. สทั ธาพละ ๒. วิรยิ พละ ๓. สตพิ ละ

๔. สมาธพิ ละ ๕. ปญั ญาพละ

บรรดาพลธรรม ๕ น้ี ปญั ญาพละจัดวา่ เปน็ เลิศเปน็ ท่ีรวม เปน็ ศูนย์

รวมแหง่ พละทเ่ี หลอื เหมือนยอดเรือนเป็นเลศิ เป็นท่ีรวม เป็นศูนย์รวม

แหง่ เรือนยอด ฝึกฝนไวใ้ ห้แหลมคม เปน็ อาวุธธรรม เพ่อื ตนจะกา้ วข้าม

วฏั สงสาร

• ความเศร้าหมอง ๕ (อปุ กิเลสสูตร) เรยี กอีกอย่างวา่ นวิ รณ์ ความเศร้าหมองแหง่ จิต ๕ ๑. กามฉันทะ (พอใจในกาม) ๒. พยาบาท (เคยี ดแค้น) ๓. ถนี มทิ ธะ (จติ หดหซู่ มึ เศรา้ ) ๔. อุทธัจจกกุ กจุ จะ (จิตฟงุ้ ซ่าน ๕. วิจกิ ิจฉา (ความลงั เลสงสัย) กระวนกระวาย) เปรียบเหมือนส่งิ เศรา้ หมองแห่งทอง คอื ๑. เหลก็ ๒. โลหะ ๓. ดีบุก ๔. ตะก่วั ๕. เงนิ

- ๙๖ -

เมอื่ จติ พน้ จากความเศรา้ หมอง ๕ นี้แล้ว ย่อมเป็นจิตอ่อนเหมาะแก่ การใชง้ าน ผุดผอ่ ง ไม่ฟงุ้ ซ่าน ตงั้ ม่ันดี เพ่อื ความสิ้นอาสวะ และสามารถ นอ้ มจติ ไปเพอ่ื แสดงฤทธ์ิตา่ งๆ ได้ เชน่ ทิพพโสตะ เจโตปริยญาณ และ วชิ ชา ๓

วชิ ชา ๓ คือ ปพุ เพนวิ าสานุสสตญิ าณ จุตปู ปาตญาณ อาสวักขยญาณ เปรียบเหมือนเมื่อทองพ้นจากส่ิงเศร้าหมอง ๕ นนั้ ย่อมออ่ นใชก้ ารได้ ผดุ ผ่อง ไมแ่ ตกง่าย ใชง้ านไดด้ ี ตามท่ชี า่ งทองตอ้ งการทำเครื่องประดบั ตา่ งๆ

• การเจรญิ สมาธเิ พ่อื ใหญ้ าณเกิดข้ึน (สมาธสิ ูตร) จงมปี ญั ญาเคร่อื งรกั ษาตน มสี ติ เจรญิ อัปปนาสมาธิ เพื่อให้เกดิ ญาณ ได้ (ญาณคอื ความหยงั่ รู้) ในอรยิ สัจ ๔

• ความเบื่อหน่าย (นพิ พทิ าสตู ร) ๕ ๑. พจิ ารณาเหน็ ความไมง่ ามในกาย ๒. กำหนดหมายความปฏกิ ูลในอาหาร ๓. กำหนดหมายความไม่นา่ เพลดิ เพลนิ ในโลกทั้งปวง ๔. พิจารณาความไม่เทย่ี งในสังขารท้ังปวง ๕. เข้าไปตั้งความกำหนดหมายความตายที่จะตอ้ งมาถึงเปน็ ธรรมดา ไวใ้ นภายใน

• ธรรมเพ่ือนักรบอาชพี ธรรมท่บี คุ คลเจรญิ ทำให้มากแล้ว มเี จโตวมิ ุตตแิ ละปัญญาวิมุตติเปน็ ผล ๕ สูตรแรก ๑-๒-๓-๔-๕ ให้พจิ ารณาความเบอ่ื หน่าย ๕ ในนิพพิทาสตู ร เป็นผล คือ

- ๙๗ -

๑. ถอนลมิ่ สลกั ข้ึนได้ หมายถงึ ละอวิชชาได้หมดส้นิ ๒. รอ้ื เคร่อื งแวดล้อมได้ คอื ละชาตสิ งสารท่เี ปน็ เหตใุ ห้เกิดภพใหม่

ได้ ๓. ถอนเสาระเนียดขน้ึ ได้ คือ ละตัณหาไดห้ มดสิ้น ๔. ถอดกลอนออกได้ คอื ละสงั โยชน์เบอื้ งตำ่ ๕ ได้ ๕. ไกลจากขา้ ศึก ปลดธงลงได้ ปลดภาระลงได้ ไม่ประกอบดว้ ย

วฏั ฏะ คอื ละอัสมมิ านะไดห้ มดสิน้ [สังโยชน์เบือ้ งต่ำ ๕ คือ

๑. สักกายทฏิ ฐิ: ความเหน็ ว่าเปน็ ตวั ของตน ๒. วิจกิ ิจฉา: ความลงั เลสงสยั ๓. สีลัพพตปรามาส: ความถือมั่นศีลพรต (ทำตามกันมาอยา่ ง

งมงายไมเ่ ขา้ ใจจริง) ๔. กามราคะ: ความติดใจในกามคณุ ๕. ปฏิฆะ: ความกระทบกระทั่งในใจ สังโยชนเ์ บอ้ื งสูง ๕ คอื ๑. รูปราคะ: ความตดิ ใจในรูปธรรมอันประณีต ๒. อรปู ราคะ: ความตดิ ใจในอรปู ธรรม ๓. มานะ: ความถอื ว่าตวั เปน็ นน่ั เป็นน่ี ๔. อุทธัจจะ: ความฟุ้งซา่ น ๕. อวชิ ชา: ความไม่ร้จู รงิ ] สตู รสอง: มี ๕ คอื ๑. อนจิ จสัญญา กำหนดหมายความไมเ่ ทย่ี งแห่งสงั ขาร

- ๙๘ -

๒. อนจิ เจ ทกุ ขสัญญา กำหนดหมายความเป็นทกุ ข์ในความไม่ เทยี่ งแหง่ สังขาร

๓. ทกุ เข อนตั ตสญั ญา กำหนดหมายความเป็นอนตั ตาในความ เป็นทกุ ข์

๔. ปหานสัญญา กำหนดหมายเพือ่ ละอกศุ ลวติ กและบาปธรรม ท้ังหลาย

๕. วิราคสญั ญา กำหนดหมายวิราคะว่าเป็นธรรมละเอียดประณตี (สญั ญา คอื การกำหนดหมาย, ความจำได้ หมายรู้ ซึ่งรูป เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ อารมณ์ทเ่ี กดิ ข้นึ แตล่ ะอยา่ งในแตล่ ะเรอื่ งให้ เข้าใจจรงิ ) โยธาชีวสูตร: นกั รบอาชีพ ๕ จำพวก เปรียบเทียบ สูตร ๑: ๑. ผ้ทู พ่ี อเหน็ ฝ่นุ ฟุ้ง ก็หยุดนิง่ ไม่อาจเขา้ ส่สู มรภูมไิ ด.้ .เปรยี บเทียบ

ภกิ ษุพอเหน็ ฝนุ่ ฟงุ้ คือได้ฟังวา่ หญิงสาวรปู งามมีอยู่บ้านโน้นก็ หยดุ นงิ่ ไมอ่ าจสืบตอ่ พรหมจรรยไ์ ด.้ .บอกลาสิกขา ๒. ผู้ท่เี ห็นฝุ่นฟุ้ง กอ็ ดทนได้ แตเ่ ห็นยอดธงของขา้ ศกึ เทา่ น้นั ก็หยุด นง่ิ ...เปรียบเทยี บภิกษุพอเห็นฝนุ่ ฟงุ้ ขึ้นกอ็ ดทนได้ แตพ่ อเหน็ ยอดธงของข้าศกึ คือ ได้เห็นหญิงสาวรูปงามคนน้นั ด้วยตนเองก็ หยุดน่งิ ไมอ่ าจสบื ตอ่ พรหมจรรย์ได้...บอกลาสกิ ขา ๓. ผทู้ ่เี หน็ ฝุน่ ฟุง้ ขึน้ ก็อดทนได้ เหน็ ยอดธงของขา้ ศึกก็อดทนได้ แตไ่ ดย้ ินเสียงกกึ ก้องของขา้ ศกึ กห็ ยุดนิง่ ...เปรียบเทียบภิกษพุ อ เหน็ ฝุ่นฟุง้ ขนึ้ ก็อดทนได้ เหน็ ยอดธงของข้าศกึ กอ็ ดทนได้ แต่พอ

- ๙๙ -

ได้ยนิ เสยี งกึกก้องของข้าศึก คอื หญิงสาวรปู งามคนนน้ั ยิม้ แย้ม ปราศรัย กระซกิ กระซี้ ย่ัวยวน กห็ ยดุ นิง่ ...บอกลาสกิ ขา ๔. ผทู้ ี่เหน็ ฝนุ่ ฟุ้งขึน้ กอ็ ดทนได้ ได้ยนิ เสยี งกกึ กอ้ งของข้าศกึ ก็ อดทนได้ แต่หวาดสะด้งุ ตอ่ การประหารข้าศกึ ...เปรียบเทยี บกบั ภิกษ.ุ ..ได้ยินเสยี งกึกก้องของข้าศกึ ก็อดทนได้ แตห่ วาดสะดงุ้ ต่อ การประหารของขา้ ศกึ คอื ถูกหญงิ สาวรูปงามคนนนั้ น่งั ทับ นอนทบั ขม่ ขืน ก็เสพเมถุนธรรมทีย่ งั ไม่บอกลาสิกขา ๕. ผทู้ ่ีเห็นฝนุ่ ฟ้งุ ขึ้น ก็อดทนได้ เหน็ ยอดธงของขา้ ศกึ กอ็ ดทนได้ ไดย้ ินเสียงกกึ ก้องของขา้ ศกึ กอ็ ดทนได้ อดทนตอ่ การประหาร ของข้าศกึ ได้ เป็นผชู้ นะสงครามแล้ว ยึดค่ายของข้าศึกนนั้ ไวไ้ ด้ ...เปรียบเทียบกบั ภิกษุเห็นฝุ่นฟงุ้ ขนึ้ ก็อดทนได้ เหน็ ยอดธงของ ขา้ ศกึ ก็อดทนได้ แม้ไดย้ ินเสียงกึกกอ้ งของข้าศึกก็อดทนได้ อดทนตอ่ การประหารของข้าศกึ ได้ ชนะสงครามแล้ว ยดึ ค่าย ของขา้ ศึกนนั้ ไวไ้ ด้ คือ แมถ้ กู ข่มขนื อยู่ แต่ไมพ่ ัวพนั ปลดเปลอ้ื ง หลีกออกได้ แล้วหลกี ไปตามประสงค์ บำเพ็ญเพียร บำเพ็ญ สมณธรรม จนบรรลุธรรมถงึ ขนั้ สูงสดุ ในที่สุด สตู ร ๒: นกั รบอาชีพ ๕ จำพวก ๑. ผู้ทีถ่ อื ดาบและโล่ผูกสอดธนแู ละแลง่ เขา้ สูส่ มรภูมทิ ำการรบและ ถูกขา้ ศึกฆา่ ตาย...เปรียบเทยี บภิกษุอาศัยหมูบ่ ้านหรือนิคมบาง แห่งอยู่ เข้าไปบิณฑบาต ไมร่ ักษากาย วาจา จิต มสี ติไม่ต้ังมั่น ไม่สำรวมอินทรยี ์ เห็นมาตุคามน่งุ ห่มไม่เรียบร้อย ถกู ราคะ รบกวนจติ เสพเมถุนธรรมทัง้ ทยี่ ังไม่บอกลาสกิ ขา

- ๑๐๐ -

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด